แบตเตอรี่แรงโน้มถ่วง ถูกกว่าลิเธียมไอออน 10 เท่า จะมาเปลี่ยนอุตสาหกรรมพลังงาน(ได้มั้ย)

  Рет қаралды 141,908

เทค สมาร์ท

เทค สมาร์ท

Жыл бұрын

แบตเตอรี่แรงโน้มถ่วง ที่สามารถกักเก็บพลังงานได้นานเป็นปี นี่เป็นอีกหนึงวิธีของการกักเก็บพลังงานทางเลือกที่มีประสิทธิภาพสูง และมีการสูญเสียพลังงานน้อยมาก ในวิดีโอนี้เรานำเสนอการกักเก็บพลังงานจากแรงโน้มถ่วง พลังงานทางเลือกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และเป็นพลังงานที่ไม่มีวันหมดตราบใดที่โลกเรายังมีแรงโน้มถ่วง เราไปติดตามชมพร้อมกันเ
ยค่ะ
ขอบคุณข้อมูลดีๆจากเว็บไซด์นี้ และคุณผู้ชมสามารถอ่านบทความเต็มได้ค่ะ
www.thaiphysoc.org/article/207/

Пікірлер: 136
@ohno9222
@ohno9222 Жыл бұрын
แนวคิดที่ดีเลยครับ ต้องซื้อแบตเตอรี่ 40,000 บาท เพื่อเปิดแอร์ตอนกลางคืน เราหาปั๊มน้ำ แท้งน้ำ มอเตอร์ปั่นไฟ กลางวันก็ดูดน้ำ กลางคืนก็ปล่อยน้ำปั่นไฟ ใช้แทนแบตเตอรี่
@bnk-ej3jn
@bnk-ej3jn Жыл бұрын
กลางวันไม่อยู่บ้านหรือ ก็ใช้แผงโซล่าเก็บไม่ดีกว่าหรือ ติดตั้งง่ายกว่า แท๊งน้ำ ส่วนใหญ่ ที่เคยเห็น เขาต่อตรงกับแผงโซล่าเพื่อเปิดแอร์กลางวัน
@ThanachoteAbility
@ThanachoteAbility Жыл бұрын
อย่าไฟฟังเขาเยอะ แบตเก็บลูกละ 150k -180k จำเป็นต้องเปลี่ยนทุกปี ปัจจุบันเลิกซื้อแบตแล้วแต่เก็บแผงไว้ช่วยได้คือ แบ่งเบาค่าไฟช่วยที่มีแดดจัดได้ดี และสามารถชาร์ต ไฟส่องสว่างที่มีแบตในตัวได้
@Rin-jk7fp
@Rin-jk7fp Жыл бұрын
ทำคลิปได้ดีมากขอบคุณ
@boon6708
@boon6708 Жыл бұрын
มีประโยชน์มากๆ ค่ะ กด subscribe แล้ว
@39gmsn
@39gmsn Жыл бұрын
ไอเดียดีมากครับ
@earthwaterfw6047
@earthwaterfw6047 Жыл бұрын
แจ๋วมาก
@sarawuthpongsupa5031
@sarawuthpongsupa5031 Жыл бұрын
ดีครับยังไงก็เป็นพลังงานทางเลือก ใช้แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ได้
@jmsssx
@jmsssx Жыл бұрын
เยี่ยมๆ
@korjacks
@korjacks Жыл бұрын
เจ๋ง..งะ..อ่ะ
@nattakitsupakit1602
@nattakitsupakit1602 Жыл бұрын
บ้านเราก็มีคล้ายๆกันนะ โรงไฟฟ้าลำตะคลอง สูบน้ำขึ้น พอจะใช้ก็ปล่อยน้ำลง
@user-bb7pu5cd6f
@user-bb7pu5cd6f Жыл бұрын
ไปถามโทนี่ ว่าเตาปฎิกรณ์อาค ทำยังไง
@chaiyawutj9411
@chaiyawutj9411 Жыл бұрын
พลังงานจากไฟฟ้าแรงโน้มถ่วง ต้องทีค่ามากกว่า พลังงานที่ใช้ยกของไปบนที่สูง กี่เปอร์เซ็น ถึงจะคุ้มค่า ไม่ทราบจริงๆ
@abdulkodayjeloh9468
@abdulkodayjeloh9468 Жыл бұрын
👌👌
@AK-sq5nc
@AK-sq5nc Жыл бұрын
ลงทุนสร้างนิวเคลียร์ฟิวชั่นดีกว่า พลังงานสะอาด ไม่มีกากกัมมันตรังสีเหมือนฟิชชั่นเดิมๆที่เคยมี
@hellopaitoon
@hellopaitoon Жыл бұрын
มันยังไม่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียที่ใช้ได้จริงครับ มีแต่ใช้ในการทดสอบเดินเครื่อง
@Kampol.Ton.Alter.
