ASML มีหวั่น!! Canon ผลักดันเทคโนโลยีที่อาจเทียบกับเครื่องผลิตชิป EUV ได้

  Рет қаралды 114,463

TechOffside “ล้ำหน้าโชว์”

TechOffside “ล้ำหน้าโชว์”

Күн бұрын

Пікірлер: 284
@pipekunMusic
@pipekunMusic Жыл бұрын
เชียร์ให้ Canon ทำสำเร็จครับ ญี่ปุ่นจะได้เป็นผู้ทำเทคโนโลยีอีกครั้ง เพราะการทำเครื่องผลิตชิพ เป็นหัวใจของเทคโนโลยีแล้วในตอนนี้
@LittleP914
@LittleP914 Жыл бұрын
กลัวโดนเตะตัดขาอีกอ่ะ
@dsboykung
@dsboykung Жыл бұрын
@@LittleP914 ต้องมีขาที่เตะได้นะครับ
@pipekunMusic
@pipekunMusic Жыл бұрын
@@LittleP914 ยุคนี้เมกาไปตัดจีนมากกว่า
@TravelAnotherWorlds
@TravelAnotherWorlds Жыл бұрын
​@@LittleP914ญี่ปุ่นเป็นของเมกานานแล้วครับ ไม่ตัดแข้งขาหรอก ขนาด iPhone ยังไปขายลดแลกแจกแถม จนคนญี่ปุ่นติดแบรนด์ Apple มากกว่าฝั่งแอนดรอยด์😅
@slasher6258
@slasher6258 Жыл бұрын
⁠@@TravelAnotherWorldsใช่ๆอเมริกายังสามารถสั่งญี่ปุ่นได้อยู่
@SiraMemory
@SiraMemory Жыл бұрын
ผมทำงานอยู่ Sumitomo ญี่ปุ่น จะเอาเทคโนโลยีอะไร มีหมดนั้นแหล่ะ แต่ไม่ขาย จะทำไม!? ภาวะสงครามการค้า รัฐภูมิศาสตร์ โจมตีกันหนักแบบนี้ (ญี่ปุ่นไม่รีบเสี่ยงทำขาย) (ญี่ปุ่นเขามีบทเรียนแล้ว ไม่สนใจทำตลาด แบบปล่อยข่าวไปทั่วแบบจีน ไต้หวัน) ทำมันแบบเงียบๆ เจียมตัว.
@gur911jojo4
@gur911jojo4 Жыл бұрын
วงการ iot-เครื่องควบคุมต่างๆ จะมีการพัฒนาอย่างมากแน่ๆเลยครับ เครื่องเล็กไม่แพง บริษัท start up คงถูกจัย์ สิ่งนี้
@ApengApeng
@ApengApeng Жыл бұрын
ข่าวจาก nikkei asia บอกว่า NIL น่าจะมีราคาถูกกว่า ระบบ EUV 40% ใช้พลังงานน้อยกว่า 90% แต่น่าจะ begin operating in the spring of 2025.
@Iwatana1
@Iwatana1 Жыл бұрын
ผมเชื่อว่า ถ้าแคนนอนสามารถทำได้จริง asmlจะสามารถผลิตเครื่องได้เกิน70ตัวต่อปี 😂 ทุกวันนี้ไม่มีคู่แข่งก็เลยเฉื่อยเล่นตัวได้ ผลิตน้อยเลยได้ราคาที่สูง
@pudachakatiwong2548
@pudachakatiwong2548 Жыл бұрын
มันดีตรงที่ มีหลายเจ้า แข่งกัน ทำให้ขยันพัฒนา และเเข่งเรื่องราคา คนที่ได้ประโยชน์สุดคือผู้บริโภค
@อนันท์จันทร์อําพร
@อนันท์จันทร์อําพร Жыл бұрын
ดีครับ ไม่ผูกขาด ยิ่งแข่งยิ่งดียิ่งถูก ผลประโยชน์ตกกับผู้ใช้งาน
@KUROSAKIEJIKO
@KUROSAKIEJIKO Жыл бұрын
8:21 หว่าเหว่ซื้อไม่ได้ครับ ติดสนธิสันญาห้ามส่งเครื่องมือเครื่องกลความแม่นจำสูงให้อริราช (จำชื่อจริงสนธิสัญญาไม่ได้) เมื่อก่อนโตชิบาเคยแอบขายcncให้โซเวียดก็โดนข้อหานี่เกือบล้มละลายเลยทีเดียว
@miniandroids9522
@miniandroids9522 Жыл бұрын
พี่หลาม ต้องบอกว่า 3nm yield rate ต่ำครับ ได้น้อยกว่าที่ควรได้
@techoffside
@techoffside Жыл бұрын
พูดเร็วๆแล้วมันผิดครับ คิดไม่ทัน
@miniandroids9522
@miniandroids9522 Жыл бұрын
Fuji ก็เช่นกัน หลายคนคิดว่าแย่ไปแล้ว แต่นโยบายประธานที่เริ่มเห็นอนาคตของกล้องมือถือ เลยเลี่ยงจากตลาด consume ไปตลาดเฉพาะ อย่างเครื่องมือแพทย์ เครื่องมือวัดในโรงงาน
@iamgod8019
@iamgod8019 Жыл бұрын
CanonและNikon รวมถึงfuji ก็ผลิตเครื่อง duv จำหน่ายอยู่แล้วครับไม่แปลกที่จะผลิตได้😊
@firstclass7896
@firstclass7896 Жыл бұрын
อย่าโม้ให้มากเด็กน้อย
@cokesukrit
@cokesukrit Жыл бұрын
@Shin-xc7pqหะ กระทรวงอะไรนะ
@cokesukrit
@cokesukrit Жыл бұрын
@Shin-xc7pq ตอบดีๆไม่ได้หรอครับ อ๋อลืมไประดับ EQ คุณคงต่ำ อาจต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของคนทั้งประเทศมากด้วย
@yumenowinds
@yumenowinds Жыл бұрын
มันเป็นต่างด้าว@@cokesukrit
@mit.thai.
