Пікірлер
@saengthonghomphang3393
@saengthonghomphang3393 5 күн бұрын
ชอบครับพึ่งเรียนรู้
@panufireice
@panufireice 5 күн бұрын
ขอบคุณครับ^^
@ประเสร็ฐจงรัมย์
@ประเสร็ฐจงรัมย์ 8 күн бұрын
ชอบครับ
@chaistn3773
@chaistn3773 10 күн бұрын
ขอบคุณมากครับ ได้สาระเต็มๆ เลยครับ 😊😊😊
@numchartea
@numchartea 10 күн бұрын
หาความต้านทานรวม7P แล้วเอามาหารวม 4S หากระแสจาก 1 เม็ด LED กินไฟ 36 V ที่ 1 W อัตตราการกินไฟรวม จะตกที่ 4S 0.437*4= 1.748 w ในช่วง T-on (คำนวนจากวงจรแบ่งแรงดันธรรมดา DC) ถ้าเข้าใจไม่ผิด 45 W น่าจะไปคำนวนจาก W/L รึเปล่าครับ
@สุริยะทะแพงพันธ์
@สุริยะทะแพงพันธ์ 26 күн бұрын
ขอบคุณมากครับ ติดตามแล้ว
@akompajubwan3007
@akompajubwan3007 28 күн бұрын
ขอขอบคุณ อจ.มาก มาก ครับที่นำความรู้มีเผยแผ่ เยี่ยม มาก มาก ครับ
@ธนกฤตดํารงค์ศิลป
@ธนกฤตดํารงค์ศิลป Ай бұрын
ได้ความรู้มากมายครับ คุ้มค่ากับเวลาที่เสียไป เป็นคลิปที่หาดูได้ไม่มากนัก อยากให้ทำออกมาเรื่อยๆ
@tonnum4143
@tonnum4143 Ай бұрын
อาจารย์ครับแล้วบัดกรีแผงแอลอีดีเชื่อมติดกันเพิ่มแสงสว่างทำอย่างไรครับ
@สายฝนพันสาย-ฒ2ว
@สายฝนพันสาย-ฒ2ว Ай бұрын
บอร์ดขาวมีขายไหมครับ หรือแนะนำร้านก็ได้ อยากได้บอร์ดรุ่นนี้
@นะยะตุง
@นะยะตุง Ай бұрын
สอบถามครับ หากเราจะเพิ่มแบต1ก้อน เรามาสามารถน้ำแบตก้อนใหม่พร้อม bms ในตัว มาต่อจากแผงตรงจุดที่ไปต่อแบตของเดิม ได้เลยหรือไม่ครับ เพื่อต้องการกระแสมากขึ้น
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 Ай бұрын
โดยความคิดเห็นส่วนตัว การนำแบตที่มี BMS อีกชุดมาต่อขนานเพิ่มก็ทำได้ครับ แต่ก็มีข้อควรระวังอยู่ครับ เช่น แบตเตอรี่เป็นประเภทเดียวกัน แรงดันใกล้เคียงกัน หรือการเลือกใช้โมดูล BMS หากแตกต่างกัน ก็จะเป็นปัญหาได้ … หรือกรณีที่เป็นแบตเก่าแล้ว นำแบตใหม่มาต่อขนาน ก็ไม่แนะนำครับ
@maowjung3801
@maowjung3801 Ай бұрын
❤❤❤
@panidabuddapong4859
@panidabuddapong4859 Ай бұрын
อยากรู้เบอร์​IC8ขาครับ
@damrongsupho5200
@damrongsupho5200 2 ай бұрын
กดติดตามเเล้วเรีบยร้อยครับ👍
@intelonsleya
@intelonsleya 2 ай бұрын
กล่องไฟหาซื้อได้ที่ไหน keyword ค้นหาอย่างไรครับ
@sutiwat-k
@sutiwat-k 2 ай бұрын
โอ้... Content ทรงคุณค่า ถ่ายทอดความรู้ได้ดี มีประโยชน์มากๆ ขอบคุณครับ
