No video

แบต NMC เทียบกับ LiFePo4 เฮ้อ..!! ทำไม..ตัวหนึ่งหนักใจ...อีกตัวทำไมหนักจัง...!!

  Рет қаралды 55,512

Zim Zim DIY

Zim Zim DIY

Жыл бұрын

สวัสดีครับยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่ช่อง ZimZimDIY
สำหรับวันนี้ผมจะมา พูดถึง แบตเตอร์รี่ ลิเธี่ยม ตัวหนึ่ง
ที่ได้รับความนิยม อย่างมากใน วงการ รถยนต์ไฟฟ้า EV และก็ เริ่มฮิตกันใน วงการโซล่าเซลล์ แบบ off grid
นั้นก็คือแบตเตอร์รี่ ลิเธี่ยม NMC ซึ่งในคลิปนี้ ผมขออธิบายง่ายๆ ตาม สไตล์ช่อง ZimZim ละกันนะครับ
สำหรับแบตเตอร์รี่ NMC หรือ (Lithium Nickel Manganese Cobalt Oxide)
ก็คือส่วนประกอบ หลักๆแล้ว เขาก็ ยังใช้ ส่วนผสมของ ลิเธี่ยม เป็นแกนหลัก อยู่ครับ
แต่ มีส่วน ผสมของ ธาตุ หรือเคมีตัวอื่นๆ เข้ามาเพิ่มเติม อย่างเช่น ตัวแรกก็คือ
1.นิกเกิล (Nickel): นิกเกิ้ลเขาจะใช้เป็นส่วนประกอบสำคัญ สำหรับ ขั้ว แคโทด นะครับ เนื่องจากตัวมัน เป็นโลหะในตะกลู ทรานซิชัน หรือเป็น ธาตุที่นำไฟฟ้าได้ดี
มีความสามารถในการเก็บพลังงานไฟฟ้าได้ มีความหนาแน่นของพลังงานสูง ทำให้แบตเตอรี่ ที่ใช้นิกเกิ้ล
สามารถ เก็บพลังงานได้มาก เก็บพลังงานได้มาก ก็ทำให้ได้ความจุ ที่เพิ่มขึ้น
และ ตัวนิกเกิลเอง ยังมีน้ำหนักที่น้อย น้ำหนักที่น้อย ก็หมายความว่า ใช้พื้นน้อยลงไปด้วย ดังนั้นแบตเตอรี่ของรถยนต์ไฟฟ้า ที่ใช้นิกเกิล จึงมีขนาดเล็กลง ขนาดที่เล็กลง ก็ทำให้รถเบาลด รถเบาลงก็ทำให้ สามารถ บรรทุกสินค้าได้มากขึ้น
หรือถ้าหากเราไม่บรรทุกสินค้า มันก็จะวิ่งได้ระยะทางที่ไกลมากขึ้น" นั้นเอง ครับ
ต่อไป
2.แมงกานีส (Manganese): แมงกานีส ถือว่าเป็นโลหะที่มีปัญหาน้อยที่สุด ในบรรดาโลหะที่จะมาทำ ขั้ว แคโทด
มีความสามารถที่ดีในการเก็บพลังงานไฟฟ้า ถ้าหากเรา เพิ่มมันเข้าไป มันจะ ช่วยเพิ่มความเสถียรให้กับแบตเตอรี่ และยัง ช่วยลดความเสียหายจากการใช้งานที่หนักหน่วง อีกด้วยครับ
ส่งผลให้แบตเตอรี่ มันมีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้น
ต่อไป
3.โคบอลต์ (Cobalt): โคบอลต์ เป็นหนึ่งในโลหะที่เก็บพลังงานไฟฟ้าได้มากที่สุดในแบตเตอรี่
พูดง่ายๆก็คือ ถ้าไม่มี cobalt แรงดันของ NMC อาจจะไม่ถึง 3.7V ครับ
นอกจากนี้ยังช่วยลดความเสียหายจากการใช้งานที่รุนแรง
และ ช่วย ชะลอความร้อนในแบตเตอรี่เมื่อเราใช้งานหนัก
เมื่อเรารวมข้อ ข้อดีของธาตุทั้ง 3 ตัวนี้
ก็จะแบตเตอร์รี่ลิเธี่ยม NMC ที่มีประสิทธิภาพ มาใช้งาน