@mit.thai. Жыл бұрын
@Shin-xc7pq คนนี้รู้จิง ลึกด้วย
@ramsrisith6372
@ramsrisith6372 Жыл бұрын
มองดูชาติต่าง​ ๆ​ เค้าแข่งขันกันเชิงวิทย์-เทคโน​ แล้ว.. หันมามองบ้านตัวเองแล้วก็รู้สึกเศร้า​ ๆ​ นิด​ ๆ​ นะ.. วิทย์-เทคโนคือกุญแจในการพัฒนาดอกสำคัญมากดอกหนึ่ง.. แต่เราแม้แต่เทคโนโลยี่พื้น​ ๆ​ เช่นการสร้างเครื่องบิน.. ยังทำไม่ได้เลย.. เด็ก​ ๆ​ รุ่นต่อไปถ้ามีโอกาสแล้วอย่าลืมเรื่อง​ R&D.เด้อ...
@yumenowinds
@yumenowinds Жыл бұрын
เจ้าสัวไทยไม่สนเทคโนโลยีครับ เน้นสินค้าอุปโภคผูกขาด ไทยมันเลยไม่ไปไหน อยู่แค่นี้นี่แหละ
@ibanezibanez2428
@ibanezibanez2428 Жыл бұрын
ไทยแข่งกันร้องเพลง
@วิโรจน์ธนะสิทธิ์
@วิโรจน์ธนะสิทธิ์ Жыл бұрын
มหาวิทยาลัยในไทยผลิตบุคลากรได้น้อยมาก ไม่พอกับความต้องการที่ต่างชาติจะมาลงทุน
@tomoyadarkvader2410
@tomoyadarkvader2410 Жыл бұрын
ต้องดูว่าประเทศที่ทำได้ทั้งโลกมีกี่ประเทศแถมทำตอนนี้ลงทุนมหาศาลแถมผลิตมาแล้วสู้เค้าไม่ได้ขายไม่ออกเห็นหลายคนชอบพูดเหมือนทำง่ายชิปเป็นเทคโนโลยีที่ทำยากสุดแล้วประเทศที่ทำgdpสูงกว่าไทยหลายเท่าหมดแล้วมีกี่ประเทศที่ทำได้แม้แต่เครื่องบินด้วย
@wasansangduang3550
@wasansangduang3550 Жыл бұрын
สร้างเครื่องบินมันพื้นๆ ตรงไหนครับ? ประเทศแต่ละประเทศมันมีจุดแข็งจุดด้อยต่างกันไป ตามแต่สภาพภูมิประเทศ และประวัติศาตร์ของตัวเอง ชาติมหาอำนาจด้านเทคโนโลยี ล้วนแล้วมาจากชาติที่ก่อสงครามโลกมาทั้งนั้น นั่นหมายถึงเขาคิดค้นเทคโนโลยีขึ้นมาได้ตั้งแต่ ยุคนั้นแล้ว....ทีนี้ประเทศเราไม่ได้โดเด่นในเรื่องนั้นๆ แต่ก็มีจุดแข็งเรื่อง อาหาร เพาะปลูก แปรรูป ไม่ได้จะครองโลก แต่จะเป็นครัวโลก ไม่จำเป้นต้องสร้างเครื่องผลิตชิป ไม่จำเป้น ต้องสร้างเครื่องบินเป็นของตัวเอง เพราะต่อให้ทำได้ ก้ไม่มีใครเชื่อว่ากุ๊กจะสร้างเครื่องบิน แล้วจะใกล้เคียง หรือดีเลิศกว่าโบอิ้งและแอร์บัส
@SemiNano
@SemiNano Жыл бұрын
เยี่ยมมากครับ เชียร์ เจแปน
@GravityBlood
@GravityBlood Жыл бұрын
ยังกะพลอตอนิเมะกาวๆ ที่คนอื่นเน้นพัฒนาตามหลัก Logic พื้นฐานของ World Setting เรื่องนั้นๆ แต่จะมีกลุ่มตี้ตัวเอกที่แหวกแนวทำไรแผลงๆแหวกแนว แต่สุดท้ายดันพลิกมาเหนือพวกไปตามทางปกติ 😂
@285iamgood
@285iamgood Жыл бұрын
ชอบมากครับติดตามอยู่ตลอด
@Prince128260
@Prince128260 Жыл бұрын
เพิ่มเติมข้อมูล ครับ พี่หลาม ในหนังสือ CHIP WAR มีเขียนเรื่องนี้ครับ Lathrop คิดค้น Photolithography มีเรื่อง โกดัก Carl Zeiss นิคอน แคนนอน GCL ASML ด้วยครับ และอีกมากอ่านแล้ว ok เลยครับ
@เอกวิทย์กอประเสริฐถาวร-ฑ6ฝ
@เอกวิทย์กอประเสริฐถาวร-ฑ6ฝ Жыл бұрын
ในตลาดผมเห็นอยู่ 3 ยี่ห้อใหญ่ๆ นะครับ ASML Futjitsu Nikon ถ้า Canon ทำได้เท่า ASML ในโลกอาจมีเพิ่มมาอีก 3 เลยก็ได้
@gadgadgad262
@gadgadgad262 Жыл бұрын
มีคู่แข่งเยอะจะได้มีการพัฒนา/ผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้น
@lungdaeng
@lungdaeng Жыл бұрын
เทคโนโลยีมันไม่มีหยุดนิ่ง เครื่องพิมพ์บ้านยังมี อีกหน่อยasmlต้องมีคู่แข่งแน่นอน
@hardsoulch.2147
@hardsoulch.2147 Жыл бұрын
ดีเลยจะได้เกิดการแข่งขัน
@ventogera4403
@ventogera4403 Жыл бұрын
ดีแล้วครับจะได้มีหลายๆแบบ จะได้แข่งกันพัฒนา
@thanakitmeetara8331
@thanakitmeetara8331 Жыл бұрын
ดีๆ จะได้ไม่ผูกขาด แถม จะมีเครื่อง หลายๆเครื่อง​ ชิปจะได้ถูกๆ มือถือ​แรงๆจะได้​ราคาจับต้อง​ได้มั้ง
@freedomlike5712
@freedomlike5712 Жыл бұрын
ดีๆ ยิ่งแข่งขันสูงยิ่งดีต่อผู้บริโภค
@noecationtv3225
@noecationtv3225 Жыл бұрын
ว้าวสุดยอด​
@KUROSAKIEJIKO
@KUROSAKIEJIKO Жыл бұрын
Nikon canon เจ้าตลาดยุค90ครับช่วงปี2000เจอเทคโนโลยีใหม่asml หายไปเลย เครื่องพิมพ์นิ้ถ้าสังเกตจะมีบริษัทกล้องเป็นส่วนสำคัญ Asml ก็มีคาไซร์ เป็นบริษัทลูก