@weerasaknuwii4578
@weerasaknuwii4578 2 ай бұрын
ขอบคุณครับ กระจ่างทุกข้อสงสัย
@pongsakwaewpech7190
@pongsakwaewpech7190 2 ай бұрын
วิทยาทานล้ำเลิศ เป็นบุญทานที่ยิ่งใหญ่ ขอบพระคุณครับ
@ธนะชัยแก้วแกมทอง
@ธนะชัยแก้วแกมทอง 2 ай бұрын
เราสามารถ เอาหลอดไฟตุ้ม 220v มาแปลงเป็นแบบชาร์ตแบตได้ไหมครับ
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 2 ай бұрын
คิดว่า ไม่น่าจะได้ครับ เพราะว่า วิธีการต่อวงจร LED หลาย ๆดวง นั้นแตกต่างกัน หลอดไฟฐานเกลียว E27 ที่มีวงจรสำหรับใช้ไฟบ้าน AC วงจรหลอดไฟแบบ DC และวงจรที่ใช้ไฟจากแบต Lithium 3.7v (แบบที่ติดเองเมื่อไฟดับ) ในแต่ละกรณีต่างกันครับ
@yotsomsak6978
@yotsomsak6978 3 ай бұрын
ขอข้อมูลบอร์ดสีแดงแบบมีวงจรควบคุมหน่อยครับ แล้วใช้หับรีโมทของyx-408 ได้มั้ยครับ กำลังตัดสินใจซื้อบอร์ดแดงอยู่ แต่ไม่มีข้อมูลเลย ขอบคุณครับ
@tonnum4143
@tonnum4143 3 ай бұрын
ร้านขายแบตเตอรี่เขาโกหกพี่หรือเปล่าครับแบตรุ่นนี้มันได้แค่ 6,500 มิลลิแอมป์นะ😮
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 3 ай бұрын
ผมคิดว่า ร้านเค้าคงพิมพ์ตัวเลขผิด มี 0 เกินมาตัวหนึ่ง
@tonnum4143
@tonnum4143 3 ай бұрын
แนะนำหน่อยครับอาจารย์มีเรื่องปรึกษานิดนึงครับผมมีแผงรับแสงอยู่ 1 แผงรับแสงมาใส่วงจรตัวหนึ่งตัวเล็กๆซื้อในลาซาด้าและก็ต่อจากวงจรไปที่แบตเตอรี่จากนั้นก็ต่อจากวงจรไปที่หลอดไฟ 3 ดวงอีกทีตามคู่มือแต่ทำไมไฟจึงออกแค่ดวงที่อยู่ใกล้แบตเตอรี่ดวงเดียวไฟติดแค่ดวงเดียวอีก 2 ดวงจึงไม่ติดครับทั้งที่ต่อพ่วงต่อขนานกันไปที่หลอดไฟสาเหตุเป็นเพราะอะไรครับ
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 3 ай бұрын
ไม่แน่ใจครับ เพราะไม่เห็นวงจร เช่น หลอดไฟเป็น LED เหมือนกัน 3ดวง ใช่ไหม … แนะนำว่าให้ลองใช้มัลติมิเตอร์ ตรวจวัดแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมที่ LED แต่ละดวงดูครับ หรืออาจต่อ LED กลับขั้วเลยไม่ติด
@tonnum4143
@tonnum4143 3 ай бұрын
@@rsponlinethailand6668 ไฟเป็นแบบ cob 1 ดวงและเป็นแบบ LED 2 ดวงโดยใช้แรงดันแค่ 3.2 โวลต์ใช้แบตเตอรี่ลิเธียมฟอสเฟต 6 ก้อนก้อนละประมาณ 6,500 มิลลิแอมป์ครับกะว่าจะให้ใช้ไฟจ่ายดวงนึงต่อแบต 2 ก้อนต่อดวงขั้วบวกลบดูอย่างดีแล้วครับต่อหลอดไฟขนานกันเป็นทางยาวแต่มันติดแค่ดวงแรกที่อยู่ใกล้แบตเตอรี่
