KZ
bin
Негізгі бет
Қазірдің өзінде танымал
Тікелей эфир
Ұнаған бейнелер
Қайтадан қараңыз
Жазылымдар
Кіру
Тіркелу
Ең жақсы KZbin
Фильм және анимация
Автокөліктер мен көлік құралдары
Музыка
Үй жануарлары мен аңдар
Спорт
Ойындар
Комедия
Ойын-сауық
Тәжірибелік нұсқаулар және стиль
Ғылым және технология
Жазылу
CAB KU Channel
22:17
การศึกษาความสัมพันธ์เชื่อมโยงในจีโนมเพื่อพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุล
5 ай бұрын
16:51
การศึกษาความหลากหลายของจุลินทรีย์ ด้วยเทคนิคเมตาจีโนมิกส์ (Metagenomics)
7 ай бұрын
1:02:32
การตรวจวัดฟีโนไทป์ของพืช ด้วยเทคนิคการวัดการสังเคราะห์แสง และอัตราแลกเปลี่ยนแก๊ส
8 ай бұрын
48:05
การตรวจวัดฟีโนไทป์ของพืช ด้วยเทคนิคการวัดคลอโรฟิลล์ฟลูออเรสเซนซ์ (chlorophyll fluorescence analysis)
8 ай бұрын
35:56
Diagnostics and phytosanitary management of cassava germplasm health ...
10 ай бұрын
47:49
Key Practices and Approaches in the Delivery of High-Quality Cassava Seed
10 ай бұрын
0:21
CAB KU สวัสดีปีใหม่ 2567
11 ай бұрын
41:13
มังคุด ทุเรียน สมบูรณ์แข็งแรงได้ ด้วย 4 สิ่งนี้
11 ай бұрын
4:28
โรคใบจุดมังคุด
11 ай бұрын
5:42
วิธีการตรวจเชื้อไฟทอปธอรา (Phytophthora) เบื้องต้น
11 ай бұрын
3:49
การป้องกันกำจัดฟิวซาเรียม
11 ай бұрын
10:39
รู้จักเชื้อรา ฟิวซาเรียม (Fusarium)
11 ай бұрын
19:12
การจัดการโรค รากเน่า โคนเน่า : ไฟทอปธอรา (Phytophthora)
11 ай бұрын
12:16
รู้จักโรค รากเน่า โคนเน่า : ไฟทอปธอรา (Phytophthora)
11 ай бұрын
7:12
รู้จักโรคพืช
11 ай бұрын
9:14
ยาร้อน ยาเย็น และการผสมสาร
Жыл бұрын
3:21
แมลงดื้อยา
Жыл бұрын
7:55
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี สารชีวภัณฑ์
Жыл бұрын
3:40
รู้จักเทคโนโลยีใหม่ และสภาพแวดล้อมในการพ่นสาร
Жыл бұрын
14:13
รู้จักแมลงศัตรูไม้ผล : ด้วง และแมลงอื่นๆ
Жыл бұрын
11:46
รู้จักแมลงศัตรูไม้ผล : หนอนเจาะผล หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน
Жыл бұрын
40:37
รู้จักแมลงศัตรูไม้ผล : เพลี้ย
Жыл бұрын
26:11
การจัดการศัตรูพืช ....สารเคมี คือ สิ่งสุดท้าย...