@Move-to-Mars
@Move-to-Mars Жыл бұрын
ทั้งจีนและญี่ปุ่น เริ่มพัฒนาเครื่องสร้างชิปแบบใหม่ล่ะ เยี่ยมมากที่ไม่ต้องพึ่งพาอเมริกากับยุโรปอีกต่อไป 👍
@Kefp_mimi
@Kefp_mimi Жыл бұрын
จีนไม่เคยมีเครื่องผลิตชิปนะครับ มีแต่แอบนำเข้าหลังบ้าน ไม่ได้ทำเอง ที่ทำเองมีแค่สถาปัตชิปครับซึ่งก็แกะลอกจากเกาหลีใต้ด้วยซ้ำ
@sine4586
@sine4586 Жыл бұрын
โลกต้องพึ่งพากันไม่มีใครเก่งทุกอย่างได้หมด อเมริกา ยุโรป เขาเก่งด้านนี้เป็นผู้คิดค้นก็เป็นสิทธิ์ของเขา ญี่ปุ่นเขาเน้นคุณภาพมีความใส่ใจงานสูงอาจแข่งราคาสู้จีนไม่ได้แต่มั่นใจได้แน่นอน ใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า จีนเน้นราคาถูกเป็นใหญ่ ตัวคุณภาพก็มีตามราคา แต่เราไม่ชอบที่เขาผลาญทรัพยากรมากเกินความจำเป็น ตัวถูกเสียก็เยอะกว่าแบรนด์อื่น ราคาก็ส่วนหนึ่ง คุณภาพสินค้าส่วนหนึ่ง เทคโนโลยีอีกส่วน สิ่งแวดล้อมอีกส่วน ควรหาจุดที่ไปด้วยกันได้
@thanakitmeetara8331
@thanakitmeetara8331 Жыл бұрын
​@@sine4586ก็ดีกว่า​ผูกขาด​เจ้า​เดียว​แถม ผลิตได้น้อย ทำไห้ ผลิตได้น้อยราคาสูง
@Zabraaa
@Zabraaa Жыл бұрын
ญี่ปุ่น ก็คนสนิท.. พี่กันนะ ฮ่าฮ่าฮ่าฮ่า
@Move-to-Mars
@Move-to-Mars Жыл бұрын
@@Zabraaa ก็ใช่ไง แต่เค้าไม่ต้องพึ่งพาทางฝั่งนั้นเรื่องหนึ่งล่ะ
@komolkovathana8568
@komolkovathana8568 7 ай бұрын
(จากนึ้เป็นไปได้รึไม่ที่ ไทยแลนด์ จะได้ขอเจรจา/เชื้อเชิญให้ แคนน่อน (ออฟเจแปน) ได้กรุณามาร่วมลงทุนตั้งโรงงานในประเทศไทย.. ภายในอีก 6-8 ปีข้างหน้า เพื่อความมั่นคงทางรถ"อีวี"ในไทย
@wuttah3468
@wuttah3468 Жыл бұрын
น้าครับ yield คือ ผลผลิตไม่รวมของเสีย ต้องบอกว่า Yield ต่ำ หรือ reject rate สูง ครับ
@DenimSkirt
@DenimSkirt Жыл бұрын
消費者にとって本当に有益❤🤗
@Ampcub
@Ampcub Жыл бұрын
True😊🎉
@Zchlowder
@Zchlowder Жыл бұрын
พี่หลามครับ yield = output / input ยื่งสูงยิ่งดีครับ
@ibanezibanez2428
@ibanezibanez2428 Жыл бұрын
ชาวยิว คือ ผู้คิดค้นสมการนี้
@Zchlowder
@Zchlowder Жыл бұрын
@@ibanezibanez2428 นี่ผมคิดอยู่นานเลยนะกว่าจะเข้าใจ
@ดวงพิชัยสงคราม
@ดวงพิชัยสงคราม 7 ай бұрын
วันเดือนปี ที่ผลิต ใครก็พิมพ์ได้ จีน อาจใช้แผน + ของขงเบ้ง +ก็ได้ ผลิตวันนี้ พิมพ์วันผลิต เป็น 10 ปีที่แล้วก็ได้ +อเมรอกา คือ 18 มงกฎ ปล้น กด ขี่ เรียกค่าคุ้มครอง ค่าหัวคิว เอาสมบัติมันมาเฉย มีอะไรหรือเปล่า คือนิสัยของ อมเริกา
@GoSoBig.GoSoBig
@GoSoBig.GoSoBig 4 ай бұрын
ไม่ใช่ครับ เป็นสันดานของไซออนนิสต์ที่สั่งการและควบคุมอเมริกาครับ ปธน เมกาทุกคนต้องฟังคำสั่งพวกมัน มันครอบงำพรรคการเมืองทุกพรรค ปธน คนไหนฝ่าฝืน จะโดนจัดฉาก แบบ JFK และ Clinton
@tomustor3048
@tomustor3048 Жыл бұрын
นึกถึงที่พี่หลามบอกว่า เทคโนโลยีทีวีสี ที่โซนี่ซื้อมาแต่ทำได้ถูกกว่าต้นตำหรับ
@NitiponParkker
@NitiponParkker Жыл бұрын
ระบบ NIL สามารถผลิตชิปให้เล็กลงทั้ง ตัว ทรานซิสเตอร์และระยะห่างให้มัน เท่าๆกันได้เลยหรือเปล่าครับ ถ้าทำให้ตัวทรานซิสเตอร์เล็กลงแบบแค่5 นาโน ระยะห่าง5นาโนได้ ASML ก็หนาวเป็นน้ำแขงแน่นอนครับ
@prasitkoysiripong5150
@prasitkoysiripong5150 Жыл бұрын
คอยดูจีนนะ มาแน่ มาแล้วตลาดป่วนแน่
@ummummm3554
@ummummm3554 Жыл бұрын
ยิ่งมีคู่แข่งยิ่งดีต่อผู้บริโภค
@jazzajazz7565
@jazzajazz7565 Жыл бұрын
แข่งกันเยอะๆครับ อยากให้มาตั้งฐานที่ไทย เราจะได้โนฮาวส์ด้วยครับ
@auoriginal6097
@auoriginal6097 10 ай бұрын
หัดคิดเองบ้าง แค่ข่าวก็คิดจะเอาของเขาแล้ว ตัวอย่างประชากรคุณภาพต่ำ 😂
@TheLungNuad
@TheLungNuad Жыл бұрын
ราคา ชิพถูกลง อนาคต ผู้บริโภค จะได้ของถูกลงมากมายแน่นวล....เชียร์ แจแพนให้ทำสำเร็จ.....