@tonnum4143
@tonnum4143 3 ай бұрын
@@rsponlinethailand6668 วงจรกล้องอันเล็กๆในลาซาด้าแหละครับซื้อมาจากประเทศจีนแผงสีเขียวๆเล็กๆมีบอกขั้วบวกลบทุกอย่าง
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 3 ай бұрын
อาจเป็นได้ไหมครับ ว่า COB หนึ่งดวง นำมาต่อขนานกับ LED อีกสองดวง จากแหล่งจ่ายหรือแบตเหมือนกัน เช่น 3.2V แต่หลอด LED ทั้งสองประเภทที่นำมาใช้ มีแรงดันไบอัสตรง VF ไม่เท่ากัน … อีกประเด็นที่พอจะนึกออกคือ เวลาต่อขนานกันแต่ใช้สายไฟยาวมาก และกระแสไหลมากหน่อย สายไฟเส้นเล็ก มันจะมี voltage drop เกิดขึ้น ดังนั้นหลอดไฟที่ต่อขนานแต่อยู่ไกลออกไป จะได้แรงดันต่ำกว่าแรงดันที่ขั้วแบต และอาจได้ต่ำกว่า VF
@tonnum4143
@tonnum4143 3 ай бұрын
@@rsponlinethailand6668 น่าจะเป็นสาเหตุที่พี่วินิจฉัยนี้ก็เป็นได้ครับ
@kittipoom4054
@kittipoom4054 3 ай бұрын
ถามหน่อยคับหลอด led ถ้าต่อแบบอนุกรมมันจะไม่ติดใช่ไหมคับเพราะมันมีการแบ่งแรงดันของหลอดLED ต้องมีแรงดันจ่ายที่ 220-240 v และจะแปลงไฟเป็น DC 12v แต่ถ้าต่อแบบขนานจะติดเพราะแรงดันเท่ากัน ส่วนหลอดไส้ที่มันต่อแบบไหนก็ติดเพราะมันไม่ต้องแปลงไฟถูกไหมคับ
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 3 ай бұрын
LED ทำงานด้วยไฟกระแสตรงครับ ถ้าต่อไบอัสตรงและมีแรงดันมากพอมันก็จะสว่างได้ แต่ถ้ามากไปกระแสจะสูงเกิน พังได้ ถ้าต่ออนุกรมกันหลายดวง แรงดันก็ต้องให้มีมากขึ้น ในกรณีที่เป็นไฟ AC ก็ต้องมีการแปลงเป็นกระแสตรงและมีวงจรควบคุมไม่ให้กระแสมากเกินสำหรับ LED ครับ ส่วนหลอดไส้แบบเก่า ให้มองว่าเป็นโหลดตัวต้านทานครับ มีกระแสไหลผ่านทางไหนก็ตาม มันก็สว่างได้
@kittipoom4054
@kittipoom4054 3 ай бұрын
@@rsponlinethailand6668 ขอบคุณคับ
@psanmuk
@psanmuk 4 ай бұрын
ขอบคุณครับ เยี่ยมจริง
@เทพเทพ-ท8ฬ
@เทพเทพ-ท8ฬ 4 ай бұрын
ขอสอบถามหน่อยครับผมอยากรู้เรื่องแบตตรี่ LifePo4 5000ah 3.2v ต่อขนานกัน4ก่อนเป็น20.000ahv แล้วผมจะต่อชาร์จผ่านแผงโชลาเชล6vที่20w 1.66ah ช่างคิดว่าเต็มมันครับ ผมจะเอามาทำพาเวอแบงค์ระบบ5vครับ
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 4 ай бұрын