@Kampol.Ton.Alter. Жыл бұрын
มันยังใช้งานไม่ได้เลยครับ ล่าสุดที่สหรัฐทดลอง ใส่พลังงานเข้าอย่างมหาศาล สิ่งที่ได้ออกมาคือความร้อนสำหรับต้มกาน้ำแค่ไม่กี่อัน
@wanatpongsingpool2730
@wanatpongsingpool2730 Жыл бұрын
นึกถึงหนังเรื่องสไปเดอร์แมนเลยครับ
@walker6348
@walker6348 Жыл бұрын
มีผลกระทบอยู่ดี
@nanatkimta5252
@nanatkimta5252 Жыл бұрын
พลังงานที่ โทนี่สตาร์ค ใช้กับ ไอรอนแมน น่าจะดีกว่านะ มันมีขนาดเล็กแต่ทรงประสิทธิภาพมากกว่านิวเคลียร์
@komolsitpraphantha
@komolsitpraphantha Жыл бұрын
หลักการคือ เอาพลังงานที่เหลือขนทรายขึ้นไปเก็บไว้บนยอดเขา ช่วงไหนต้องการพลังงานเพิ่มเนื่องจากกำลังผลิตไม่พอ ค่อยตักทรายหย่อนลงมา แล้วสลิงไปหมุนเพลา
@Home--DIY
@Home--DIY Жыл бұрын
อัตราการสูญเสียน่าจะครึ่งๆเลย แต่ก็ดีกว่าปล่อยพลังงานเหลือทิ้ง ช่วงที่มันผลิตเกิน ^_^
@Sakon554
@Sakon554 Жыл бұрын
ดีมากเลยเก็บแรงโน้มถ่วงแทนเก็บที่แบตเตอรี่ ....คนเก่งมากจริงๆ
@TanapongPonghanat
@TanapongPonghanat Жыл бұрын
แนวคิดนี้เคยเห็นมานานแล้วนะ ประเด็นคือมันต้องขนาดใหญ่พอสมควร
@suwatsuwat5966
@suwatsuwat5966 Жыл бұрын
คนคิดนี่เก่งมากมาก
@HengSimMong
@HengSimMong Жыл бұрын
เอาไหฟ้าส่วนเกินมาเปลี่ยนเป็นไฮโดรเจนมาเก็บไว้ในถัง ถึงเวลาต้องการใช้ไฟฟ้า ก็แค่เปลี่ยนไฮโดรเจนมาเป็นไฟฟ้า ง่ายกว่าด้วย
@user-pu8ed5uf6v
@user-pu8ed5uf6v Жыл бұрын
นีเป็นงานวิจัยที่ต้องลงทุนต่อนข้างสูงและย้อนยุค
@Panya645
@Panya645 Жыл бұрын
ผมก็นึกว่าใช้แรงโน้มถ่วงแบบวงแวนใช้แรงเวี่ยงกับแรงโน้มถ่วงใแรงเวี่ยงหมุนไปรอบๆหมุนไปในรุปแบบคร้ายแบบสปิงหมุนไปแบบไม่มีที่สิ่นสุดนอกจากจะพังหรือชำรุด
@teomodif6424
@teomodif6424 Жыл бұрын
โลว์เทคแต่ไฮเพอร์ฟอร์มานซ์
@infinitychromeful
@infinitychromeful Жыл бұрын
รอแบตเตอรี่น้ำทะเล
@goodman3457
@goodman3457 Жыл бұрын
☺️..ตอนนี้ไทยก็มี..ดวงอาทิตย์เทียม..ใช้กับน้ำทะเล
@thetwo5559
@thetwo5559 Жыл бұрын
ทำในทะเลไม่ต้องขุด
@Kampol.Ton.Alter.
@Kampol.Ton.Alter. Жыл бұрын
สู้ๆนะ แต่อีกเดี๋ยวมันก็จะไม่จำเป็นต้องกักเก็บพลังงานแล้วล่ะ เมื่อมีระบบที่ผลิตพลังงานได้อย่างไม่จำกัด และผลิตได้ตามความต้องการ
@avatarix2932
@avatarix2932 Жыл бұрын
เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชั่น ยังต้องพัฒนาอีก 2-3 ทศวรรษ กว่าจะเอามาผลิตไฟฟ้าแจกจ่ายให้ประชาชนทั่วไปได้ แต่ ระบบที่ผลิตพลังงานได้อย่างไม่จำกัด และผลิตได้ตามความต้องการ โครงการอันนี้ดูมีความเป็นไปได้มากที่สุดถ้านานาชาติร่วมมือกันสร้าง หรือแค่ Space X ก็น่าจะพอ โซลาร์ฟาร์มบนอวกาศ อเมริกาเป็นคนคิด ตอนนี้จีนเริ่มลงมือทำตามไปก่อนอเมริกาแล้ว (พี่จีนแกก๊อปเก่งจริงๆ) จอห์น แมนดินส์ นักฟิสิกส์อเมริกาที่เคยเป็นหัวหน้าคณะศึกษาวิจัยของนาซ่า เปิดเผยว่า ทางหนึ่งที่จะผลิตไฟฟ้าจากแสงแดดในห้วงอวกาศก็คือการส่ง “ฝูงดาวเทียม” นับหมื่นดวงขึ้นสู่วงโคจร และให้แต่ละดวงเชื่อมโยงกันและกัน อยู่ประจำตำแหน่งที่ฝูงดาวเทียมเรียงกันเป็นรูปกรวย ที่ระดับความสูง 35,400 กิโลเมตรเหนือพื้นโลก แต่ละดวงจะถูกเคลือบด้วยแผงโซลาเซลล์ เพื่อเปลี่ยนพลังงานจากแสงแดดเป็นพลังงานไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าที่ได้จะถูกเปลี่ยนอีกครั้งให้อยู่ในรูปของพลังงานไมโครเวฟ แล้วยิงเป็นลำลงมายังสถานีรับภาคพื้นดิน ซึ่งเป็นศูนย์รวมของเครือข่ายสายไฟฟ้าขนาดมหาศาล ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางถึง 6.4 กิโลเมตร ซึ่งเหมาะที่จะติดตั้งไว้เหนือทะเลสาบหรือพื้นที่รกร้างในทะเลทราย เพื่อเปลี่ยนพลังงานไมโครเวฟกลับไปเป็นพลังงานไฟฟ้าอีกครั้ง และแจกจ่ายไปตามเครือข่ายอีกต่อหนึ่ง แมนคินส์เชื่อว่า ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในอวกาศตามแนวความคิดดังกล่าว จะสามารถผลิตไฟฟ้าได้ราว 2,000 กิกะวัตต์ ได้ต่อเนื่องตลอดเวลา ซึ่งถือเป็นปริมาณมหาศาล เมื่อเทียบกับสถานีไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนพิ้นโลกที่ใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน ที่ผลิตไฟฟ้าได้เพียง 1.8 กิกะวัตต์เท่านั้น อ้างอิง tinyurl.com/2znmzjyh
@Kampol.Ton.Alter.