@suantua
@suantua Жыл бұрын
เราสั่งเครื่องนี้ไปแล้ว พอดีลาซาด้ามีแฟลชเซล ส่งฟรีด้วย
@boyintheworld
@boyintheworld Жыл бұрын
ผมว่า canon เขาเก่งทั้งเรื่องเลนส์ อุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ และเทคโนโลยีปริ้นติ้ง อยู่แล้ว ดังนั้นไม่แปลกนะ ที่ canon เขาจะสะสมองค์ความรู้พวกนี้ไว้
@learnlearn1522
@learnlearn1522 Жыл бұрын
แพงกว่า qc computer อีกหรือ
@จิรายุสไชยถา
@จิรายุสไชยถา Жыл бұрын
ถึงญี่ปุ่นผลิตได้(แต่น่าจะนานเลย) แต่หัวเหว่ยก็ไม่มีสิทธิ์ได้แตะหรอก อเมริกาไม่อนุญาต😂
@WITFITMAN.
@WITFITMAN. Жыл бұрын
มาเลยๆ ได้หมด 😎💥💥💥💥💥💥
@plawan00021
@plawan00021 Жыл бұрын
หลายๆคนยังไม่รู้ว่า แคนนอนมีเทคโนโลยีเซนเซอร์กล้องเป็นของตัวเองและขายเอง เพราะกล้องส่วนใหญ่ที่ขายก็ให้โซนี่ผลิตให้
@นายชุมพรพรหมขุนทอง
@นายชุมพรพรหมขุนทอง Жыл бұрын
กล้อง canon ทุกรุ่นใช้ เซนเซอร์รับภาพ sony ยุเลย
@plawan00021
@plawan00021 Жыл бұрын
@@นายชุมพรพรหมขุนทอง ใครบอก 55 เทคโนโลยี Dual sensor เป็นของแคนนอนครับ
@nopparutsitthilert6260
@nopparutsitthilert6260 Жыл бұрын
รักพี่หลาม รักเสียงพี่ รักรายการของพี่นะครับ🎉🎉🎉❤❤❤😊😊😊
@กัญญารัตน์พูลเกษม
@กัญญารัตน์พูลเกษม Жыл бұрын
เดี๋ยวก็โดนเมกาเตะตัดขาเชื่อเหอะ...ยกเว้นแชร์หุ้นให้กลุ่มเมกาจนพอใจ
@youtubefamilymixstory6616
@youtubefamilymixstory6616 Жыл бұрын
แล้วชิบ โฟโตนิค ที่จีนเริ่มทำได้ เร็วกว่าnVidia 1,000เท่านี่เรื่องจริงไหมครับ
@Xsiamy
@Xsiamy Жыл бұрын
สุดยอด ผมอ่านเกมขาดล่ะ แน่นอน ครับ
@SSdddsedsees
@SSdddsedsees Жыл бұрын
(ในวงการอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ๆ หรือเครื่องจักรใหญ่ๆ) ญี่ปุ่น < เก่งและทำมานานแล้วครับ เช่น พวกลิฟท์หรือบันไดเลื่อน เป็นต้น เราจะเห็นบริษัทยี่ห้อดังๆของญี่ปุ่นทำเยอะ (ซึ้งมันทำเงินมหาศาล เครื่องๆหนึ่ง ไม่ใช่ราคาถูกๆนะ) เห็นว่า เป็นเจ้าของบริษัท ARM ซึ้งชิป 90% ทั่วโลก ก็มาจากนี้แหละ
@ธนพลทองดี-ฑ4อ
@ธนพลทองดี-ฑ4อ Жыл бұрын
ไอชิบ นี่ จุดเริ่มต้น ทุกสิ่ง ผู้ใดถือครอง เป็นมหาอำนาจ ย่อมย่อม เลย
@ทอมมี่ไทน้ําพอง
@ทอมมี่ไทน้ําพอง Жыл бұрын
สีจิ้นผิงได้ยินข่าวนี้แล้ว... รีบยกหูหาหัวเหว่ย.... บอกว่า มึงรีบไปเทคโอเวอร์เลย เดี๋ยวกรูออกตังค์ช่วย 😅😂🤣
@mr.frankyromeo4546
@mr.frankyromeo4546 Жыл бұрын
งาน jp ด้วยไง น่าจะแจ่ม
@gypsyceegif8079
@gypsyceegif8079 Жыл бұрын
และคอยดูนะ จะมี os ใหม่เกิดขึ้น เป็น os ที่3. นั้นคือ google เองที่ซุ่มทำอยู่ และซัมซุงเองก็วางแผนอยู่เพื่อที่จะใช้ในมือถือตัวเอง
@eatplay1541
@eatplay1541 Жыл бұрын
เครื่องผลิตชิปตอนนี้มันมีแค่ asml ไงที่ผูกขาดตลาดทั้งโลก ไม่แปลกที่หลายๆประเทศอยากพัฒนาของตัวเอง แต่ต้นทุน เวลา ระยะเวลา อาจจะนานมากหน่อย กรณีของญี่ปุ่นผลิตเครื่องแบบนี้มานานแล้วแต่ก็หยุดไป
@anawinzanamarinzch3927
@anawinzanamarinzch3927 Жыл бұрын
ดีเเล้ว เเมร่งเก่งอยู่เจ้าเดียวเเบบนี้ ไม่มีคู่เเข่งเลย
@top_teerawut9855
@top_teerawut9855 Жыл бұрын
หวัดดีพี่หลาม
@artchainarong-pm9er
@artchainarong-pm9er 8 ай бұрын