จากคำถาม หากมีแบตเตอรี่ LiFePo4 3.2V 5000mAh (เช่น ขนาด 26700) นำมาต่อขนานกัน 4 ก้อน จะได้ 20,000mAh หรือ 20Ah และถ้าคิดว่าต้องการจะชาร์จประจุ เริ่มต้นจาก 2.5V หรือต่ำกว่า (คิดเป็น 0%) จะได้แรงดันไฟฟ้า 3.6V (ชาร์จเต็ม คิดเป็น 100%) หรือมีพลังงานไฟฟ้าในตัวแบตเตอรี่ 3.6V x 20Ah = 72Wh โดยประมาณ แผงโซลาเซลล์ 20W / 6V สมมุติว่า ให้เอาต์พุตแรงดันไฟฟ้า 5V สำหรับกระแสไฟฟ้า 4A (หรือ 20W peak power) แต่เมื่อนำไปชาร์จแบตเตอรี่ แรงดันจะต้องลดต่ำลงมา และกระแสไฟฟ้าด้วย ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับวงจร BMS ของแบตเตอรี่ที่ใช้ ถ้าคิดแบบง่ายๆ ชั่วโมงในการชาร์จ จะต้องใช้เวลาอย่างน้อย 72Wh/20W = 3.6h แต่ในทางปฏิบัติแล้ว กำลังไฟฟ้าที่ได้จากแผงจะต่ำกว่า 20W และมีการสูญเสียในระหว่างการชาร์จประจุ เช่น ที่ตัวไดโอด หรือวงจรส่วนอื่นของ BMS ที่ใช้กับแบตเตอรี่ เป็นต้น และยังขึ้นอยู่กับสภาพแสงในแต่วันด้วยครับ ดังนั้นระยะเวลาในการชาร์จจึงใช้เวลามากขึ้น คงต้องทดลองดูครับ
@psanmuk
@psanmuk 4 ай бұрын
ข้อมูลสมบูรณ์แบบมากครับ..ขอบคุณครับ
@karinchaksuprateep448
@karinchaksuprateep448 4 ай бұрын
สอบถาม ปุ่ม on off ในแผงวงจรพวกนี้ทำหน้าที่อะไรครับ ใช่เปิดปิด ไฟled หรือเปล่าครับ
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 4 ай бұрын
หากสังเกตดูแผงวงจรตัวอย่างหลายแบบ จะเห็นว่ามีปุ่มกดที่มีขนาดแตกต่างกัน ถ้าเป็นปุ่มกดใหญ่หน่อย ก็จะเป็นแบบ Push Switch Toggle แต่ถ้าเป็นปุ่มเล็กบนแผ่น ก็จะเป็นแบบ Push Button / Tactile Switch ... ปุ่มใหญ่ก็ใช้สำหรับการเปิดปิดการจ่ายกระแสไหลจากแบตเตอรี่ไปยังวงจร แต่ถ้าเป็นปุ่มเล็ก จะเป็นปุ่มสัญญาณอินพุตให้กับขาของชิปตัวควบคุมหรือไมโครคอนโทรลเลอร์ แต่ก็ใช้เปิดหรือปิดการทำงานของ LED บนแผงวงจรครับ
@yeahigotit.3468
@yeahigotit.3468 4 ай бұрын
ตัองถอดสายต่อแบตออกทุกวัน มันดับเอง
@p.amdonlymuk2558
@p.amdonlymuk2558 5 ай бұрын
ขอถามหน่อยครับ ใช้เซ็นเซอร์ด้วยคลื่นไมโครเวฟเรดาร์จะอันตรายต่อร่างกายไหมครับ เห็นบางคนบอกว่าใช้คลื่นประมาณ 9 จิกะเฮิรตซ์ (GHz)
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 4 ай бұрын
ถ้าเป็นโมดูลหรือวงจรที่ใช้ตรวจจับการเคลื่อนไหวสำหรับโคมไฟโซลาร์เซลล์ กำลังไฟฟ้าของวงจรส่วนนี้ไม่ได้สูงมาก และโดยปรกติแล้ว คนก็ไม่ได้อยู่ในบริเวณตรวจจับเป็นเวลานาน เช่น แค่เดินผ่าน และไม่ได้อยู่ใกล้เซ็นเซอร์ ดังนั้นโดยส่วนตัวคิดว่า ในกรณีนี้ไม่น่าจะมีผลต่อร่างกายครับ