Жыл бұрын
48:51
สูตรและอัตราปุ๋ยยางพารา
Жыл бұрын
13:51
บอกเล่าความรู้สึก หลังฝึกอบรม ปาล์มน้ำมัน จ.ตรัง
Жыл бұрын
45:18
เทคนิคการเพิ่มผลผลิตปาล์มน้ำมัน
Жыл бұрын
28:38
รู้จัก รู้ใจ รู้ธรรมชาติของปาล์มน้ำมัน
Жыл бұрын
7:35
แนะนำการอบรมปาล์มน้ำมัน
Жыл бұрын
7:31
ปาล์มน้ำมัน ตอนที่ 6 : สรุปสูตรและอัตราปุ๋ยปาล์มน้ำมัน
Жыл бұрын
Пікірлер
@natnichahunpraditt2140
4 сағат бұрын
ลองใส่หน้าแล้งแล้วปาล์มมีใบเหลืองและแห้งลงค่ะเพราะคิดว่าใส่รอน้ำฝนพลาดมากๆอาจารย์ต้องแนะนำให้ใส่หน้าฝนนะคะดินมีความชื้นแล้วพืชจะเขียวไวปูนจะไม่อันตรายต่อพืชตอนนี้มีปัญหาทุกแปลงที่ใส่เลยค่ะ
@frould7203
22 сағат бұрын
อ.สุนทรีแนะพีเอช5-5.5 ใส่เป็นปุ๋ยปูน ปรับพีเอชเป็นผลพลอยได้ อ.สุมิตราแนะพีเอช5.5-6.6 ใส่เพื่อปรับพีเอช
@MTTVChannel
Күн бұрын
ขอบคุณมากๆครับ
@ZaaZa-t4w
Күн бұрын
สวัสดีครับอาจารย์ผมขอนอกเรื่องนิดนึงครับ ก็ผมเป็นชาวนาทำนาอยู่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาตอนนี้ผมประสบปัญหาดินเป็นกรดมากผมจึงเอาโดโลไมท์มาใส่ก่อนที่จะหว่านข้าววิธีนี้ผมทำถูกไหมครับ
@Bean-c6e
4 күн бұрын
อาจารย์ครับจะมีคลิปบรรยายที่เมืองกาญจนบุรีที่อาจารย์ไปบรรยายเรื่องเดียวกันนี้ฉบับเกษตรกรเมื่อวันที่26 พ.ย.2567 หรือไม่ครับ
@CABKUChannel
3 күн бұрын
สามารถติดตามวีดีโอย้อนหลัง ได้ที่ Facebook สำนักงานเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี ตาม Link นี้ครับ facebook.com/share/v/18M68aQBoC/ ขอบคุณที่สนใจและติดตามรับชมครับ พรชัย ไพบูลย์ ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
@น้ําเต้าหู้กู้โลก
5 күн бұрын
อาจารย์แนะนำดีมาก...ขอบพระคุณมากครับ
@แสวงแสงคํา
6 күн бұрын
ขอบพระคุณมากๆครับท่านอาจารย์🙏🙏🙏
@พิชญ์ราเมศร์นาควงศ์
8 күн бұрын
อ้าวเราก้พยายามจะปรับแต่ph เพราะะเมื่อก่อนอาจารย์บอกว่าดี
@CABKUChannel
3 күн бұрын
ขออนุญาต เสนอมุมมองและให้หลักคิดส่วนตัว ไม่ใช่แต่เรื่อง pH นะครับ หมายถึงทุกเรื่อง ดังนี้ครับ งานวิจัยใหม่ของทุกประเทศ ทั่วโลก มีการพัฒนาอยู่เสมอ ไม่หยุดนิ่ง ก่อเกิดเป็นความรู้ใหม่ บนหลักฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นที่ประจักษ์ ตรวจสอบ พิสูจน์ซ้ำได้ ตัวผมเอง รวมถึงอาจารย์ในมหาวิทยาลัย นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก และทุกท่านที่ติดตามชมคลิปใน KZbin เราต้องใฝ่หาความรู้ใหม่ และพิจารณาทบทวนความรู้เดิมว่า ไม่ทันยุค ทันสมัย แล้วหรือยัง อยู่เสมอครับ อย่ายึดติดครับ ทุกความรู้ ทุกเทคโนโลยี ถูกต้อง เหมาะสม ใช้งานได้ดี ณ ช่วงเวลาหนึ่งๆ แต่ไม่ได้หมายความว่า ความรู้หรือเทคโนโลยีนั้นๆ จะศักดิ์สิทธิ์ เปลี่ยนแปลงแก้ไขเพิ่มเติมไม่ได้ หรือจะต้องใช้งานได้ดีตลอดไป เปรียบเทียบกับเรื่องใกล้ตัว ให้เห็นภาพง่ายขึ้น เช่น ในทางการแพทย์ทุกที่ ทั่วโลก ก็มีการทำวิจัยใหม่อย่างเข้มข้นต่อเนื่อง ไม่หยุดนิ่ง และปรับปรุงพัฒนาวิธีการผ่าตัดและการรักษาโรคให้ทันสมัยอยู่เสมอ ทำให้มีเทคโนโลยีใหม่ช่วยให้การผ่าตัดรวดเร็ว แม่นยำขึ้น แผลผ่าตัดเล็กลง พักฟื้นใน รพ.น้อยลง หรือทำไมเราต้องเปลี่ยนคอมพิวเตอร์ใหม่ เปลี่ยนโทรศัพท์มือถือใหม่ ฉันใดก็ฉันนั้น เมื่อรู้อย่างนี้แล้ว ลองเปิดใจรับความรู้ใหม่ แนวทางใหม่ และนำไปปรับใช้ดูนะครับ เห็นการเปลี่ยนแปลงอย่างไร กลับมาบอกเล่ากันบ้างนะครับ พรชัย ไพบูลย์ อาจารย์ ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
@monthonrasarak550
9 күн бұрын
สรุปใส่ปุ๋ยสูตรอะไรเท่าไรต่อไร่คระบ
@frould7203
9 күн бұрын
ทำไมตัดจบ
@frould7203
10 күн бұрын
จริงแหะ เราลืมคิดถึงเรื่องอากาศไปเลย ที่ต่างประเทศเห็นเขามีการอัดอากาศลงดิน ไอ่ที่เป็นไม้ติดหมุดตะปู กดลงดินดึงขึ้นทำดินเป็นรู เป็นเครื่องอัดอากาศแบบ บู๊ม! เหมือนทิ้งระเบิดที่ใต้ดิน มันจะดีเรอะ
@สุนทรสํารวมจิต-ล7ย
10 күн бұрын
รำคาญเสียงเเทรก
@คนไทยไม่ทน-ธ1ร
10 күн бұрын
ใคร่กล้บมาดูคลิปจารแม่ย้อนหลังมั้ง 21/11/67..ทบทวนความรู้ธาตุอาหาร
@lexvk2016
12 күн бұрын
จริงคับผมทำตามอาจารย์ ในเรื่องแสงได้ผลคับ
@แสวงแสงคํา
21 күн бұрын
สวัสดีครับท่านอาจารย์🙏🙏🙏
@samornpiviso1186
22 күн бұрын
ผมเตรียมดินปลูกมันสำปะหลังส่งดินไปตรวจผลph4.5 กรมที่ดินแนะนำใส่โดโลไมท์ประมาณ1ตันต่อไร่ ผมควรใส่ตามแน่ะนำหรือว่าใส่เท่าไหร่ที่ไม่อันตรายต่อพืช ขอบคุณครับ
@CABKUChannel
20 күн бұрын