ทำไมแผ่นเวเฟอร์มันถึงไม่ทำเป็นแผ่นสี่เหลี่ยมไปเลย แผ่นกลมช่วงขอบๆแผ่น มันก็ต้องทิ้ง ใช้ไม่ได้เพราะชิปมันไม่เต็มอัน แล้วเสียเวลา เสียพลังงาน ยิงขึ้นชิ้นงานที่ตรงขอบๆ ไปทำไมครับ 🤔
@jakkritkobkiatkawin8230
@jakkritkobkiatkawin8230 Жыл бұрын
เจ้าสัวไทย สั่งมาลงเลยครับ ผลิตชิพใช้กับรถ EV เครื่องมือและอาวุธทางทหาร และเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ ป้องกันประเทศถูกกีดกันจากชาติมหาอำนาจในอนาคต
@อุกฤษปัดชาเขียว-ด5อ
@อุกฤษปัดชาเขียว-ด5อ 4 ай бұрын
จุดเริ่มต้นคือแบรน ฟิลิปส์ TV วิทยุAM กับถ่านไฟฉายIC
@100Oldplayer
@100Oldplayer Жыл бұрын
ตอนทำแม่พิมพ์ขนาด 5 นาโน ทำอย่างไรล่ะใช้อะไรทำแม่พิมพ์
@ลลิสซ่า-ฬ8พ
@ลลิสซ่า-ฬ8พ 7 ай бұрын
ถ่ายเอกสารด้วย
@gamesover5039
@gamesover5039 Жыл бұрын
เกาหลีใต้คงไม่ยอมน้อยหน้าแน่ครับ
@firstclass7896
@firstclass7896 Жыл бұрын
ลาว
@eatplay1541
@eatplay1541 Жыл бұрын
ของเกาหลียังพึ่ง Asml อยุ่ครับ แต่ถ้าพัฒนาเองน่าจะทำได้ แต่อาจจะนานหน่อย
@sunaitravel7801
@sunaitravel7801 Жыл бұрын
เทคโนโลยี ญี่ปุ่นเป็นลองแค่ usa ยังไงก็เหนือกว่าจีนเกาหลี เพราะจีนไม่เคยคิดค้นอะไรเลย ได้แต่ต่อยอดแค่นั้น ไม่มีต้นแบบก็ทำไม่ได้ รถไปจีนที่ว่าเร็วๆก็เทคโนโลนีญี่ปุ่น+เยอรมันนะ
@mistressmelody6953
@mistressmelody6953 Жыл бұрын
​@@firstclass7896ลาวแท้ พ่อหนุ่ม
@piggy7501
@piggy7501 Жыл бұрын
ประเทศไทย มีสิทธิ ไหมครับ 😮? ผมอยากรู้อยาก สมมุติว่า ประเทศไทย จะมีบริษัทที่สร้างเครื่องผลิตซิป เป็นของตนเอง นี่พอเป็นไปได้ไหม ?
@MrMamagoto
@MrMamagoto Жыл бұрын
😂มีนานละครับไทยนะ แต่ไม่ได้หวือหวา กูเกิลดูได้
@piggy7501
@piggy7501 Жыл бұрын
@@MrMamagoto อืมม์~ หมายถึง บริษัท ซิลิคอน คราฟท์ เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) ( Silicon Craft Technology PLC ) ใช่ไหม ? บริษัทนี้เค้าผลิต ชิพ ครับ ที่ผมหมายถึงคือ บริษัทที่ผลิตเครื่องผลิตชิพ ครับ ไม่ใช่บริษัทที่ผลิตชิพครับ
@falcongold6459
@falcongold6459 4 ай бұрын
ซิลิคอนคราฟของไทยที่อยู่ในตลาดหลักหรัพย์ เขาไม่ได้ผลิตชิปครับ แต่เขาออกแบบชิบแล้วไปจ้างบริษัททีผลิตชิปอีกทีนึง ซึ่งเป็นพันธมิตรของบริษัท
@tbm5558
@tbm5558 Жыл бұрын
จีน ยิ้มเลย ที่รู้ข่าวนี้
@biohazardresiden1926
@biohazardresiden1926 Жыл бұрын
แบบปั้มมันสร้างตึก3Dไม่ได้ครับ ตึกที่เป็นชั้นๆที่ด้านในมันสับซ้อนได้คือต้องเป็น3DPrinterแบบเลเยอร์เป็นชั้นๆหรือแบบยิงเลเซอร์เอาเท่านั้นครับ แบบปั้มมันทำได้แค่ชั้นเดียว
@techoffside
@techoffside Жыл бұрын
เค้าทำทีละชั่นมาต่อกัน
@biohazardresiden1926
@biohazardresiden1926 Жыл бұрын
@@techoffside อ่อแจ๋วไปเลยครับพี่555
@TongLife
@TongLife Жыл бұрын
เทคโนโลยีขั้นสุด ของมนุษย์ชาติ ยิ่งทำให้แน่ใจว่า เราไม่เคยได้เทคโนโลยีจากมนุษย์ต่างดาวเลย หรืออาจจะไม่เคยมีจริงก็เป็นได้
@Kottebiiiiilk
@Kottebiiiiilk Жыл бұрын
ยังอยู่ แต่คนละพวก
@theotonkla8932
@theotonkla8932 Жыл бұрын
มนุษย์ต่างดาว ก็เหมือนผี ปิศาจ หรือวิญญาณนั่นแหละ.. แล้วแต่วิจารณญาณล้วนๆ!! 🤭
@boyzazai009
@boyzazai009 Жыл бұрын