@p.amdonlymuk2558
@p.amdonlymuk2558 4 ай бұрын
@@rsponlinethailand6668 ขอบคุณมากครับ พอดีผมติดใช้ในห้องน้ำเพื่อนมาเจอเข้าถามว่ามันเป็นคลื่นไมโครเวฟใกล้เคียงกับคลื่นที่ใช้ในเตาไมโครเวฟมันจะเป็นอันตรายต่อเนื้อเยื่อเช่นดวงตาหรือไม่เลยไม่ค่อยสบายใจ
@inlamai
@inlamai 5 ай бұрын
วงจรแต่ละแบบ ปล่อยกระแสไฟสูงสุดเท่าไหร่ รองรับการชาร์จแผงสูงสุดกี่วัตต์ เป็นไปได้นำมาเปรียบเทียบกันคงจะดีครับ😊 ในตลาดมีหลายแบบ แล้วไม่มีบอกสเป็คเลยครับ
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 5 ай бұрын
ใช่ครับ แผงวงจรในลักษณะนี้ (จากประเทศจีน) มีแค่ข้อมูลเบื้องต้น ในฐานะผู้ใช้ ถ้าจะให้ดี คงต้องซื้อมาทดลองดูก่อน ใช้อุปกรณ์จริงเริ่มต้นด้วยการศึกษาเบอร์และรายละเอียดของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เช่น Diode และ MOSFET เป็นต้น เพื่อดูสเปคคร่าว ๆ และถ้าจะให้ดี ก็คือจะต้องทดลองวัดปริมาณทางไฟฟ้า เช่น V/I ในขณะใช้งาน ร่วมกับแผง Solarcell และแบต ในช่วงเวลาต่าง ๆ ครับ ซึ่งการทดลองในลักษณะนี้ก็คงต้องใช้เวลาในการเตรียมและทดลอง โดยส่วนตัวแล้วถ้ามีโอกาส ก็อยากจะทดลองดูครับ ขอบคุณครับสำหรับคำแนะนำและความคิดเห็น
@inlamai
@inlamai 5 ай бұрын
@@rsponlinethailand6668 ขอบคุณครับ
@chartchaibankluay3848
@chartchaibankluay3848 5 ай бұрын
ถ้าผมจะประกอบแบตเตอรี่เอง แนะนำแผงวงจรที่สำหรับใช้กับแบตเตอรี่หน่อยคับ (ที่ใช้อยู่เป็นไฟ UFO ใช้แบตเตอรี่ 4 ก้อน มันเน่าหมดแล้วของเดิม)🙏
@inlamai
@inlamai 5 ай бұрын
@@chartchaibankluay3848 ขออนุญาติบอกจากที่ตัวเอง เปลี่ยนใช้มาหลายตัวนะครับ ถ้าเป็นตัวบอร์ดวงจร สีเขียวที่ขายในออนไลน์เยอะๆ ใช้ได้แต่ไฟไม่สว่างปล่อยกระแสไฟแค่ 1A. ถ้าเป็นแผงชาร์จไฟ ufo น่าจะ6v.20w. ตรงไดโอด ก้อนดำเล็กๆ2ก้อนจะร้อนมาก เพราะรองรับไฟชาร์จแค่2A. ถ้าแผง6v.20w. จะปล่อยกระแสได้ถึง3.5A.ช่วงแดดแรงๆ คือใช้ได้กับไฟดวงเดียว แผงชาร์จไม่เกิน 12w. ถ้าแนะนำที่ใช้อยู่แล้วดีสุดตอนนี้ แผงวงจรสีขาวที่เป็นภาษาจีนตัวนี้ชาร์จได้ถึง10A. ปล่อยไฟได้แรง 12ระดับ กับ แผงวงจรที่เป็นสีดำมีไฟledบอกระดับแบต ตัวนี้แทบไม่ร้อนเวลาชาร์จแผงใหญ่ๆ ปล่อยไฟแรงใช้ได้เลย แต่ชาร์จเต็มช้ากว่าตัวแรก อาจจะเป็นเพราะต้องไปเลี้ยงไฟledด้วย ลองดูครับผมก็ทดลองใช้ไปเรื่อยครับ