@Kampol.Ton.Alter. Жыл бұрын
@@avatarix2932 ระบบที่ผมพูดถึงคือใช้พลังงานน้ำ และทำให้อยู่รูปแบบระบบปิดครับ เติมน้ำใส่เครื่องครั้งเดียวผลิตกระแสได้ตามความต้องการ และที่สำคัญสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ทุกที่ แม้กระทั่งใจกลางเมืองหลวงก็สามารถใช้ระบบนี้ได้
@krooeangfisho7142
@krooeangfisho7142 Жыл бұрын
@@Kampol.Ton.Alter. ผมว่าหากม้นทำได้จริงป่านนี้ โซล่าเซล หรือ พลังแรงโน้มถ่วงอะไรตามในคลิป คงโดนคว่ำโปรเจคไปแล้วละครับ หากจะลุ้นเรื่องนี้ ไปลุ้นดวงอาทิตย์เทียมของจีนดีกว่า
@vi_bi
@vi_bi Жыл бұрын
@@Kampol.Ton.Alter. ระบบน้ำวน พลังงานฟรี ใช้ไม่หมด ถ้าคนที่เข้าใจจริงๆ แค่มองก็รู้แล้วครับ สรุปคือ ใช้งานไม่ได้จริงครับ แค่ดูเหมือนใช้ได้เท่านั้น ผมว่า รอลุ้นตามเม้นบนบอก มีทางเป็นไปได้มากกว่าครับ *ผมไม่ได้ว่าอะไรนะครับ แบ่งปันข้อมูลกัน แต่ก่อนผมก็เชื่อแบบคุณนี้ละ พอเริ่มรู้ความจริง ก็ขำตัวเอง555
@user-yy3zz6xy1y
@user-yy3zz6xy1y Жыл бұрын
ถ้าทำได้จริงและพัฒนาไปได้เรื่อยๆตะวันออกกลางจะอยู่ยังไงรายได้ 80%90%ก็มาจากน้ำมันกับก็าซ หรือจะขายแต่อินทผาลัมกับพหรม อูฐแบบสมัยโบราณ
@user-uh4bg4fn4y
@user-uh4bg4fn4y Жыл бұрын
ผมอยากเลี้ยงปลาไหลไฟฟ้าสักแสนตัว.ใว้ชาตแบตเตอรี่.แอดว่ารัฐจะอนุญาตไหมคับ...พลังงานสะอาดด้วย..