แต่แบต NMC ตัวมันถูก คิดค้นมานาน มากแล้วละครับ ตั้งแต่ปี 1960
โดยต่อมา ได้มีการปรับปรุงคุณภาพ และพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการใช้งาน เข้าไปอีก
ซึ่งแบต NMC หลายๆคนเริ่มรู้จัก และก็ได้รับความนิยมอย่างมาก
ก็ใน ช่วงปี 2010 , 2011 ที่ผ่านมานี้เองครับ ก็เพราะว่า ค่ายรถ ค่ายดัง ค่ายหนึ่ง เริ่มติดตั้งและทดลองใช้ ในรถยนต์ไฟฟ้า EV
หลังจากนั้น ก็ถือว่ามันฮิต จนถึงปัจุบันนี้
ตอนนี้เมื่อ มันเป็นทางเลือกหลักๆ อยู่ใน ระบบรถยนต์ไฟฟ้า และ ในระบบโซล่าเซลล์
ก็เลยส่งผลให้มัน เป็นคู่แข่ง มาชนกับแบต Lithium Iron Phosphate หรือแบต LFP อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
เพราะฉะนั้น เดี๋ยวผมจะเปรียบเทียบ คุณสมบัติของ NMC และ แบต LFP ไปด้วยเลยนะครับ
สำหรับ ข้อมูลการเปรียบเทียบ มันจะเป็นเพียงแค่ ข้อมูลเบื้องต้น บริษัทต่างๆที่ผลิต ก็มีจะมีคุณภาพ ที่แตกต่างกันออกไป
แบต NMC ชื่อทางเคมีก็คือ LiNiMnCoO2
แบต LFP ชื่อทางเคมีก็คือ LiFePO4
ก็สรุุปได้ว่า
มันขึ้นอยู่กับ การเลือกใช้งาน
ถ้าเพื่อนๆ คำนึงถึง ความปลอดภัย และ รอบอายุการใช้งานที่ยาวนาน เป็นหลัก ก็ให้ให้เลือก เป็น แบต LFP
แต่ถ้าระบบเพื่อนๆ ต้องการ พลังงานสูง น้ำหนักเบากว่า ไม่เกี่ยงเรื่องราคา ก็ให้เลือก เป็นแบต NMC ครับ
สำหรับคลิปนี้ผมขอ อธบายไว้เท่านี้ก่อน ขอบคุณเพื่อนๆทุกท่านที่ติดตามรับชมครับ

Пікірлер: 38
@tammachaksoongpankhao3460
@tammachaksoongpankhao3460 9 ай бұрын
การทดสอบ cycle ในห้องทดลองมันบอกอะไรไม่ได้ทั้งหมดครับ ถ้าใช้งานจริงแบต LFP ไม่ตอบโจทย์ในการใช้งานในระบบโซล่าเซลล์ แรงดันที่มีการเปลี่ยนแปลงง่ายและไม่เท่ากันของ LFP มันมีผลเสียต่อการใช้งานแน่นอนเพราะเบตเตอรี่ต้องอนุกรมกันหลายเซลล์ (ใข้ได้แต่ไม่ดีพอเท่าแบต NMC) ข่าวในวงการพวกนี้เชื่อถือไม่ได้ 100% ครับ มันเป็นกลไกรทางการตลาดเพื่อจะขายของ ให้คิดเสมอว่าเทคโนโลยีใหม่ย่อมดีกว่าเก่าแน่นอน ผมใช้แบต ลิเธียม NMC ของ CATL 48v 560ah มา 4 ปีแล้ว ค่าความต้านทานยังเท่ากับซื้อมาใหม่ๆ ยังเห็นไม่ได้ชัดว่ามันเสื่อมสภาพ ดูจาก BMS ที่นับ cycle ใช้ปีละประมาณ 180 cycle กว่าผมจะใช้ถึง 2,000 cycle ต้องใช้เวลาถึง 11 ปีเลยนะครับ (ถ้านับเป็นวัน ก็เกิน 1,400 cycle ไปแล้ว) ผมตั้งค่าใช้งานตามนี้ ถ้าใช้แบต NMC 48v 560ah (ถ้าแบตขนาดเล็ก หรือใหญ่กว่าให้ลดสัดส่วนตามได้เลย) 1. แรงดันและกระแสชาร์จ ชาร์จเต็มที่ 56.5v