ผม นี้ใช้ของญี่ปุ่น เกือบทั้งบ้าน ทั้งรถทั้งมือถือ
@จีนกลืนชาติปล่อยไวรัสทั่วโลก
@จีนกลืนชาติปล่อยไวรัสทั่วโลก 2 ай бұрын
มือถือยี่ห้อไรอ่ะ
@boyzazai009
@boyzazai009 2 ай бұрын
@@จีนกลืนชาติปล่อยไวรัสทั่วโลก sony xperia 1vi ครับ
@Josuke8Man
@Josuke8Man 8 ай бұрын
เดือดแน่ครับ
@endosung6697
@endosung6697 7 ай бұрын
ถ้าผมเป็น HW จะไป take Cannon ไว้ก่อน
@Lil_zero37
@Lil_zero37 Жыл бұрын
จีนไม่สามารถผลิตเลนส์บริสุทธิ์ได้และใช้เวลาอีกนาน แม้กระทั่งหัวบอลของปากกาหัวบอลราคาถูก จีนยังทำไม่ได้ แต่ดูเหมือนเพิ่งจะทำได้นะ ดังนั้นการจะทำอะไรได้ต้องมีเทคโนโลยี
@iskomaxmin
@iskomaxmin Жыл бұрын
เดี๋ยวจะมีข่าวบริษัทจีนเตรียมทุ่มเงินเทคโอเวอร์ canon
@chumpornphimmatephimmate7300
@chumpornphimmatephimmate7300 Жыл бұрын
เทคโนโลยี้เขาถึงรึ
@17khietachzx.zanadoo40
@17khietachzx.zanadoo40 Жыл бұрын
ถึงวันแห่งพันธสัญญาเมื่อไหร่ พวกเราหน้าจะได้เห็นประเทศญี่ปุ่นในรูปแบบที่ก้าวกระโดดกว่านี้แน่นอน ส่วนวันนั้นคือวันอะไรลองดูเหตุการณ์และเรื่องราวที่เกิดดู หลายๆสิ่งหลายๆอย่างพวกเขาสามารถทำได้แล้ว เพียงแต่ด้วยเหตุผลหลายอย่างจึงไม่เคยเปิดเผยให้สาธารณะได้รับรู้ ถ้าใครเคยได้ทำในบริษัทใหญ่ที่เกี่ยวกับเรื่องพวกนี้คุณก็จะเข้าใจได้ว่าทำไมพวกเขาถึงไม่ทำสิ่งใดที่ก้าวกระโดด วัฒนธรรมของพวกเขาได้นิยามให้การดำเนินชีวิตเป็นไปตามธรรมชาติที่สุด
@Josuke8Man
@Josuke8Man 7 ай бұрын
จริงครับ ช่วง90ถึง20เดินเมกาสกัดขา
@inotplaying
@inotplaying Жыл бұрын
กลายเป็น huawei ก็ใช้เครื่องจาก canon แทน😂😂(แซวเล่นนะ)
@RollingOnTheGrass
@RollingOnTheGrass Жыл бұрын
นาโนเมตรน้อยๆดีอย่างไรครับ ทำไมแข่งกันที่นาโนเมตร
@techoffside
@techoffside Жыл бұрын
โหยาว รอเพื่อนๆมาช่วยตอบนะครับ
@wichenjanpitya9037
@wichenjanpitya9037 8 ай бұрын
ประหยัดเนื้อที่​เพราะเขียนวงจรบนแผ่นซิลิกอนได้มากขึ้นโดยใช้ขนาดชิปไม่ใหญ่ขึ้นหรือขนาดชิปเล็กลง​ และประหยัดการใช้พลังงาน
@eerybuzzero9229
@eerybuzzero9229 5 ай бұрын
เดี๋ยวมันก็ถึงขีดจำกัด วงจรอิเล็กทรอนิกส์ยิ่งเล็กมันก็จะอยู่ใกล้ชิดกันมากมากเพราะต้องการใส่ชิ้นส่วนให้มากที่สุดในพื้นที่จำกัด ช่องว่างมันจะแคบลงไปแทบจะเบียดกันจนติดกันเป็นเนื้อเดียวกันในทางไฟฟ้าแล้วเมื่อกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรนั้นมันจะเกิดการเหนี่ยวนำในลายวงจรที่ขนานชิดกันจนเกิดคลื่นรบกวนกันผลคือวงจรจะทำงานผิดพลาดผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริง เช่นถ้าใช้ในเครื่องขยายเสียงก็จะได้ยินเสียงคลื่นรบกวนจนเสียงเพี้ยนไปจากเสียงจริงตามธรรมชาติครับ ได้อย่างอาจจะเสียมากกว่าหนึ่งอย่างก็เป็นได้ สำหรับเรื่องภาพที่ประมวลผลก็จะละเอียดเกินจริงคมชัดจนผิดธรรมชาติ ระยะใกล้ กลาง ไกล แยกไม่ออกเพราะมันชัดพอพอกัน ละเอียดจนกระทั่งตามนุษย์ไม่สามารถตอบสนอง คือเกินสเป็คที่ตามนุษย์จะแยกแยะเปรียบเทียบความต่างได้ ส่วนตัวคิดว่าเพ้อเจ้อไร้สาระ อะไรที่มันชัดเกินเหตุเร็วเกินไป จนรับไม่ได้ไล่ไม่ทันมันจะเบลอไปหมด เอาง่ายง่าย ปั่นจักรยาน กับขับมอเตอร์ไซค์เราจะเห็นรายละเอียดของวัตถุได้ดีกว่าขับมอเตอร์ไซค์ครับ ใครจะพัฒนาชิพก็ปล่อยเขาไปแต่ส่วนตัวพัฒนาพลังงานสะอาดร้อยเปอร์เซ็นต์ดีกว่ากันเยอะเลย ประสบผลสำเร็จแล้ว99% พลังงานสะอาดไม่พึ่งพาแบตเตอรี่ มันตอบโจทย์ทุกโจทย์แล้วในชีวิตนี้ครับ