@Azathoth-bj4tn
@Azathoth-bj4tn Жыл бұрын
ต้องซื้ออาหารให้มันกินเพื่อแลกกับไฟฟ้านะไม่ใช่ไฟฟรี
@user-kb3ri2jv5n
@user-kb3ri2jv5n Жыл бұрын
ที่รู้ๆ ไทยไม่เอาแน่นอน อาจจะมีนิดหน่อย พลังงานทดแทนขัดผลประโยชน์
@user-nu5ml7ut9f
@user-nu5ml7ut9f Жыл бұрын
แถวปากช่องก็เก็บแบบนี้แหละเก็บไว้ด้วยบ่อน้ำ
@user-kd1fr1bw5g
@user-kd1fr1bw5g Жыл бұрын
เหอๆ ไม่คิดว่าอุปกรณ์เฟืองหมุนฝืด สายเคเบิลมันเสื่อมมั่งหรือไง ยิ่งอยู่กลางแจ้งความเสื่อมของสสารยิ่งเร็ว โดนแดด ลม ฝน ไม่กี่ปีก็สนิมกินแล้ว
@TGHF.993
@TGHF.993 Жыл бұрын
แล้วถ้าผมคิดทำไฟฟ้าจากความว่างขึ้นมาได้นี่คนทั่วๆทั้งโลกก็คงจะงงงงเปนแมวตาแตกเลยหละคับเพาะผมไม่มีความรู้อะไรเลยผมจบแค่ ป 6 เองแต่ผมเสือกทำได้จริงๆหนะคับอาจารเอ้ย😂
@Eligance13
@Eligance13 Жыл бұрын
ได้ยินมาว่า ที่โรงไฟฟ้าเขื่อนลำตะคอง นครราชสีมา นำพลังงานไฟฟ้าส่วนเกินที่ผลิตได้และเหลือใช้เอาไปสูบน้ำจากอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนแล้วไปเก็บน้ำไว้ในอ่างน้ำบนยอดเขาแทน แล้วค่อยปล่อยตามแรงโน้มถ่วงมาหมุนกังหันน้ำผลิตไฟอีกครั้งในภายหลัง
@techsmartthailand
@techsmartthailand Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ สำหรับคอมเมนท์
@Dioxin-qi6jz
@Dioxin-qi6jz Жыл бұрын
ตอนปล่อยแท่งคอนกรีต ให้มันกระแทกผิวน้ำในที่แคบๆ ให้แรงคลื่นกระแทกไปหมุนมอร์เตอร์ไฟฟ้าอีกแรง จะได้มั้ยครับ ทำ2ระบบไปเลย
@user-xl2rq2iu9v
@user-xl2rq2iu9v Жыл бұрын
ได้ไม่ได้มันอยู่ที่ต้องทดลองความคิดมันเป็นจุดเริ่มต้น
@NuclearCellKK
@NuclearCellKK Жыл бұрын
เคยคิดครับ แต่ผมคิดเป็นการสูบน้ำไว้ที่สูง แล้วเอามาปั่นเป็นไฟฟ้า แต่ได้แต่คิดเนื่องจากมันใหญ่โต
@user-is8bj8zu2i
@user-is8bj8zu2i Жыл бұрын
เนี้ยวิศวกรร่วม ออกแบบการสร้างจ้ะ อิอิอิ
@phirompholpatthanaphibool9210
@phirompholpatthanaphibool9210 Жыл бұрын
เเอดขอคลิปแบบ รวมคลิปมาเรย ขอยาวๆไว้ฟังตอนนอน
@techsmartthailand
@techsmartthailand Жыл бұрын
😅🙏
@user-rd2pv5sl6j
@user-rd2pv5sl6j Жыл бұрын
😊😊😊😊😊👍👍
@apisitpoonsawut1391
@apisitpoonsawut1391 Жыл бұрын
มนุษย์ทำได้ทุกอย่างจริงๆ❤🎉อีกพันปีโลกจะเป็นยังไงน๊า
@Amataaaa
@Amataaaa Жыл бұрын
แอด... ขอคลิปแบบ8ชั่วโมงได้มั้ย​ เอาแบบไม่พัก
@techsmartthailand
@techsmartthailand Жыл бұрын
😅😅ขอยอมแพ้ก่อนนะคะ
@predator8940
@predator8940 Жыл бұрын
😂
@nongthongjerm190
@nongthongjerm190 Жыл бұрын
ช่วยลดเสียงที่ลอดออกมาระหว่างซี่ฟันหน่อยก็จะดีนะครับ
@user-bo8pm1qj8v
@user-bo8pm1qj8v Жыл бұрын
รอแบตเกลือก่อน
@avatarix2932
@avatarix2932 Жыл бұрын
เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชั่น ยังต้องพัฒนาอีก 2-3 ทศวรรษ กว่าจะเอามาผลิตไฟฟ้าแจกจ่ายให้ประชาชนทั่วไปได้ แต่ ระบบที่ผลิตพลังงานได้อย่างไม่จำกัด และผลิตได้ตามความต้องการ โครงการอันนี้ดูมีความเป็นไปได้มากที่สุดถ้านานาชาติร่วมมือกันสร้าง หรือแค่ Space X ก็น่าจะพอ โซลาร์ฟาร์มบนอวกาศ อเมริกาเป็นคนคิด ตอนนี้จีนเริ่มลงมือทำตามไปก่อนอเมริกาแล้ว (พี่จีนแกก๊อปเก่งจริงๆ) จอห์น แมนดินส์ นักฟิสิกส์อเมริกาที่เคยเป็นหัวหน้าคณะศึกษาวิจัยของนาซ่า เปิดเผยว่า ทางหนึ่งที่จะผลิตไฟฟ้าจากแสงแดดในห้วงอวกาศก็คือการส่ง “ฝูงดาวเทียม” นับหมื่นดวงขึ้นสู่วงโคจร และให้แต่ละดวงเชื่อมโยงกันและกัน อยู่ประจำตำแหน่งที่ฝูงดาวเทียมเรียงกันเป็นรูปกรวย ที่ระดับความสูง 