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 5 ай бұрын
@chartchaibankluay3848 โดยส่วนตัวยังไม่เคยใช้แบบ UFO ครับ แนะนำให้ตรวจสอบก่อนว่า ไฟ LED แบบ UFO ใช้แบตเตอรี่แบบไหนครับ แต่คิดว่า น่าจะเป็น 4 ก้อน ชนิด LiFePo4 ที่มีการต่อขั้วขนานกัน และมีแผงวงจร BMS บัดกรีอยู่ด้วย .. ถ้าแบตเดิมใช้ไม่ได้ เช่น ชาร์จไฟไม่เข้า ก็อาจเป็นที่ตัวแผง BMS ชำรุด หรือไม่ก็ตัวแบตบางก้อนก็เป็นได้ หรือไม่ก็แผงควบคุม... ถ้าจะเปลี่ยนแบตใหม่ทั้งชุด ก็ลองดูร้านออนไลน์ เห็นว่ามีขายอยู่ มีแบบที่ผู้ขายแพค 4 ก้อนมาให้แล้วพร้อมวงจร BMS ลองสอบถามร้านค้า หรือตรวจก่อนว่า ขนาดของแบตเตอรี่ตรงกันแบบเดิมหรือไม่ มีความจุ mAh เท่าไหร่ และกระแสสูงสุดของ BMS ประมาณกี่แอมป์ ข้อมูลเหล่านี้โดยปรกติแล้วมักมีเขียนบอกไว้ครับ
@นายรุ่งโรจน์ปันแจ่ม
@นายรุ่งโรจน์ปันแจ่ม 6 ай бұрын
วงจรแบบนี้เราแผงหลอดledต่อขนานได้กี่แผงครับ
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 6 ай бұрын
ถ้านำแผง LED แบบเดียวกันมาต่อเพิ่มมากกว่าหนึ่งอัน ซึ่งเป็นการต่อแบบขนานกัน ก็เป็นการเพิ่มโหลดไฟฟ้าให้แบตเตอรี่และวงจร MOSFET ควบคุมการจ่ายกระแส.. ในกรณีนี้ ปริมาณกระแสไฟฟ้าก็จะเพิ่มขึ้น แต่ก็ไม่ควรเกิน spec ของแผงควบคุม และอาจก็จะถูกจำกัดด้วยวงจร BMS และแบตเตอรี่ด้วยเช่นกันครับ... แนะนำว่า ให้ลองนำแผงต่อมาต่อเพิ่มทีละหนึ่งอัน แล้ววัดปริมาณกระแสด้วยมัลติมิเตอร์ดูครับ
@sekdanana91
@sekdanana91 6 ай бұрын
เพิ่มแบตต้องเปลี่ยนตัวชาร์จไหมคับ
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 6 ай бұрын
ถ้าเพิ่มแบต หมายถึง การนำแบตเตอรี่ LiFePO4 มาต่อขนานกัน เช่น จากเดิมหนึ่งก้อน เป็นสองก้อน ก็อาจจะใช้แผงวงจร BMS เดิมก็ได้ครับ ถ้าไม่ได้เปลี่ยนแผงโซล่าเซลล์ และใช้แผง LED เดิม
@BarTheGreenHome
@BarTheGreenHome 6 ай бұрын
เราทำให้มันสว่างกว่าเดิมจากหลอดที่เรามีอยู่ได้ไหมครับ ไม่อยากซื้อใหม่เสียดายตัง (มันคือไฟปลูกต้นไม้ครับ)
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 6 ай бұрын
ถ้าเป็นหลอดไฟ LED ที่มีวงจรและไอซี ตามในคลิป วิธีหนึ่งคือ เปลี่ยนค่าความต้านทาน Rs ให้น้อยลง จะทำให้กระแสมากขึ้น และทำให้ LED สว่างมากขึ้น แต่อายุการใช้งานจะลดลงครับ หรืออาจจะพังเร็วก็ได้
@สุพงศ์เอง
@สุพงศ์เอง 6 ай бұрын
