๑๕.กระจ่างธรรมฯ ทำไม "สุญญตา" จึงเป็นหัวใจสำคัญของพุทธมหายาน?

  Рет қаралды 14,133

ธรรมสถาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ธรรมสถาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Күн бұрын

Пікірлер: 33
@CUDharma
@CUDharma 2 ай бұрын
ภาพประกอบ 1 facebook.com/photo.php?fbid=805786628333007&set=p.805786628333007&type=3 ..... ภาพประกอบ 2 facebook.com/photo.php?fbid=805786858332984&set=p.805786858332984&type=3
@yutsmile
@yutsmile 2 ай бұрын
อาจารย์ครับท่านสมาธิมานานมันชอบทำดีตอนตื่นนอนใหม่ๆครับง่วงๆเคลิ้มๆมันชอบทำดีครับ..ทำยังไงดีครับตอนทำสมาธิช่วงอื่นมันไม่ดีเท่าตอนตื่นนอนใหม่ๆช่วงง่วงๆเคลิ้มๆครับ
@กามินพรมโยธา
@กามินพรมโยธา 24 күн бұрын
เดินทาง
@sucholsinpadung2850
@sucholsinpadung2850 2 ай бұрын
ต้องคนมีบุญเท่านั้น ที่มาเข้าใจความตรงไปตรงมาของสัจธรรมที่อาจารย์นำมาแบ่งปันให้ร่วมรู้ครับ
@AnettenA
@AnettenA 2 ай бұрын
มีและไม่มีก็คือสิ่งเดียวกัน สังคตและอสังคตธรรม ก็เหรียญสองด้าน มีอยู่เกิดดับหมุนเวียนด้วยกันตลอด แต่ไม่ปนกัน interdependent ตาม condition สาธุค่ะะ
@johnlo397
@johnlo397 2 ай бұрын
ก่อนที่เราจะเกิดมา เราก็คือความว่างเปล่าทุกเราเป็นหนึ่งเดียวกับจักรวาลนี้แต่เมื่อมีอะไรบางอย่างเกิดขึ้นด้วยเจตจำนงค์บางอย่างจึงทำให้เราถูกแบ่งแยกออกมา ดั่งเช่น จุดซิงกูลาริตี้ในบิ๊กแบงก่อนที่จะมีการระเบิด ทุกอย่างก็เป็นหนึ่งเดียวกัน แรงทั้งสี่ พลังงานทั้งหมดก็เป็นหนึ่งเดวกันในความว่างเปล่า แต่สุดท้ายแล้วเมื่อเราละโลกนี้ไปเราก็จะกลับไปเป็นหนึ่งเดียวกันกลับไปสู่ความว่างเปล่า
@phaneephanee6373
@phaneephanee6373 Ай бұрын
น้อมอนุโมทนา​สาธุ​ค่ะ​ท่านอาจารย์​🙏🙏🙏
@สําอางค์เอราวัณ-ด6ง
@สําอางค์เอราวัณ-ด6ง 2 ай бұрын
กราบสาธุๆ
@practicekaidaily8190
@practicekaidaily8190 2 ай бұрын
ลึกซึ้งและเห็นภาพชัดมาก กราบขอบพระคุณอาจารย์ถ่ายทอดได้ดีมากๆ
@peterkhonkaen1
@peterkhonkaen1 2 ай бұрын
จะเข้าถึงสุญญตาได้ต้องเจริญสติ ข้อสังเกตเกี่ยวกับคำว่า“สติ” 1 คำแปลของสติคือ“การระลึกรู้” 2 ผู้ที่ระลึกรู้คือ“จิตผู้รู้” 3 สิ่งที่เราระลึกรู้ได้มีสามประการคือ 3.1รู้วัตถุนอกตัวเรา เมื่อระลึกรู้แล้ว จะรู้จักว่าอะไรเป็นอะไรตามความสำคัญมั่นหมายของสังคม ช่วยให้การดำเนินชีวิตราบรื่น เป็นไปตามความต้องการของเรา(ส่วนใหญ่คือรู้ทางตา) 3.2รู้ตัวเอง เมื่อรู้ตัวเองแล้วจะเกิดความรู้สึกตัว