35,400 กิโลเมตรเหนือพื้นโลก แต่ละดวงจะถูกเคลือบด้วยแผงโซลาเซลล์ เพื่อเปลี่ยนพลังงานจากแสงแดดเป็นพลังงานไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าที่ได้จะถูกเปลี่ยนอีกครั้งให้อยู่ในรูปของพลังงานไมโครเวฟ แล้วยิงเป็นลำลงมายังสถานีรับภาคพื้นดิน ซึ่งเป็นศูนย์รวมของเครือข่ายสายไฟฟ้าขนาดมหาศาล ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางถึง 6.4 กิโลเมตร ซึ่งเหมาะที่จะติดตั้งไว้เหนือทะเลสาบหรือพื้นที่รกร้างในทะเลทราย เพื่อเปลี่ยนพลังงานไมโครเวฟกลับไปเป็นพลังงานไฟฟ้าอีกครั้ง และแจกจ่ายไปตามเครือข่ายอีกต่อหนึ่ง แมนคินส์เชื่อว่า ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในอวกาศตามแนวความคิดดังกล่าว จะสามารถผลิตไฟฟ้าได้ราว 2,000 กิกะวัตต์ ได้ต่อเนื่องตลอดเวลา ซึ่งถือเป็นปริมาณมหาศาล เมื่อเทียบกับสถานีไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนพิ้นโลกที่ใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน ที่ผลิตไฟฟ้าได้เพียง 1.8 กิกะวัตต์เท่านั้น อ้างอิง tinyurl.com/2znmzjyh
@user-is8bj8zu2i
@user-is8bj8zu2i Жыл бұрын
สรุปให้เเล้วเด้อ ทีนี้ก็ไปทำกันเด้อจ้ะหึๆๆๆ
@deadkilling_night6013
@deadkilling_night6013 Жыл бұрын
ว่าแล้วเชียว ใช้วิธีนี้ 555 ไม่ใช่เทคไหม่ แต่มีแนวคิดมาทุกยุคทุกสมัย แค่รอลงมือทำ
@hellopaitoon
@hellopaitoon Жыл бұрын
ทำไมไม่ทำโดยการเก็บพลังงานลมบ้าง
@TON--zk3jx
@TON--zk3jx Жыл бұрын
ควรมีนานแล้วนะพลังงานจากแรงโน้มถ่วง
@user-yw4nt1ds1s
@user-yw4nt1ds1s Жыл бұрын
ต้องสุดยอด​ แน่ๆเลย​ 5554
@user-le4or9el5m
@user-le4or9el5m Жыл бұрын
🙂🙂🙂🙂🙂
@chithaponr.6397
@chithaponr.6397 Жыл бұрын
ใช้แท้งค์ใส่น้ำแทนคอนกรีตก็ได้ครับ
@apichat96
@apichat96 Жыл бұрын
ค่าความหนาแน่นถ้าเทียบปริมาตรแล้วแท่งคอนกรีตมีน้ำหนักต่อ ลบ.ม มากกว่าน้ำครับ น้ำ 1ลบ.ม = 1ตัน คอนกรีตผสมเสร็จ 1ลบ.ม หนักได้เกิน 2ตัน และมวลรูปทรงคงที่ ต่างจากน้ำซึ่งรูปร่างมวลเป็นอิสระ
@user-xk1mn5ov2s
@user-xk1mn5ov2s Жыл бұрын
ทำไมไม่ผลิตไฟฟ้าแบบง่ายๆเหมือนวิธีการค้าหากำไรด้วยการใช้เงินมาต่อเงินละครับอ่านแล้วคงจะ งง ผมกำลังหมายถึงการนำเอาไฟฟ้ามาลงทุนเพื่อผลิตกระเเสไฟฟ้าแต่ได้คืนกลับมามากกว่าถึง 3 เท่าอุปกรณ์มีดังนี้ แผงPV ไฮบริดอินเวอเตอร์ แบตเตอรี่ มอเตอร์ 4 p 220v 2-3hp 1500-2500rpm และเจนเนอเรเตอร์ 500 rpm คุณสามารถสร้าง POWER PLANT น้อยๆใช้ภายในบ้านคุณได้เลยตลอด 24 ชั่วโมง เดือนและปี ได้อย่างสบายๆ
@zizerokub6799
@zizerokub6799 Жыл бұрын
ไม่ต้องใช้ปูนให้เปลืองตังหรอก เพราะสิ่งที่ต้องการเอาไว้เก็บพลังงานก็แค่ของหนักๆ ใช้ถังใส่น้ำถูกๆนี่แหละ เก็บพลังงานจากแสงอาทิตย์ตามบ้านเรือนไว้ใช้ตอนกลางคืน
@user-is8bj8zu2i
@user-is8bj8zu2i Жыл бұрын
และท่อมันก็จะอยู่ใต้ดินนั้นเอง ใช้ลมในส่วนเกินในการผักดันน้ำในแม่น้ำในทะเลเพื่อ ดันน้ำเข้าสู่พื้นที่กสิกรรมได้ด้วย จ้ะ
@user-is8bj8zu2i
@user-is8bj8zu2i Жыл бұрын
ถ้าอย่าจะให้เร่งรึแรงก็จะอัดฉีก แอลกอฮอร์เข้าไปในอุโมงเพื่อ พีกแรงดัน ให้มีกำลัง ในหลายๆเท่าอีก นั้นถือการจุดสปารค์ นั้นเองแบบปืนยิงแอลกอฮอร์ในแรงอัดลม นะเอง
@nuhp9353
@nuhp9353 Жыл бұрын
แรงโน้มถ่วงอะไรไร้สาละเจอ เกลือ น้อยเป็นไง
@asdfjkl4979
@asdfjkl4979 Жыл бұрын
ว่าแต่ทำไมลิฟที่ใช้กันอยู่ ถึงกินไฟทั้งยกขึ้นทั้งปล่อยลงเลยละ? เราจะทำให้มันจ่ายไฟคืนตอนปล่อยน้ำหนักลงได้ไหม?