ผมแนะนำให้อ่านคำถามคุณ Worapots ที่เรื่องถามเรื่อง การเตรียมแปลงปลูกทุเรียน ค่าวิเคราะห์ดิน และการใส่ปูนโดโลไมท์ ใน comment ใต้คลิปนี้ อ.สุนทรี ได้แนะนำแนวทางไว้ นำมาปรับใช้ได้ครับ สำหรับมันสำปะหลัง ผมเคยทำวิจัยร่วมกับ อ.สุนทรี เมื่อหลายปีก่อน ในพันธุ์ห้วยบง 60 เราจะแนะนำให้ใส่โดโลไมท์ตามความต้องการธาตุแคลเซียม (Ca) และแมกนีเซียม (Mg) ที่ใช้ในการสร้างต้น และระดับผลผลิต ดังนี้ครับ ผลผลิตหัวมันสด 5 ตัน/ไร่ แนะนำให้หว่านโดโลไมท์ 50 กิโลกรัม/ไร่/ปี ผลผลิตหัวมันสด 10 ตัน/ไร่ แนะนำให้หว่านโดโลไมท์ 75 กิโลกรัม/ไร่/ปี ผลผลิตหัวมันสด 15 ตัน/ไร่ แนะนำให้หว่านโดโลไมท์ 100 กิโลกรัม/ไร่/ปี หว่านบางๆ ทั่วทั้งแปลงก่อนปลูก เว้นการหว่านช่วงที่ฝนชุก พรชัย ไพบูลย์ อาจารย์ ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
@qopar1959
23 күн бұрын
ผมมีข้อสังเขปอย่างนึงครับว่าได้ไปศึกษาพืชสวนที่อยู่ในหรือเปนป่า...เอาง่ายๆเลยคือที่เป็น พืชสวนที่เปนเแบบปลูกตามป่าตามธรรมชาติที่ไม่ใช่เชิงเดี่ยวจ๋าและเคมีจ๋า....พืชหรือทุเรียนที่ปลูกตามป่าดงตามธรรมชาติป่าดงเหล่านั้นได้รับผมกระทบจากเชื้อตัวนี้หรือเปล่า.....ผลการวิจัยเคยไปวิจัยพื้นที่ที่มีระบบนิเวศที่ไม่มีโรครึป่าวว่าทำไมไม่มีโรคทำลาย...แต่ศึกษาแค่ว่าสวนที่มีโรค...แล้วการแก้คือ...ยาเคมี วิทยาศาสตร?
@worapots
25 күн бұрын
สวัสดีครับอาจารย์ ถ้าผมต้องการปรับสภาพค่า pH และเพิ่มธาตุอาหาร Ca, Mg ให้โคกดินรูปทรงอ้อยควั่นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 เมตร สูงเฉลี่ยประมาณ 70 ซม. จากระดับ pH 4.8 ให้เป็น pH 7.0 เพื่อจะปลูกทุเรียน จากผลการวิเคราะห์ดิน ค่า OM = 3.05% ธาตุอาหาร P = 3 mg/kg., ธาตุอาหาร K = 43 mg/kg. และ Ca = 73 mg/kg., Mg = 18 mg/kg. ค่าความต้องการปูนเท่ากับ 1,080 กก. CaO3 ต่อไร่ วิธีคิด: กำหนดให้ชั้นไถพรวนมีความลึก = 15 ซม., ความหนาแน่นของดิน = 1,335 กก.ต่อลบ.ม. ดังนั้นน้ำหนักดิน 1 ไร่ = 1,600 ตร.ม. x 15 ซม. x 1,335 กก.ต่อลบ.ม = 320,400 กก. 1. หาปริมาตรโคกดิน ปริมาตรดินในโคก = pi*r*r*h = 3.14*2*2*0.7 = 8.8 ลบ.ม. 2. หาน้ำหนักของโคกดิน น้ำหนักของโคกดิน = 8.8 ลบ.ม. x *1,335 กก.ต่อลบ.ม. = 11,737 กก. 3. หาความต้องการปูน = 1,080 กก.ต่อไร่ *11,737 กก. /320,400 กก. = 39.56 กก. สรุป: โคกดินทรงกลม 1 โคก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 เมตรสูง 70 ซม. ต้องใช้ปูน CaO3 ประมาณ 40 กก. คำถามคือ วิธีคิดคำนวณถูกต้องมั๊ยครับ และถ้าใส่ปูนโดโลไมท์เพียง 1 กระสอบเล็กขนาดความจุ 25 กก. ต่อ 1 โคกโดยโรยด้านบนโคกแล้วทิ้งให้ตากแดดตากฝน 3 เดือนจนต้นหญ้าเริ่มขึ้น 20% ของโคกสามารถปลูกทุเรียนได้เลยมั๊ยครับ จะมีปัญหาอะไรเกิดขึ้นกับต้นทุเรียนภายหลังได้บ้างครับ