ใช้กระแสชาร์จที่ 70ah ใน 30 วันตั้งโปรแกรมให้เครื่องชาร์จ ชาร์จเต็มที่ 57.6v หนึ่งครั้ง 2. แรงดันและกระแสใช้งาน หยุดใช้งานที่ 48v และควบคุมกระแสใช้งานที่ไม่เกิน 70ah 3. ควรใช้อินเวอร์เตอร์แบบหม้อแปลงความถี่สูง หรือแบบสวิทชิ่งในการแปลงไฟ เพราะจะมีค่าความสูญเสียน้อยและจะทำให้ cycle แบตฯ น้อยลงด้วยถ้าใช้งานติดต่อกันหลายๆ ปี พลังงานที่ได้จากแบต NMC 48v 560ah แปลงไฟด้วยอินเวอร์เตอร์ไฮบริดออฟกริด 48v 6200w ถ้าใช้จาก 56.5 - 48v จะได้ 18,000 วัตต์ (หรือ 18 หน่วยการไฟฟ้า) ช่วงแรงดัน 53 - 56.5v จะได้พลังงานหลังจากการแปลงไฟ 4,000 วัตต์ ช่วงแรงดัน 50 - 53v จะได้พลังงานหลังจากการแปลงไฟ 10,000 วัตต์ ช่วงแรงดัน 48 - 50v จะได้พลังงานหลังจากการแปลงไฟ 4,000 วัตต์ โดยประมาณตามนั้น จะเห็นได้ว่าแรงดันจะแข็งที่ 50v -53v ซึ่งเป็นช่วง normal โวลต์ของแบตชนิดนี้ อุปกรณ์ทุกอย่างอยู่ในสภาพแวดล้อมปกติของประเทศไทย มีแค่พัดลมระบายความร้อนเท่านั้น ไม่ได้อยู่ในห้องแอร์ ปรับอากาศ มีคนเคยทดสอบ การใช้งานจริงแบตฯ NMC และ แบตฯ LFP ดูคลิปนี้จะได้เห็นภาพว่าใช้งานจริงๆ มันต่างกัยังไง ซึ่งแรงดันขึ้นๆ ลงๆ มากจะมีผลเสียต่ออุปกรณ์หลายชิ้นที่จะเสียเร็ว ยี่งใช้โหลดมาก มีการกระชากโหลดใช้งานมาก LFP สู้ไม่ไหว จะลาโลกไวกว่า NMC แบตที่เป็นขั้วลบก็จะไปก่อนเพื่อน ไอ้ที่ว่า 6,000 ไซเคิล มันก็แค่ค่าทดสอบในห้องทดลอง ที่มีการควบคุมปัจจัยต่างๆ เท่านั้น kzbin.info/www/bejne/oqivemibl8ljqNU
@naiky3534
@naiky3534 8 ай бұрын
กำลังเริ่มต้นใช้งานครับ
@user-fq7ri2tl2q
@user-fq7ri2tl2q 7 ай бұрын
เรียกอะไร
@sirichokkultawan1972
@sirichokkultawan1972 5 ай бұрын
ขอบคุนความรู้ข้อมูลนะครับ อีกอย่างแบตLFP โวลตกง่ายทำให้แอคถีบบาล้านพังก่อนเลย ตามด้วยBmsแล้วก็แบตลูกที่ต่อขั่วลบจะพังก่อน 😂😂😂
@satawatrarisu7098
@satawatrarisu7098 3 ай бұрын
ชาร์ตถึง 100% ไหมครับ ในปต่ละครั้ง หรือว่าแค่ 80% ครับที่บอกว่าใช้ถึง 1300 รอบมาแล้ว พอดีเก็บๆข้อมูลเรื่องแบตอยู่ครับ
@tammachaksoongpankhao3460
@tammachaksoongpankhao3460 3 ай бұрын