@apichat96
@apichat96 Жыл бұрын
ลิฟท์ตอนขึ้น-ลงต้องใช้มอเตอร์เกียร์แบบมีเบรกไฟฟ้าควบคุมการปล่อย-หยุด ในแต่ละชั้นขณะมีโหลด นน.คนที่อยู่ในห้องโดยสาร อุปกรณ์ในตู้ควบคุมระบบจะทำงานตลอดทั้งขาขึ้น-ลงและขณะเบรกไฟฟ้าทำงาน ประตูเปิด-ปิด แสงสว่างในห้อง พัดลมระบายอากาศ สัญญาณเสียง ทั้งหมดนี้ล้วนใช้ไฟฟ้าค่อนข้างเยอะเพื่อความปลอดภัยตามกฎหมาย และลิฟท์ที่ใช้งานต้องมีการตรวจสอบตามกฎหมายเสมอ
@suwinaiutorn8360
@suwinaiutorn8360 Жыл бұрын
ไม่ไหวมั้ง น่าจะใช้ได้แค่ในบางบริบทที่จำกัด ใช้วัสดุมากชิ้นสึกหรอบาน ค่าสูญเสียจะเยอะกว่าทำแท้งน้ำยักสูบน้ำไปเก็บแล้วมีหลังคาเป็นโซล่าเซล จะได้ไม่ระเหย แถมใช้พื้นที่เดียวกัน
@user-yt3vx1cm2c
@user-yt3vx1cm2c Жыл бұрын
"แรงโน้มถ่วง" รูปแบบ เป็นนามธรรมเป็นภาพลวงตา.ไม่มีตัวตน ไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้. "มวล"เป็นสิ่งที่มีตัวตน จับต้องได้ สามารถนำใช้ประโยชน์ได้ เช่น ของเหลว1ถังหนัก30Kg.คือแรงโน้มถ่วง30Kg. รถยนต์กระบะ1คันหนัก1,200Kg.คือแรงโน้มถ่วง 1,200Kg.ฯลฯ.หากจะเขียนว่า"แรงโน้มถ่วงแห่งมวล หรือ แรงโน้มถ่วงของมวล"จะดีที่สุด" สามารถนำใช้ประโยชน์ได้ "โรงไฟฟ้าแรงโน้มถ่วงแห่งมวล" พลังงานสะอาด ไร้มลพิษ สามารถนำผลิตพลังงานไฟฟ้าได้.2Mw.380volt, 50Hz.ac.(ใน KZbin เขามีให้ดูกันนะ) และ ยังผลให้ "โลก เย็นลง เย็นลง ทุกวัน ทุกวัน" อีกด้วย.สวัสดีคะ..ขอบคุณคะ.
@bnk-ej3jn
@bnk-ej3jn Жыл бұрын
สรุปสั้นๆ การ เหมือนนาฬิกาใขลาน เปลี่ยน แรงสปริง เป็นแรง ตกของวัตถุ
@auu-klnon-auu2826
@auu-klnon-auu2826 Жыл бұрын
คนคิดก็ช่างคิดเนอะ .. ผมว่าเอาระบบไปพ่วงกับลิฟท์ ผมว่าใกล้เครียงความจริงมากกว่านะ ยิ่งเดี๋ยวนี้ตึกสูงเยอะมาก
@023bourne
@023bourne Жыл бұрын
ไม่น่าเอาไปเทียบกับแบตลิเธียม ข้อจำกัดมันเยอะกว่าตั้งเยอะ
@user-is8bj8zu2i
@user-is8bj8zu2i Жыл бұрын
มันใช้แรงงานกระบอกลมในหล่ายตัว และเป็นสปริงกับ แม่เหล็กที่อัดลูกสูบ และวนเวียนหมุนเวียนสลับกันไปนะ หึๆๆ
@user-sd9mn5im7f
@user-sd9mn5im7f Жыл бұрын
คงไม่มีใครเดินแบกพลังงานแบบนี้ไป-กลับในการใช้ชีวิตประจำวันได้(สำหรับเก็บพลังงานขนาดเล็กและเคลื่อนที่) ซึ่งทำให้ก็ยังต้องใช้แบตเคลื่อนที่แบบเดิมอยู่ และก็มี แบตโซเดียมแทนแบตลิเทียม ไป ซึ่งรูปแบบนี้(ในคลิป) เหมาะกับ ระบบประจำที่ และโครงการขนาดใหญ่ สัก 1 โครงการ 1 เทศบาลตำบล (หรือหมู่บ้านขนาดใหญ่) ทำคู่กัน ดังนี้ 1.โซล่าฟาม/กังหันลมผลิตไฟฟ้า/เขื่อนน้ำผลิตไฟฟ้า เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ในปริมาณไฟฟ้าทั้งหมดที่ใช้ในพื้นที่ภายใน 30 ชม. ต่อเนื่องสูงสุดในแต่ละปี(เกินวันนิดๆให้พอใช้แน่นอน อาจเผื่อ 2 วันไปเลยก็ได้) เอามาคำนวนเพื่อผลิตไฟฟ้าในแต่ละวัน เดือน ปี 2.หาทำเลเหมาะๆ เพื่อ ทำแบตประเภทนี้ เพื่อใช้ตอนที่ผลิตพลังงานไม่ได้ จำพวก -ภูเขา -คลังสินค้า -โรงจอดเก็บยานพาหนะบนหลังคาตึก(ช่วงไม่ใช้งาน//แทนที่จะใช้การขับขึ้นจอดซึ่งใช้พลังงานไปเปล่าๆ) -อื่นๆ ที่คล้ายกัน พวกโรงเก็บวัตถุดิบก่อสร้าง หรือคลังสินค้า น่าจะประยุกต์ใช้ หลังคาติดโซล่าเซลล์ คลังสินค้าอยู่บนตึกหลายชั้น อันไหนจะผลิต/ขาย ก็ส่งลงมาเพื่อสร้างพลังงาน วนไป