@suntareeyingjajaval6739
24 күн бұрын
ในความเห็นเรา เราไม่กังวลว่าต้องปรับ pH ดิน จาก 4.8 ไปเป็น 7 ในครั้งเดียวเลย เพื่อความสบายใจ เราจะโรยโดโลไมท์บางๆบนผิวดินเท่านั้น ลืมเรื่องความต้องการปูนไปจะดีกว่า เป็นแนวคิดที่นานมากแล้ว ถ้าปรับดินในแนวที่คำนวณมา อาจเป็นผลร้ายที่ใส่ปูนทีเดียวมากเกินไปก็ได้คะ
@worapots
24 күн бұрын
@ ขอบพระคุณมากครับอาจารย์
@worapots
24 күн бұрын
@ ถ้าเราใส่ปุ๋ยปีละ 10 กก. ควรใส่ปูนโดโลไมท์ 10 กก. ถูกต้องมั๊ยครับ
@suntareeyingjajaval6739
24 күн бұрын
@@worapots ไม่มีสูตรตายตัวแบบนี้ ปุ๋ยคือให้ธาตุอาหาร NPK เลือกสูตรปุ๋ยที่มีสัดส่วนของ 3 ธาตุ ตรงตามที่พืชต้องการ ส่วนปูนโดโลไมท์อาจให้สัดส่วนของ Ca กับ Mg ไม่ตรง วิธีการคือให้ใส่จำนวนที่ให้ตัวใดตัวหนึ่งจนครบ อีกตัวอาจเกินหรือขาดไปเล็กน้อย ถ้า Mg ไม่ครบ จะใส่ปุ๋ยกีเซอไรท์ (MgSO4) เพิ่มเติม คำแนะนำเราคือใส่โดโลไมท์ให้ได้ Mg จนครบ ปริมาณ Ca มักเกินต้องการ ถือว่าแถมคะ ซึ่งในช่วงแรกนี้ น่าจะไม่มีปัญหา เพราะที่ผ่านมาเกษตรกรส่วนใหญ่ยังใส่ปูนน้อย
@rasee2004klk
26 күн бұрын
ข้าวเป็นพืชที่อ่อนแอ ใสเยอะไม่ได้ มันจะใหม้ และล้ม
@ไอออน-ค4ศ
26 күн бұрын
คำว่าต้นไม้คือตัวกลางระหว่าง ดินกับอากาศสมองผมโล่งเลย
@Caffeine-up8wi
27 күн бұрын
กราบขอบพระคุณความรู้จาก อาจารย์สุนทรี มากๆครับ อาจารย์สุนทรี กับ อาจารย์สุมิตรา ควรได้รับการยกย่องว่าเป็น "นักวิทยาศาสตร์" ด้านดินและพืช แห่งประเทศไทย ถ้าอาจารย์ผ่านมาเห็น อยากจะสอบถามครับ 1. กาแฟ,โกโก้ หลังจากบำรุงดินเพิ่มอินทรีย์ จะใช้สูตรปุ๋ยตามพืชให้ผล 3:1:5 ได้ไหมครับ 2. กาแฟ,โกโก้ ที่ปลูกใต้ร่มเงาพืชอื่น ลักษณะต้นและใบ จะสมบูรณ์มากกว่าต้นที่ปลูกโดนแดดจัดๆ แสดงว่า พืชสองตัวนี้ไม่ได้ใช้แดดในการสะสมอาหารมาก หรือว่าต้นที่ตากแดดตลอดทั้งวัน ต้องการธาตุอาหารที่มากกว่าต้นที่อยู่ในร่มเงาครับ
@AaAa-cu1ob
28 күн бұрын
ปุ๋ยยี่ห้ออะไรครับสูตร15-5-25 ผมคนนครอยู่อ.พรหมคีรี
@ชลินทร์-ฝ8จ
Ай бұрын