หรือสัมปชัญญะ ซึ่งมีน้อยคนที่จะรู้จักสติรู้ตัวเอง ส่วนใหญ่จะรู้ข้อ3.1 ซึ่งเพียงพอต่อการดำเนินชีวิตแล้ว เมื่อรู้ตัวเองบ่อยๆจิตผู้รู้จะกลับเข้าในตัวเองเป็นรู้ตัวทั่วพร้อมตลอดเวลา จะตั้งใจลืมตัวเองไม่ได้เลย แต่ก็มีเผลอได้บ้าง 3.3รู้ใจหรือรู้หทัยวัตถุ คือจุดศูนย์รวมของอารมณ์ปรุงแต่งความรู้สึกต่างๆ 4 คนทั่วไปจะรู้จักข้อ3.1มาตลอดชีวิตจึงไม่สนใจที่จะรู้3.2 และบางทีก็คิดว่าตนเองรู้ข้อ3.2เพราะใช้ตามองตัวเอง แล้วคิดว่าตัวเองรู้เห็นตัวเอง ซึ่งจริงๆแล้วมันไม่ใช่ เพราะการรู้ข้อ3.2ต้องรู้ด้วย“จิตผู้รู้” 5 พระท่านสอนให้มีสติ คนทั่วไปก็จะเข้าใจได้เพียงข้อ3.1 6 หลวงปู่ดูลย์ อตุโลสอนว่า“อย่าส่งจิตออกนอก” แสดงว่า“จิตผู้รู้”ต้องอยู่นอกตัวเรา 7หลวงพ่อเทียน จิตตสุโภ สอน“กระพริบตารู้สึกตัว” “ทำความรู้สึกตัว” “เคลื่อนไหวไปมาให้รู้สึก” “ให้ตื่นตัวเอง”คือให้เข้าถึงข้อ3.2 8เมื่อเข้าถึงข้อ3.2 ข้อ3.3จะตามมา ในระหว่างทางของการเจริญสติ ก็จะเห็นพฤติกรรมของจิตเป็นครั้งคราวแล้วแต่มันจะแสดงให้เห็นมันเป็นไปเอง แล้วแต่ละบุคคล ต่อไปก็ทำได้เพียง รู้ตัวทั่วพร้อมกับรู้ลงที่ใจหทัยวัตถุ(กลางอก) รู้ไปเรื่อยๆ จนจบกิจ 羅坤泉เรียบเรียง 6มีนาคม2567
@DanaiPoolthong
@DanaiPoolthong Ай бұрын
ขอบคุณนะครับ
@MonoNana-e8c
@MonoNana-e8c 2 ай бұрын
ศึกษามานานพึ่งเข้าใจรู้แจ้งแทงตลอดสาธุ
@nangsrisuk3493
@nangsrisuk3493 2 ай бұрын
เห็นด้วยกับ..เม้นท์.5..มากที่สุด..คนทึ่ไม่เคยศึกษา...พระธรรมสาบตรงแล้ว...จะเข้าใจได้ยากมากฯ...แต่สำหรับเราเองแล้ว..ทั้งปฎิบัติ...และศึกษามามากพอสมควร...จึงฟังแล้วเราเข้าใจได้...ทุกฯคำจึงสรุบได้..ดังนี้...ถ้าผู้ใดก็ตาม...ปฎิบัติธรรม...ทำสมาธิได้ถึงขั้นสูง...อยู่ในขั้น..อสังฆตะ.ธรรม...คือ..การละสังโยชน์...ให้ได้ทั้งหมด..10..ขั้น..ถึงจะเข้าถึง...ความหลุดพ้นได้..คือ..นิพพาน.=..สุญญตา..=..อมตะ..และอีกหลายฯชื่อ..ที่แทนนิพพาน...ขอขอบพระคุณ ..ท่านอาจารย์..ที่ออกมาเผยแผ่...พระธรรม.คำ สอน..ที่องค์พระ..ศาสดา../ดทรงตรัสสอนเอาไว้..ขออนุโมทนา..สาธุ.ค่ะ
@niponchanapa330
@niponchanapa330 2 ай бұрын
อนุโมทนาสาธุครับอาจารย์
@tonyhorsfjord8766
@tonyhorsfjord8766 2 ай бұрын
🙏🏽❤️
@เฉลิมพล-ฑ6ฉ
@เฉลิมพล-ฑ6ฉ 2 ай бұрын
สวัสดีครับอาจารย์ทวีศักดิ์ คุรุจิตธรรม
@SamsungA-ou3sl
@SamsungA-ou3sl 2 ай бұрын
กราบสวัสดีค่ะ
@สุนทราคงใจดี
@สุนทราคงใจดี 2 ай бұрын
สาธุค่ะ
@rztmoster
@rztmoster 2 ай бұрын
อนุโมทนาสาธุครับ