@@satawatrarisu7098 แบตลิเธียม NMC ตั้งชาร์จเต็มที่ไม่เกิน 4.05 V ใช้ต่ำสุดที่ 3.5 V ใช้มาสีปีแล้ววันนี้ วัดค่าความต้านทานยังเหมือนกับต้อนซื้อมาใหม่ๆ เลย บอกไว้เลยอย่าเชื่อทฤษฎีมาก มันมีไว้เป็นแนวทางเฉยๆ ปฏิบัติจริงปัญหาเพียบ ถ้าจะให้ทนใช้ตามสูตรผม เพราะผมใช้มา 4 ปีแล้ว ค่าความต้านทานยังเหมือนของใหม่เลย 1 เดือนจะมีการชาร์จเต็มที่ 57.6V หนึ่งครั้ง เครื่องชาร์จผมตั้งโปรแกรมชาร์จแบบนี้ได้ ผมใช้แบต NMC 48V 560AH อยุ่ตอนนี้ และใช้แต่แอคทีฟบาลานซ์ ส่วน BMS จะใช้ตัวที่เล็กๆ หน่อยประมาณ 40A ราคา 700 กว่าบาท เอาไว้ตรวจจับเซลล์แบตตอนมีปัญหาโดยจะไม่ใช้กระแสผ่าน BMS จะใช้ BMS ไปสั่งรีเลย์กระแสสูงตัดการใช้งานแบตเตอรี่แทน (เจอปัญหา BMS ไหม้บ่อยถ้าใช้กระแสสูงนานๆ ให้ 200a อีกมันร้อนเดี๋ยวก็พัง) ต้องทำวิธีนี้ 1. ชาร์จเต็มที่ 56.6V ตั้งต่ำตัดหยุดใช้ที่ 49v 2. แบต NMC 560AH ตั้งกระแสการชาร์จ และกระแสการใช้ต่อเนื่อง ที่ไม่เกิน 70Ah มีเกินได้บ้างแต่อย่านานเกินครึ่งชั่วโมง และผมก็ไม่ใช้เอาไว้ในห้องแอร์ ทำตู้ใส่และมีพัดลมดูดอากาศเข้า ออกเท่านั้น ช่วงหน้าร้อนตั้งแต่เดือน 1 มีนาคม - 1 พฤษภาคม จะตั้งพัดลมไอเย็นแบบเปิด ปิดอัตโนมัติ ตอน 8.30 น. - 18.00 น. เป่าช่วยด้วย แค่ 2 เดือนเพาะร้อนมากอุณหภูมิในตู้เก็บแบตสูงถึง 38 องศา C ส่วนช่วงเวลาเดือนอื่นๆ ไม่ต้องใช้พัดลมไอเย็น จากที่ผมจดบันทึกวัตต์ที่ได้จากแบต NMC 48V 560AH จากแรงดันที่ 56.5 v ลงมาถึง 50.0 v จะได้ 14,500 วัตต์ (หรือ 14.5 หน่วยไฟฟ้า) แรงดันจะมาแข็งค่าที่ 52 โวลต์ลงมาจะลงช้ามากช่วง 52 - 50V จะได้ไฟราวๆ 10,000 วัตต์ ส่วนโวลต์จาก 56.5 ลงมาถึง 52 v จะได้ไฟประมาณ 1,000 วัตต์ (หรือ 1 หน่วยการไฟฟ้าต่อ 1 V) มีวิธีอีกมากมายในการใช้งานถ้าใช้ถูกวิธีทนทานแน่นอนบอกแล้วว่าทฤษฎีมีไว้เป็นแนวทางและแรงบันดาลใจเฉยๆ มันใช้จริงได้ไม่ดีนักมีปัญหามาก
@user-dk7pf5bj9h
@user-dk7pf5bj9h Жыл бұрын
ผมเอาใช้ติดโซล่าเซลทั้งสองแบบNMCไฟอึดมากขอแค่ใช้เครื่องชาร์ทแพงหน่อยตั้งค่่าการชาร์ทได้MNCก็ไม่น่ากลัวครับ
@kadadumtumrongtong7461
@kadadumtumrongtong7461 11 ай бұрын
ยังไม่ตรงนัก ปัจจุบัน nmc ถูกกว่า LFP พอควร และ NMC มีระเบิดให้เห็นบ่อย ๆ แม่แต่ตัวผมเอง ก็เจอระเบิดมาแล้ว และข้อมูลต่าง ๆ ก็ยังคลาดเคลื่อนอีกหลายอย่าง ก่อนจะนำมาลงก็ควรศึกษามาก่อนให้ดี
@pnpjs
@pnpjs Ай бұрын
ที่สุดแห่ง คลิป แบทเตอร์รี ❤❤❤👏💯💯💯💯
@pramotevisalnit492
@pramotevisalnit492 6 ай бұрын
LFP discharge/charge อยู่ที่ 0.5/1.0ครับมันเลยมีอายุรอบนานกว่า NMC หากใช้งานในอัตราเดียวกันอายุรอบมันก็พอๆกันนั่นล่ะ nmc ข้อเสียอย่างเดียวที่ควรระวังคือมันลุกไหม้ได้หากใช้งานหรือติดตั้งไม่ถูกวิธี
@tammachaksoongpankhao3460