@prungpanyapradit3294
@prungpanyapradit3294 Жыл бұрын
Fuji ผลิตเครื่องมือแพทย์ Canon มุ่งอุตสาหกรรมเทคฯ เต็มตัว สหรัฐฯ รอเตะตัดขาอย่างเดียว 🤭🤭🤭
@kritrueangcharak
@kritrueangcharak Жыл бұрын
ASML จะไม่ยืนหนาวบนจุดสูงสุดอยู่เพียงผู้เดียวอีกต่อไป เพราะ Cannon จะทำตู้เย็นข้างบริษัท ASML เอฮ่ย ไม่ใช่
@nimmannoradee9065
@nimmannoradee9065 Жыл бұрын
ดีๆ ไม่งั้นก็ผูกขาดอยู่เจ้าเดียว
@sawinsrisawat2539
@sawinsrisawat2539 Жыл бұрын
ไม่ใข่ แสนสิริ เหรอ
@tickann3776
@tickann3776 Жыл бұрын
พี่หลามพูดผิดหน่อยเดียว ชิงฉลาดกันใหญ่เลยน้า 555
@LittleP914
@LittleP914 Жыл бұрын
555555555555
@techoffside
@techoffside Жыл бұрын
เวลาพูดเร็วๆ คิดเร็วๆ มันผิดได้ครับ
@tripontube365
@tripontube365 Жыл бұрын
ระหว่างจีน กับ อเมริกา คุณคิดว่าญี่ปุ่นจะเชื่อใจฝั่งไหมละ
@SuMZuKi
@SuMZuKi Жыл бұрын
เลี้ยวเพราะโดนลูกเพ่ระงับ กลัวจะล้ำหน้าเกินหน้าเกินตา ลูกเพ่เลยไปปหาเกากับจีน และไต้หวั่น ญี่ปุ่นมีเทคโนโลยีไปไไกลแล้ว ถ้าไม่โดนระงับ
@2929twentynine
@2929twentynine Жыл бұрын
เจ้าสั่วไทยทั้งหลายรวมเงินกันจัดมาสักเครื่องสิ
@user-FortLorderdale
@user-FortLorderdale Жыл бұрын
ญี่ปุ่นน่าจะผลิตเครื่องมือแบบนี้ได้ตั้งนานแล้วนะแต่ทำไม่พึ่งมามีข่าว หรือว่าเขาซุ่มพัฒนาให้ได้คุณภาพที่ดี..🤓
@snowmeaw38
@snowmeaw38 Жыл бұрын
เอามาปลูกสารแหน่ไว้ใส่ลาบจิ้นน
@UnjaUntrui
@UnjaUntrui Жыл бұрын
จัดมาอะได้แต่ r&d มันทำม่ายล่ายย แถมเขาไม่ขายเพราะนโยบายทางประเทศอี้ก
@eddyvanvan4253
@eddyvanvan4253 Жыл бұрын
ผมว่าเขาถ้าทายสิ่งที่ยิ่งใหญ่กว่านี้ครับ แต่เจอทางตันเหมือนคนอื่น เลยต้องเปลื่ยนอีกหลายรอบ จนแน่ใจว่าจะผ่านมันไปได้ ที่ว่ามาก็คือ ปรากฏการอุโมงค์ควอนตั้ม ประจุไฟฟ้าสามารถ ทะลุเกต์ หรือผนังกันไฟฟ้า ไปอีกฝั่งได้ ยิ่งเล็กระดับ อังสตอม มันเข้าขอบเขตของควอนตั้มแล้ว ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นแน่นอน แล้วยังไม่มีใครออกตัวว่าสามารถแก้ปัญหานี้ได้ด้วย 😅😅
@koolskohz
@koolskohz Жыл бұрын
"คหสต." น่อนน่าจำเป็นต้องลงทุนโรงงานเงินมหาศาล เช่น ซื้อลิขสิทธิ์เทคโนโลยีผลิต ฯลฯ
@aswinmode
@aswinmode Жыл бұрын
ทำไมต้องซื้อ ฟังจบยัง เทคโนโลยีการผลิตไม่เหมือนกันเลย
@SuperUserSuper
@SuperUserSuper Жыл бұрын
ไม่ได้มาเล่นๆ👍😁
@arkomjat6704
@arkomjat6704 Жыл бұрын
คืนนี้ asml ก็ลงสิครับ 😅
@Faruox
@Faruox Жыл бұрын
อยากให้ไทยทำได้บ้าง
@phayakraipunnajack719
@phayakraipunnajack719 Жыл бұрын
รออีก50-100ปีมั๊งครับ 🗣️✍️
@ananbutsopha8875
@ananbutsopha8875 5 ай бұрын
อยากได้ชิป0.01nm🤣🤣🤣
@jazzfusion2891
@jazzfusion2891 Жыл бұрын
Canon ร่วมกันกับจีนซุ้มพัฒนาเครื่อง "Nanoimprint" มาได้พักใหญ่ๆแล้วคับ นี่ได้ข่าวแว่วๆมาว่าตอนนี้ผลิตได้ถึงระดับ 5nm ได้ด้วย ผู้อยู่เบื้องหลังการคัมแบ็คของหัวเหว่ยอย่างแท้ทรู!!!!!