นักวิชาการ แนะนำนะ บรรยายแบบชาวบ้านเข้าใจง่ายๆ ให้ชาวบ้านเข้าใจได้ ไม่ต้องโชความเป็นนักวิชาการ เรื่องที่บรรยายอยู่หากไห้ชาวบ้านที่เป็นผู้รูัที่เป็นชาวบ้านพูดจะฟังแบบเข้าใจง่าย ที่นี้มันมีเงื่อนไข หากเป็นพืชที่เป็นพันธุ์พื้ชที่เป็นพันธุวิศวกรรม เขาสร้างให้ตอบสนองกับปุ๋ยที่มาความคู่กัน หาก็เป็นพืชพืันถิ่นพื้นบ้านจะมีลักษณะอีกแบบ ขอชื่นชมที่ปฏิเสธเคยมี เพราะมันเป็นเรื่องของการค้า เรื่องของผลกำไร ของผู้มีอำนาจ บริษัท นายทุน โจจย์ทำอย่างไรให้เกษตรกรกลุดพันจากวงจรของผู่ที่กอบโกยผลประโยชน์ มีแต่ผลของกำไรส่วนนย คาถาให้เกษตรกรหลุดพ้นจากวงจรความยากจน ต้องเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต เครื่องมือ ปุ๋ย เมล๋ดพันธุ์ ฯ สามารถกำหนดราคาเองได้ ผลิตแบบเอื้อต่อตัซ้อง และคนอื่น ที่สำคัญเอื้อต่อสภาพสิ่งแวดล้อม หากไม่มีสิ่งกล่าวนี้ และยังมีปัยจียอื่นอีกที่ไม่ขอเอ่ยจะยาวเกินไป มันเป็นเงื่อนไขที่ท่านอุสาหะนำมาเสนอเป็นวิทยาทานจะก่อเกิดผลได้เพราะปัจจัยที่กล่าวมาเป็นเพียงส่วนหนึ่ง บางคนอาจจะไม่เห็นความสำคัญ แม้จะมีประโยชน์ก็ตาม
@CABKUChannel
20 күн бұрын
ผมขออนุญาตให้ข้อมูล เพราะมีบางประเด็นท่านเข้าใจผิด โดยเฉพาะประโยคแรกสุด การบรรยายนี้ อ.สุนทรี ท่านบรรยายในงานประชุมวิชาการ เป้าหมายหลักคือ บรรยายให้นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ด้านปฐพี ที่มีความรู้พื้นฐานด้านปฐพีวิทยามาแล้วพอสมควร จึงไม่ใช่เรื่องแปลกอะไรครับ ที่หลายท่านอาจฟังแล้วไม่เข้าใจ หรือตามไม่ทัน อ.สุนทรี ท่านบรรยาย ให้คำแนะนำแก่เกษตรกร ในหลายครั้ง หลายโอกาส รวมถึงเข้ามาติดตาม ตอบคำถามใน comment ใต้คลิปนี้อย่างสม่ำเสมอ ทุกครั้งที่ท่านได้รับเชิญให้ไปบรรยายในที่ต่างๆ ท่านจะถามผู้จัดงานก่อนเสมอว่า กลุ่มเป้าหมายผู้ฟังคือใคร จะได้ปรับเนื้อหาและวิธีการบรรยายให้สอดคล้อง บางครั้ง ท่านก็ตั้งใจนำเสนอข้อมูลที่ได้จากงานวิจัยที่ทำมา และเห็นว่าเป็นประโยชน์แก่เกษตรกร ก็จะนำเสนอ อธิบายข้อมูล และแนะนำวิธีการปฏิบัติให้แก่เกษตรกรควบคู่กันไปด้วย แม้ว่าหลายคนมองว่าเข้าใจยากก็ตาม ปัจจุบันเกษตรกรมีหลายกลุ่ม เกษตรกรรุ่นใหม่ เกษตรกรวัยเก๋าและเป็นหัวก้าวหน้า ต้องการข้อมูลทางวิชาการที่ลึกขึ้น เพราะความรู้ คำแนะนำ และวิธีการจัดการเรือกสวนไร่นาแบบเดิมๆ ไม่ได้ผล ดังนั้น เราไม่สามารถเหมารวมหรือนึกคิดแทนได้ว่า เกษตรกรทุกคนจะฟังไม่รู้เรื่อง เราจะไม่ดูถูก ด้อยค่า เกษตรกรทุกคน แต่เราจะพยายามกระตุ้นให้เกษตรกรฉุกคิด ทบทวน เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิด แนวปฏิบัติเดิม และส่งเสริมให้เกษตรกรมีอาวุธทางปัญญาให้ได้มากที่สุด เท่าที่เรามีกำลังครับ หากสนใจเรื่องนี้จริงๆ ฟังซ้ำหลายๆ รอบ หรือศึกษาเพิ่มเติม จะทำให้เราเข้าใจมากขึ้น ดังเช่นที่หลายคนเข้ามาให้ความเห็น ขอบคุณทุกท่านที่ติดตามรับชมวีดีทัศน์ และเป็นกำลังใจให้เกษตรกร อย่าลืมเข้ามาบอกเล่าการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใต้คลิปนี้กันนะครับ รอติดตามชื่นชมความสำเร็จครับ พรชัย ไพบูลย์ อาจารย์ ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
@PreechaChange
Ай бұрын
สนุกมากครับกับการเรียนรู้กับอาจารย์ เห็นคุณค่าของชีวิตการอยู่ร่วมกันจริงๆ ขอบคุณมากครับ
@ChalermchaiNamkrachai
Ай бұрын
ฟังไปราวสักครึ่งชั่วโมง ... รู้สึกเหมือนจะทำอะไรไม่ถูก .... พรวนดินดินก็แห้งอีกราโตไม่ได้อีก, เติมปูนก็ไม่ดีอีก ยากแฮะ
@naruchaipimjaroen6862
22 күн бұрын
ฟังซ้ำๆฟังหลายๆรอบ หาข้อมูลเรื่องดินมีชีวิตจากหลายๆที่ครับ ผมฟังวนไปซ้ำๆเป็นสิบรอบ ถึงจะเข้าใจอย่างถ่องแท้
@ลาวา-ธ5ผ
Ай бұрын
อ้อยตอต้องใส่โดโลไมค์ด้วยมั้ยคับอ.
@sarochyodmaprang2182
Ай бұрын
เป็นวิชาการที่ผมฟังแล้ว ไม่ง่วงนอน
@บุญยงค์กิตติยะ
Ай бұрын
ฟังให้ครบ..แล้วจะเข้าจัย..ทุกอย่างมันมีเหตุและผล..เค้ามาสอนมาบอกมันดีแล้ว..เริ่มตั้งแต่ต้นตอ...ถ้าต้นทางมันดี..ต่อไปมันก็จะ..ค่อยๆดี.😊😊
@subinhinjan8421
Ай бұрын
อัตราการรอดตายเพิ่มขึ้น เป็น 99.9 % ครับ เมื่อปรับการให้น้ำตาม vpd ครับ
@วิรูญเพียรจัด
Ай бұрын
จ
@montreepetch2674
Ай бұрын
ขอบคุณอาจารย์มากครับ เปิดโลกความรู้มากเลยครับ
@ธีรวิทย์กําเนิดท่าพญา
Ай бұрын
นครศรีธรรมราชจะสั่งซื้อปุ๋ยใส่ปาล์มของซีพีไอ เขาจะส่งไหมครับ
@DrPalm-qw4oc
Ай бұрын
อาจารย์สุดยอดมากค่ะ ❤❤❤
@ปรีชาไพโรจน์-ญ7ฮ
Ай бұрын
ตาสว่างเลยครับอาจารย์
@Pinphone-z9m
Ай бұрын
นักวิชาการเลยอะ รู้เยอะแต่เกษตรกรไทย ไ,ปไม่ถึงไหน แพ้อิสราเอล อยากเห็นพื้นที่เกษตรผืนใหญ่ตามภาคต้างๆเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ นำไปใช้ ในการผลิต เอาชาวเกษตรเข้าฝึกอบรม นักศึกษาเกษตร ผลิตพืชเกษตรสมัยใหม่
@มานัสยะกิจ
Ай бұрын
มีการมาทำทดลองที่ภาคเหนือไหมครับ
@koratkorat9131
2 ай бұрын
เราศึกษาเรื่องดินเรื่องปุ๋ยมาแต่สมัยบรรพบุรุษทำไมไม่จบสักทีสุดท้ายก็ต้องพึ่งเจ้าสัวพึ่งของนอก