@tammachaksoongpankhao3460 Ай бұрын
รถไฟฟ้า byd ที่เป็นข่าวใช้แบต lfp ไฟลุกไหม้ทั้งคัน โดนเจ็กหลอกแล้วว่าไม่ติดไฟ
@user-bw3xy2ub1n
@user-bw3xy2ub1n Жыл бұрын
สวัสดีครับผมมีเครื่องเสียงรถยนตdvdของpioneerจอแยก แต่จอเสีย ตัวdvdแปลงเป็นขยายยังไงครับ ขอบคุณครับ
@virojlaohrojkul3844
@virojlaohrojkul3844 11 ай бұрын
ขอบคุณทีทำ clip นี้
@denon3911
@denon3911 9 күн бұрын
นี่แหละ จะเอามาใส่จักรยานไฟฟ้า เลยขอเลือก LFP ดีกว่า แพงเอาเรื่องเหมือนกัน แต่ใช้ยาวๆดีกว่าแบตตะกั่วกรดแหละ
@user-bw3xy2ub1n
@user-bw3xy2ub1n Жыл бұрын
ผมต่อแอมจิ๋ว พอปรับเสียง70+ตัดครับ เสียงตุ๋บๆเป๋นระยะ เบ่าเสียงเปิดใหม่ติด
@soluvan1719
@soluvan1719 Жыл бұрын
ไฟไม่พอครับ ตัวแอมเลยตัด
@user-pr7wu2vd6f
@user-pr7wu2vd6f Жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ
@kluszy
@kluszy Жыл бұрын
แอดครับ มีคลิปแบบนี้อธิบายแบตเตอรี่แบบ BYD มั้ยครับ เห็นว่าเป็น เบลดแบตเตอรี่ ที่ขอให้ทำเพราะ แอดอธิบายเข้าใจง่ายมากครับ ขอบคุณมากครับที่มาให้ความรู้ ขอให้เจริญๆนะครับ
@user-ge9qp2yt4y
@user-ge9qp2yt4y Жыл бұрын
ก็แบบเดียวกันนี่แหละครับ ทำให้บางเฉยๆ เทคโนโลยีแบตเหมือนกัน
@AphoristGen
@AphoristGen Жыл бұрын
BYD มันเป็นยี่ห้อเนาะ
@gokungcu
@gokungcu Жыл бұрын
NMC ในรถไฟฟ้าต่างๆ รอบการชาร์จจะอยู่แถวๆ 1000-2000 รอบเท่านั้นนะครับ ส่วนที่มากกว่า 2000 รอบ จะมี 3 เกณฑ์คือ 1.ใช้แรงดันชาร์จต่ำ 2. ชาร์จเพียง 80%soc 3. ตัวเลขในแลปอยู่ระหว่างการพัฒนาจากผู้ผลิต LFP ในรถไฟฟ้า รอบการชาร์จจะเฉลี่ย 4000-4500 รอบ โดยสามารถใช้แรงดันปกติและชาร์จเต็มแบตได้โดยไม่เสื่อมรวดเร็ว (LFP ที่พัฒนาอยู่ในแลป สามารถสูงถึง 10,000 รอบได้ แต่ยังไม่จำหน่ายเช่นกัน สูงสุดเท่าที่ผู้ผลิตจำหน่ายคือ 7000-8000 รอบเท่านั้น) ถ้าเอาทนๆ เลือก LFP ไปเลย
@user-jz7kv3lj7f
@user-jz7kv3lj7f 8 ай бұрын
ซื้อสว่านไฟฟ้ามา อยู่ได้แค่ 2 ปี แบตเก็บไฟไม่ค่อยอยู่ละ ไม่เห็นมันจะเหมือนกับที่โม้เลย
@user-jz7kv3lj7f
@user-jz7kv3lj7f 8 ай бұрын
ซื้อสว่านไฟฟ้ามา อยู่ได้แค่ 2 ปี แบตเก็บไฟไม่ค่อยอยู่ละ ไม่เห็นมันจะเหมือนกับที่โม้เลย
@siraphatchannel4623
@siraphatchannel4623 Жыл бұрын
แอดครับบบ แอมป์ gemaudio 2.1 ของผมทำไมมันเปิดไม่ติดครับ ทำอย่างไรดีครับช่วยแนะนำคลิปหน้าด้วยครับบ😔 ขอบคุณครับ
@ChakreeSungaoumCK
@ChakreeSungaoumCK 9 ай бұрын