@jhaykhongnakhon9966
@jhaykhongnakhon9966 Жыл бұрын
จากแรงโน้มถ่วง คิดว่าเอามาใช้งานจริงไม่คุ้มการลงทุน และไม่คุ้มกับพลังงานที่สูญเสีย ทิ้งดิ่งลงเพื่่อเอาแรงไปปั่นมอเตอร์กำเนิดไฟฟ้า ช่วงทิ้งดิ่งลงไปมันแป๊บเดียวเอง พอตกถึงพื้นก็ต้องเอาพลังงานไปยกมันขึ้นไปเพื่อที่จะทิ้งดิ่งลงมาใหม่
@Krai-et3lz
@Krai-et3lz 10 ай бұрын
เขาเทียบเมื่อต้องเก็บไฟฟ้า ระหว่างแบตแรงโน้มถ่วงกับแบตลิเธี่ยม แบตแรงโน้มถ่วงมันใช้งบน้อยกว่าเมื่อเทียบกับแบตลิเธี่ยม
@workpeaceful9066
@workpeaceful9066 Жыл бұрын
out เยอะ in น้อยฟังดูแปลกๆ555 มาละเรื่มละนะ FreeEnergy เอามอเตอร์ต่อสายพานกับเจนต่อกับ Flywheel นี่หละ FreeEnergyyyy !!!! โครตฮา555 🤣🤣🤣
@rogerover3
@rogerover3 Жыл бұрын
เขาหมายถึงแบตพลังแรงโน้มถ่วง ไม่ใช่free energy แต่เป็นการเก็บพลังงานในรูปแบบพลังงานจล เพราะพลังงานฟรีอย่างแสงอาทิตมันมีข้อจำกัดคือ มันผลิตได้แต่ตอนกลางวัน เขาก็จะใช้พลังงานแสงอาทิตยกของหนักๆขึ้น พอแสงหมดก็จะปล่อยลงมา แต่ที่แน่lossน่าจะเยอะกว่าแบตมาก
@user-dr7zi3tl6d
@user-dr7zi3tl6d Жыл бұрын
เคยคิดอยุ่ นึกว่าบ้าคนเดียว🤔🤔🤔🤔🤔🤔
@siriphonghtconem8642
@siriphonghtconem8642 Жыл бұрын
🤠🤑🤓👍🏽👏🏼👏🏼👏🏼
@user-ou9jz4yx9n
@user-ou9jz4yx9n Жыл бұрын
เก็บผลังงานแสงส่วนเกินไว้ใช้ตอนกลางคืนได้...ซึ่งต้องมีหลายๆระบบทำงานแยกอิสระต่อกันเพื่อที่จะทดแทนพลังงานแสงได้อย่างน้อย50%==ต่อเวลาที่ได้รับพลังงานแสงส่วนเกินในเวลากลางวัน..และจะต้องคายประจุได้ต่อเนื้องจนหมดพลังงานนั้น.... ..ซึ่งจะต้องใช้ร่วมกันพลังงานส่วนเกินจากแรงโน้มถ่วงประเภทน้ำด้วยในเชิงคณิตศาสตร์ของพลังงานที่จะต้องกระจายพลังงานอย่างสมมาตรของเวลาในแต่ละวันตลอด24ชั่วโมง...หรือควรมากกว่า24เล็กน้อย...ตามรูปธรรมของค่าความเฉื่อยของพลังงานแต่ละแบบ...ผมแม่งมั่วชิบหาย55
@user-pk8iv4lr4r
@user-pk8iv4lr4r Жыл бұрын
ทำไมไม่เขามาดูงานที่เขายายเที่ยง
@TeeTat78
@TeeTat78 Жыл бұрын