@suphotthada1285
Ай бұрын
หลายคนคิดแบบคุณ แต่ คงลืมคิดว่าเราเอาอะไรออกจากแปลงปลูกบ้างตลอดหลายปีที่ผ่านมา เมื่อเราเอาออกไปเราต้องหามาทดแทนให้พอเพียงกับที่เราเอาออกไป
@jzjz2801
2 ай бұрын
แล้วคีโตเมี้ยมละครับ
@satianmeeraka5511
2 ай бұрын
ดีมากคับ
@dasumudbanasit8821
2 ай бұрын
ขอบคุณคับ
@25STB2
2 ай бұрын
ค่าphที่เหมาะกับยางพารา เท่าไหร่ครับ
@suntareeyingjajaval6739
2 ай бұрын
เมื่อใส่ปุ๋ยและโดโลไมท์ตามสูตรและอัตราที่แนะนำในคลิปแล้ว ไม่ต้องกังวลเรื่องค่าพีเอชคะ ดินเป็นกรดสะท้อนว่าดินมีโพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียมต่ำ จนจำกัดการเติบโตของพืช เมื่อมีการใส่ธาตุอาหารหลึกครบตามความต้องการของยางพาราแล้ว ค่าพีเอชจะไม่มีผลจำกัดการเติบโตของต้น ถ้าจะให้ครบก็ให้เติมสังกะสี ทองแดงกับโบรอน การจัดการเรื่องให้ปุ๋ยยางพาราก็ถือว่าเพียงพอแล้ว
@25STB2
2 ай бұрын
@@suntareeyingjajaval6739 ขอบคุณครับ
@25STB2
2 ай бұрын
20.23 26 ก.ย. 67ช่วยกันสืบทีไอ้อุบาทที่คอยเชิดไหนมาที่ทำไม่ดีกับเรา โลกมันได้สูงขึ้น
@ateetasangmaneengam9470
2 ай бұрын
ให้ต้นไม้เลี้ยงดินให้ดี เพราะเราปรุงดินให้ดีไม่ได้เท่าต้นไม้เขาทำกันเอง
@25STB2
2 ай бұрын
อยากรู้ใส่ปุ๋ยสูตรไหนช่วงไหนครับ
@Sunshine21-nq2nv
2 ай бұрын
ประยุกต์ความรู้เอาน่ะเด็กๆ ที่ไม่เชื่อ😅
@woodwork2410
2 ай бұрын
คนวิเคราะห์ทดลอง เฝ้าดูการเปลี่ยนแปลง ทุกระยะ แบบจริงจัง หายากครับ คุยกับอนุรักษ์นิยมยากอยู่นะ
@ประวิทย์อนันต์-น7ผ
2 ай бұрын
มีประโยชน์ต่อชาวสวนยางพารามากครับ
@BADIN_CON
2 ай бұрын
ทำนาไม่เคยกลัว กลัวราคาข้าวเปลือก กก.ละ10บาทครับอาจารย์
@sutat11
2 ай бұрын
ตัวมันเป็นอะไรครับ บ้างก็บอก เป็นเชื้อรา บ้างก็บอก เป็นจุลินทรี
@phatarawatt
2 ай бұрын
จุลินทรีย์ คือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า มีหลายชนิดเช่น แบคทีเรีย รา ไวรัส โปรตัวซัว
@sutat11
2 ай бұрын
@@phatarawatt อ้อ ผมคิดมาตลอดว่า จุลินทรี แบคทีเรีย มันเป็นอะไรที่ ดิ้นได้ คือ วิ่งไปวิ่งมา ว่ายนไปว่ายมาได้ แต่พวกรา ผมเข้าใจว่า เป็นพวกที่ ล่องลอยไปตามลม เกาะตรงไหน งอกตรงนั้น ขยายพันธุ์แตกหน่อไปเรือ่ย ๆ แต่จะวิ่งไปวิ่งมา ดิ้นไปดิ้นมาไม่ได้น่ะครับ
@ฉัตรมงคลมีพัฒน์
2 ай бұрын
มีเบอร์ติดต่ออาจารย์