แล้ว คำว่า Ternary NMC มันต่างกับปกติไหมครับแล้วต่างกันยังไง
@sweetmomento2461
@sweetmomento2461 2 ай бұрын
เห็นว่า NMC ถ้ามันช็อต มันอันตรายมากใช่มั้ยครับ เห็นว่าไฟพุ่งเลย มันจริงมั้ยครับว่า LFP ปลอดภัยกว่า
@Dinasuke
@Dinasuke 4 ай бұрын
แปลงเป็น power bank ได้ไหมคะรับ
@Blackdog51223
@Blackdog51223 5 ай бұрын
อธิบายดีเสียงน่าฟังเลยขอกดติดตามครับ
@Tactical_Style1994
@Tactical_Style1994 11 ай бұрын
ถ้าทำ Power box ใช้ LFP 4 ก้อน 50ah ขนานกันแล้วใช้ dc step up เป็น 12v กับ เอา LFP 4 ก้อนอนุกรมกันเป็น 12.8 ผลที่ได้ต่างกันมั้ยครับ เอาไว้ใช้กับพัดลม 12v 15w กับชาร์จไฟ usb ชาร์จมือถือแค่นั้นครับ
@noodledoll7141
@noodledoll7141 3 ай бұрын
เวลาชาร์จต้องใช้แรงดัน3.6 ชาร์จที่0.3c ตั้งใช้กระแส60แอม 😅😅😅
@user-bw3xy2ub1n
@user-bw3xy2ub1n Жыл бұрын
เพราะอะไรแก่ยังไงครับ ขอบคุณครับ
@tanakorntadach6159
@tanakorntadach6159 3 ай бұрын
ถ้ารถยังไม่วิ่งในไทยก้อร้อน 40องศาแล้ว จะวิ่งในไทยจะวิ่งได้หรอครับ
@boum5555
@boum5555 Жыл бұрын
ถ้าใช้โซล่าเซลล์ คิดว่าน่าจะต้องเป็น LFP มากกว่า อันตรายน้อยกว่า เห็นว่ากำลังมีทางเลือกเพิ่มมาอีกคือ แบตโซเดี้ยม ไม่รู้ว่ามีจำหน่ายแล้วหรือยัง ?
@neaynys3647
@neaynys3647 Жыл бұрын
มีแล้วครับใน lazada 26700 3200mAh 18650 1200,1500mAh
@tammachaksoongpankhao3460
@tammachaksoongpankhao3460 8 ай бұрын
อีกหลายปีกว่าชาวบ้านอย่างเราๆ จะได้ใช้ คุณภาพยังต่ำกว่าลิเธียมมาก ถ้าราคาต่ำกว่าลิเธียมครึ่งนึงก็น่าใช้
Best Toilet Gadgets and #Hacks you must try!!💩💩
00:49
Poly Holy Yow
Рет қаралды 23 МЛН
Jumping off balcony pulls her tooth! 🫣🦷
01:00
Justin Flom
Рет қаралды 34 МЛН
Советы на всё лето 4 @postworkllc
00:23
История одного вокалиста
Рет қаралды 5 МЛН
Survive 100 Days In Nuclear Bunker, Win $500,000
32:21
MrBeast
Рет қаралды 148 МЛН
I Built an Atmosphere Powered Battery..
13:00
Concept Crafted Creations
Рет қаралды 652 М.
Where to go next for Off Grid solar cell users and Hybrid Inverter users
28:08
พ่อบ้าน Studio
Рет қаралды 37 М.
Battery 4.0: The Solid State Battery Revolution
14:35
Dr Ben Miles
Рет қаралды 430 М.
Best Toilet Gadgets and #Hacks you must try!!💩💩
00:49
Poly Holy Yow
Рет қаралды 23 МЛН