วงจร ic555 หมุน vr สุดไหมครับ ตอนหมุนดับสุด ของผมเหมือนมันหลุด สเกล
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 6 ай бұрын
ในกรณีของวงจรไอซี 555 ถ้าหมุนปรับค่าความต้านทานมากเกินไป จะทำให้มีการหน่วงเวลามากเกินกว่า 10msec มันจะทำให้การหรี่ไฟ ไม่เป็นไปตามสเกลที่ควรจะเป็นครับ ดังนั้นในคลิปที่ได้สาธิต จึงไม่ได้หมุนไปจนสุด
@chaiy7504
@chaiy7504 6 ай бұрын
รบกวนถามผมรู้สึก หลอด ac 220v ให้สว่างกว่า หลอดที่ใช้ ไฟ dc12v จริงไหมครับ
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 6 ай бұрын
คงต้องดูครับว่า Lumen ต่อวัตต์ของหลอดไฟ หลอดไหนมากกว่ากัน ถ้าวัตต์เท่ากัน อันไหนให้ค่ามากกว่าก็คงสว่างกว่า หรือใช้เครื่องมือวัดแสง ระยะห่างเท่ากัน ถ้าได้ค่า Lux สูงกว่า อันนั้นก็สว่างกว่า … ถ้ามีโอกาส ผมคิดว่าจะลองหาหลอดไฟแบบ DC ฐานเกลียว E27 มาลองดูครับ
@mekhinthongjerm1104
@mekhinthongjerm1104 6 ай бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆครับ
@mekhinthongjerm1104
@mekhinthongjerm1104 6 ай бұрын
ใด้ความรู้และเข้าใจขึ้นเยอะเลยครับ
@mekhinthongjerm1104
@mekhinthongjerm1104 6 ай бұрын
เป็นคลิปที่ดีและเพิ่มความรู้ครับ
@เราเข้าใจกัน
@เราเข้าใจกัน 7 ай бұрын
ทดลองเปลี่ยนเม็ดแอลอีดีและวิธีการเลื่อกขนาดโวล วัตว์ให้ดูหน่อยครับ
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 7 ай бұрын
ถ้ามีโอกาส จะลองศึกษาดูครับ
@auuto7858
@auuto7858 7 ай бұрын
คอนเทนต์ท่าน ที่เอาของจริงมาแสดง แบบนี้ มันเป็นอะไรดี ดีมากๆครับ
@นิกรบุญป้อง
@นิกรบุญป้อง 7 ай бұрын
ขอขอบคุณ
@นิกรบุญป้อง
@นิกรบุญป้อง 7 ай бұрын
สุดยอดครับอธิบายละเอียดมากครับชอบมากครับ
@pongpitwipasuramonton4092
@pongpitwipasuramonton4092 7 ай бұрын
ออกแบบได้ลงตัวดีมาก ไม่ทราบพอจะบอกราคาคร่าวๆได้มั้ยครับ สำหรับ แผงควบคุม+รีโมท
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 7 ай бұрын
แผงควบคุมที่มีรีโมท ตามตัวอย่างในคลิป ซื้อมาราคาประมาณ 170 บาท (2 ชิ้น) ลองดูใน shopee ถ้าสั่งจากต่างประเทศ ก็จะถูกกว่าครับ
@Chalee2151
@Chalee2151 7 ай бұрын
แบ่งปันได้ดีและมีประโยชน์ครับ
@pongpitwipasuramonton4092
@pongpitwipasuramonton4092 8 ай бұрын
ขออนุญาตถามครับ ku5532 ใช้ย่านความถี่เท่าไหร่ครับ?