@นิจนิรันดร์-ฑ2ฦ
@นิจนิรันดร์-ฑ2ฦ Жыл бұрын
ญี่ปุ่นเคยครองชิปโลกยุค80-2000แบบไร้คู่แข่งบอกเลยเทคโนโลยีแพงมากกว่าจะเปลื่ยนนวัตกรรมก็ช้าเปลื่ยนนิดกินไปเรื่อย
@diybaked1014
@diybaked1014 Жыл бұрын
ญี่ปุ่นพลาดเรื่องการเป็นผู้นำมือถือมาแล้ว น่าจะไม่อยากซ้ำรอยแล้ว
@นิจนิรันดร์-ฑ2ฦ
@นิจนิรันดร์-ฑ2ฦ Жыл бұрын
ญี่ปุ่นไม่เคยเป็นผู้นำมือถือนะครับแต่เขาผลิตเครื่องทำชิปมานานแล้วครับ
@sombatsiri2267
@sombatsiri2267 Жыл бұрын
ญี่ปุ่น อเมริกา ยุโรป ไปตั้งโรงงานผลิตสินค้าในจีนเยอะเพราะเห็นแก่ค่าแรงถูก เลยโดนก๊อปปี้เทคโนโลยีไปเยอะ แล้วก็ไปขายแข่งในตลาดในราคาที่ถูกกว่ามาก แต่คุณภาพก็อย่างรู้ๆ กัน ขายถูกก็พังเร็วจะได้ขายใหม่ ต้นฉบับก็ขายไม่ได้ เพราะคนซื้อก็มองที่ราคาถูกไว้ก่อน คุณภาพพอใช้ได้ก็โอเค ตอนนี้ญี่ปุ่น อเมริกา ยุโรป รู้ตัวก็กลับประเทศกันเป็นส่วนใหญ่ หันไปพัฒนาซอฟแวร์ที่มีคูณภาพสูงใช้งานร่วมกับสินค้าที่ตัวเองผลิตให้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้นเพื่อให้ลูกค้าเห็นความแตกต่างจากจีน แต่ก็ไม่วายโดนก๊อปปี้อีก เรื่องที่ญี่ปุนจะขายให้จีนคงไม่ง่ายเพราะญี่ปุ่นก็อย่าจะกลับไปยิ่งใหญ่เฟื่องฟูเป็นที่หนึ่งในเอเชียเหมือนเดิมครับ
@jayiz5047
@jayiz5047 Жыл бұрын
หรือว่า huewei ซื้อผลิตชิปจาก canon canonเลยมีงานที่จะพัฒนาเทคฯตัวนี้5555 (คหสต.)
@dj.djames1830
@dj.djames1830 Жыл бұрын
0:10 โห เต้ยเลยพี่หลาม ใช้คำว่าเป็นเต้ย รู้อายุเลยน้า5555555
@เด็กเลี้ยงแมว-ล4ป
@เด็กเลี้ยงแมว-ล4ป Жыл бұрын
เมกา รอ แทรกแซง
@วิโรจน์ธนะสิทธิ์
@วิโรจน์ธนะสิทธิ์ Жыл бұрын
ญี่ปุ่นกับเนเธอแลนด์ต่างก็ไม่ขายเครื่องให้จีนเพราะต้องอยู่ในคำสั่งของอเมริกาเหมือนเดิม แล้วมันมีประโยชน์อะไรในเมื่อบนโลกนี้มีไม่กี่ชาติที่จะผลิตชิปส่งขายได้ เพราะไม่ใช่ใครก็จะตั้งโรงงานผลิตได้มันต้องมีทุน มีบุคลากร
@wirwuth6096
@wirwuth6096 Жыл бұрын
ควรจะมีเยอะๆราคาจะได้ถูกลง
@sidtichaisb1028
@sidtichaisb1028 Жыл бұрын
เดี๋ยว USA ก็กดดันไม่ให้ญี่ปุ่นขายให้จีนอีกน่ะ
@suriya-ud8zs
@suriya-ud8zs Жыл бұрын
ถ้าเทคโนโลยีอยู่บนพื้นฐานของคณิตศาสตร์ ใครที่เก่งคณิตศาสตร์และมีทุนเพียงพอก็สามารถทำได้ จีนเป็นอีกประเทศที่มีคนเก่งคณิตศาสตร์เยอะและรัฐบาลสนับสนุนอย่างเต็มตัว ส่วนเรื่องทำได้แล้วแต่ไม่บอกให้ชาวโลกรับทราบเป็นเรื่องที่เข้าใจได้ หรืออาจจะใช้เทคโนโลยีอื่นที่ก้าวกระโดดไปอีกขั้นก็เป็นได้
@xternaltoffee7811
@xternaltoffee7811 Жыл бұрын
เมื่อก่อนเซ็นเซอร์ sony ก็ผูกขาดจากทั่วโลกปัจจุบัน samsung แย่งการตลาดมาได้เกือบ 20% แหม้ sony จะยังเป็นเจ้าใหญ่ยุแต่ค่ายมือถือบางค่าย ใช้เซ็นเซอร์samsung แทนsonyแล้ว ฉนั้นไม่แน่อาจจะไม่แย่งผู้นำแต่แบ่งส่วนแบ่งการตลาดมาได้
@นิจนิรันดร์-ฑ2ฦ
@นิจนิรันดร์-ฑ2ฦ Жыл бұрын
โซนี่ของดีแต่แพงครับลดต้นทุนไม่ได้ขนาดโทรศัพท์ตัวเองยังเอากล้องเกรดบีมาใช้
@หําใหญ่ไข่ทองคํา
@หําใหญ่ไข่ทองคํา Жыл бұрын
มีแต่ iPhone และVivo ใช้ของ Sony มาตลอด
@keekana22
@keekana22 Жыл бұрын
ไม่เกิน 7 ปี เครื่องพี่จีนจะมาแบบแซงโค้งทุกเจ้า
@citizenlovedevelopment
@citizenlovedevelopment Жыл бұрын
❤❤❤🙏🙏🙏🌎🌎🌎🇹🇭🇹🇭🇯🇵🇯🇵
@nattamininuke8088
@nattamininuke8088 Жыл бұрын
เจ้าแม่คันนองมาแล้ว
How to treat Acne💉
00:31
ISSEI / いっせい
Рет қаралды 108 МЛН
ทำไม AMD และ Intel ถึงยอมร่วมมือกัน?
19:19
TechOffside “ล้ำหน้าโชว์”
Рет қаралды 123 М.
Imaging at ASML
23:40
Huygens Optics
Рет қаралды 129 М.