@sucholsinpadung2850
@sucholsinpadung2850 2 ай бұрын
สุดยอดครับอาจารย์
@NoNo-ni5hi
@NoNo-ni5hi 2 ай бұрын
กราบสวัสดีครับอาจารย์
@natsayapan5911
@natsayapan5911 2 ай бұрын
สวัสดีค่ะอาจารย์ 🌿 🙏🌿
@suphinchansrabua100
@suphinchansrabua100 2 ай бұрын
🙏🙏🙏
@chimpanzeeworld3024
@chimpanzeeworld3024 2 ай бұрын
สาธุ...สวัสดีครับ
@joifaiia.ito.ir.ioia.iori5834
@joifaiia.ito.ir.ioia.iori5834 2 ай бұрын
อ.ผมได้ยินเสียงระฆัง
@TheVasan693
@TheVasan693 2 ай бұрын
เข้าใจว่าการมีชีวิตคือ... การมีองค์ประกอบหลายๆอย่างมารวมกันไม่ว่าจะเป็นกาย​ หรือ​ จิตก็ตาม
@Phong-e2i
@Phong-e2i 2 ай бұрын
@@TheVasan693 กายและใจ ประกอบขึ้น เคลื่อนไป ปรานแปรไป และดับไปตามเหตุตามปัจจัยอยู่ตลอดเวลา กายและใจจึงมีสภาพสุข ทุกข์ ไม่สุขไม่ทุกข์เป็นเช่นนั้นเองตามเหตุตามปัจจัยที่มาประกอบกันในขณะนั้นๆ และปรวนแปรไปตามเหตุตามปัจจัยอยู่ตลอดเวลา กายและใจจึงไม่มีตัวตนที่แท้เพราะสิ่งที่มาประกอบเป็นกายและใจเปลี่ยนไปตลอดเวลา สุข ทุกข์ ไม่สุขไม่ทุกข์มีอยู่ตามเหตุตามปัจจัย แต่ผู้สุข ผู้ทุกข์ ผู้ไม่สุขไม่ทุกข์ ไม่มี มีแต่ความหลงผิดอวิชชาเท่านั้นเอง
@TheVasan693
@TheVasan693 2 ай бұрын
@@Phong-e2i ถ้าจิตผู้รู้ถูกทำลายไปแล้ว... ก็จะไม่มีที่อยู่ทั้งใน​ ๓๑​ ภพภูมิ
@กามินพรมโยธา
@กามินพรมโยธา 24 күн бұрын
กลับบ้าน
@jirawatji7082
@jirawatji7082 Ай бұрын
โยม อจ.ถ่ายทอดได้ลึกละเอียดชัดเจนเข้าใจง่าย.(แปลบาลีเป็นไทยด้วย)แบบนี้คนไทยคงหลุดพ้นเยอะ.เจริญพร...
@สําอางค์เอราวัณ-ด6ง
@สําอางค์เอราวัณ-ด6ง 2 ай бұрын
กราบสาธุๆ
@เฉลิมพล-ฑ6ฉ
@เฉลิมพล-ฑ6ฉ 2 ай бұрын
พึ่งได้ศึกษาสิ่งที่อาจารย์สอนททำให้เริ่มเข้าใจสิ่งที่ไม่เข้ามากมาย
๑๔.กระจ่างธรรมฯ คาถาในหฤทัยสูตรพาไปสู่นิพพานได้อย่างไร?
1:29:36
ธรรมสถาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Рет қаралды 11 М.
(67-10) (ตอนที่ 2) "วิญญาณรู้" กับ "ธาตุรู้" ซ้อนทับกันอย่างไร?
1:45:24
ธรรมสถาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Рет қаралды 6 М.
What's in the clown's bag? #clown #angel #bunnypolice
00:19
超人夫妇
Рет қаралды 36 МЛН
๑๐.กระจ่างธรรมฯ เหตุใด ขันธ์ 5 ฯลฯ กับความว่าง จึงเป็นสิ่งเดียวกัน
1:31:09
007 สุญญตา #อาจารย์เสถียร โพธินันทะ
1:01:13
namoธรรมะฟังสบาย
Рет қаралды 5 М.
What's in the clown's bag? #clown #angel #bunnypolice
00:19
超人夫妇
Рет қаралды 36 МЛН