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 8 ай бұрын
จากที่ลองสำรวจดู โมดูลต่างรุ่นกัน เช่น K32s06 / K32s07 / K32S12 ซึ่งทั้งสามรุ่น ใช้ชิป KU5532 เหมือนกัน แต่ละโมดูลทำงานด้วยคลื่นความถี่ต่างกัน เช่น 4.2~4.6GHz และ 3.95~4.05GHz ผมคิดว่า ก็คงอยู่ในย่านนี้ ไม่น่าจะเกิน 5.8GHz
@SongkranElectronics
@SongkranElectronics 8 ай бұрын
ทำวงจรหลอดเเบบยาวด้วยครับ อยากศึกษาวงจรเชืองลึกครับ จะเอาไว้ดัดแปลงวงจร และDIY
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 8 ай бұрын
ถ้ามีโอกาส จะลองศึกษาดูครับ
@pongpitwipasuramonton4092
@pongpitwipasuramonton4092 8 ай бұрын
ขออนุญาตครับ อาจารย์ควรเสนอวงจรทั้งหมดในคลิปด้วยครับ แล้วอาจมาอธิบายการทำงานเป็นส่วนๆ อย่างที่เวลา 11:58 นั้น Vin กับ HV คือจุดเดียวกัน แต่เมื่ออธิบายต่อมา กลายเป็นคนละจุดกัน แล้ว photodiode มี 2 ตัว มันต่อในวงจรอย่างไร อย่างไรก็ดี ผู้ชมได้ความรู้บ้างไม่มากก็น้อย ขอบคุณมากครับ
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 8 ай бұрын
ขอบคุณสำหรับคำแนะนำครับ ขออธิบายเพิ่มดังนี้ครับ 1) รูปผังวงจรในเวลา 11:58 เป็นรูปตัวอย่างจาก Datasheet ไม่ใช่วงจรของหลอดไฟจริง เป็นวงจรตัวอย่างที่ใช้ไอซีแบบ Switching (Buck) ซึ่งพบเห็นได้บ่อยเหมือนไอซีในประเภทเดียวกัน 2) วงจรจริงของหลอดไฟ LAMPTAN มีการดัดแปลงจากผังวงจรตัวอย่างครับ ดังนั้น VIN กับ HV จึงเป็นคนละจุดกันครับ (มีตัวต้านทานและมอสเฟตมาต่อเพิ่ม) 3) Photodiode มีสองตัว ต่อขนานกันครับ แต่อยู่คนละด้านกันของแผงวงจร 4) ผมไม่ได้วาดผังวงจรของหลอดไฟโดยสมบรูณ์ วาดแค่บางส่วน เพราะต้องการเน้นส่วนที่สำคัญของหลอดไฟครับ (หลักการที่ทำให้วงจรปรับหรี่ไฟได้)
@haidatlaai7185
@haidatlaai7185 8 ай бұрын
โปรดแจ้งให้เราทราบเมื่อฉันปรับความสว่างเป็นต่ำ เมื่อเปิดความสว่างสูงสุดอีกครั้ง อยากจะบันทึกความสว่างแบบเก่าไว้
@iphofmos
@iphofmos 8 ай бұрын
แปลว่าถ้าเราบายพาสหลอดเสียเราต้องเปลี่ยน rset ใช่ไหมอาจารย์
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 8 ай бұрын
ถ้าหลอดไฟถูกใช้งานมาสักระยะแล้ว และเปิดไม่ติด หากจะซ่อมโดยการบายพาสแค่ LED ดวงเดียวที่มันชำรุด คงไม่จำเป็นต้องเปลี่ยน R ครับ ... แต่ถ้าอยากจะยืดอายุการใช้งานของหลอดไฟที่ต้องการซ่อม (ในกรณีที่รู้สึกว่า หลอดไฟมันร้อนมากเกินไป) ก็อาจจะลองเปลี่ยน R โดยใช้ค่าความต้านทานเพิ่มจากเดิมเล็กน้อย จะทำให้อุณหภูมิหลอดไฟลดลง และยอมรับได้ว่า หลอดไฟจะสว่างน้อยลง
@ปุ๊ระเบิดตด-จ5พ
@ปุ๊ระเบิดตด-จ5พ 8 ай бұрын
เม็ด led ของหลอดไฟ 220 v. ในแต่ละเม็ดมีแรงดันไฟDCกี่โวล์ทหรอคับ
@rsponlinethailand6668
@rsponlinethailand6668 8 ай бұрын
สำหรับหลอดไฟอันนี้ VF อยู่ในช่วงประมาณ 8V ถึง 9V สำหรับกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน LED แต่ละดวงไม่เกิน 60mA (DC) ครับ
@ปุ๊ระเบิดตด-จ5พ
@ปุ๊ระเบิดตด-จ5พ 8 ай бұрын
@@rsponlinethailand6668 ขอบคุณคับ