เหมือน เอา มอเตอร์ สองตัวมา ต่อกันเเล้วเเย่งไฟมันมาใช้อ่ะ สุดท้าย ก็ต้องการ พลัง งาน เติมมัน อยู่ดี เเละ หอคอยนี้ เวลายก เเท่งปูนขึ้นข้างบน ก็ต้องใช้พลังงาน เหมือนเดิม เปล่าประโยชน์ มากอ่ะ555555😆🤣🤣 สุดท้ายก็ใช้ น้ำมัน เพื่อ ยกปูนขึ้นไป เหมือน มีหน้างานเเต่ไม่ได้กำไร ใช้ไฟ ได้เเต่เสีย ทุกอย่าง เลย ผมว่า ใช้ เเผ่นเพลว เทีย มาเเปะใต้โซล่าเซล เอาความร้อนเปรี่ยนเป้นไฟฟ้าไม่ดีกว่าหรอ เเล้ว ใช้ ระบบ น้ำ ระบายความร้อนออก เเบบนี้จะได้ ไฟฟ้า ทั้งเเผ่นเพลวเทียร์ เเละ โซล่าเลย ใช้มอเตอร ไฟฟ้า อันเล้ก ๆกินไฟน้อยๆ ไว้ อัดฉีดน้ำ เพื่อระบายความร้อน เเบบนี้จะ ได้กำลังผลิตไฟฟ้า มหาศาล เลย เพราะ เเผ่น เพลวเทียอัน เล้ก บางมาก ความกว้างเล้กกว่าสมุดโน๊ต อีก เรียกได้ว่า ความกว้างโซล่า เซล 1เเผ่น เอาเเผ่นเพลว เทีย เเปะ ใต้โซล่สเซลได้เป้นสิบๆอันเผลอๆ 50-60เเผ่นเลย 🤣 ถ้าเอาตรงๆ นะ ผมว่า โซล่าเซล ผลิต ไฟฟ้าน้อยกว่าโซล่าอีก เพราะ เพลวเทีย ถ้าเอามาเรียง ความ กว้างเท่าเเผ่นโซล่าเซล จะได้ไฟเยอะมากกกกก ยิ่งอากาศร้อนยิ่งเเรง เเละใต้เเผ่น โซล่าเซล มันร้อนมากก ถ้าเอาความร้อนมาผลิตไฟฟ้าจะดีมาก เเต่ ผมว่า อายุการใช้งาน เพลวเทียต่ำ🤣 เพราะการทำงานมัน ทรหดมาก
@user-di2ze9dn5w
@user-di2ze9dn5w Жыл бұрын
ระบบกักเก็บไม่ใช่ระบบผลิตครับ แยกแยะส่วนนี้ให้ได้ก่อน แต่ระบบนี้ก็ไม่มีประสิทธิภาพในการเก็บอยู่ดีครับ เพราะ cost เยอะ และ Energy lost เยอะเกินไปครับ
@elcronics2038
@elcronics2038 Жыл бұрын
ก็ถูกต้องแล้วนี้ เขาทำแบตเตอรี่ กักพลังงาน ซึ่งก็ต้องเติมให้มันด้วยไฟฟ้า แล้วคายออกมาเป็นไฟฟ้า จะเปล่าประโยชน์ยังไง ส่วนเพลวเทียมันใช้สร้างไฟฟ้า มันกักไฟไม่ได้ ก็ต้องหาแบตมากักอีก คุณสับสนระหว่าง อุปกรณ์สร้างไฟฟ้า กับ อุปกรณที่จัดเก็บพลังงาน
@theaoooooo
@theaoooooo Жыл бұрын
มันเป็นระบบเก็บพลังงาน ไม่ใช่ผลิตพลังงาน คนละเรื่องกันเลย พูดเหมือนฉลาดแต่ตรงข้าม
@bozzalnw5357
@bozzalnw5357 Жыл бұрын
ตอบในฐานะที่เรียนวิศวกรรมไฟฟ้า เพราะอันนี้คือแหล่งกักเก็บพลังงานไงครับ ไม่ใช่แหล่งผลิต โซลาร์เซลล์ผลิตไฟได้แล้วจะเอาไปเก็บที่ไหน ใดๆก็ต้องมีแหล่งกักเก็บพลังงานไฟฟ้าอยู่ดี มันเป็นของคนละอย่างกัน ทดแทนกันไม่ได้ ส่วนแผ่นเพลวเทีย ที่คุณพูดถึง 1 แผ่นขนาด 4 เซน x 4 เซน แค่ 16 ตารางเซนติเมตร เล็กกว่าฝ่ามือ ราคาแผ่นละเท่าไหร่ แผ่นละ 100 บาท แผ่นโซลาร์เซลล์ 500W 1 แผง ราคาประมาณ 6,000 บาท 1 แผง ขนาดประมาณ 20,000 ตารางเซนติเมตร ต้องใช้ เพลวเทียติดใต้ต่อแผง 20,000/16 = 1,250 แผ่น คูณด้วย 100 บาท 125,000 บาท เทียบกับค่าแผงโซลาร์เซลล์แค่ 6,000 บาท แค่นี้ก็น่าจะเห็นความคุ้มค่าแล้วนะ แล้วประเด็นสำคัญคือเพลวเทีย 1 แผ่นผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 50W (ขึ้นกับความแตกต่างอุณหภูมิ 2 ฝั่ง) มีแผ่นเพลวเทีย 1,250 แผ่นควรจะได้ 1,250*50W = 62,500 W แต่ในความจริงแล้วพลังงานโฟตอนดิบจากแสงแดดใน 10,000 ตารางเซนติเมตรเมตร มีแค่ 1,000 W ทำให้ตายยังไง 20,000 ตารางเมตรมันก็ได้แค่ 2,000 W ไม่มีทางได้ 62,500 W หรอก ก็ต้นทางพลังงานแสงมันมีให้แค่นั้น มันเหมือนวิธีฉลาดแต่ไม่เลย
@bnk-ej3jn
@bnk-ej3jn Жыл бұрын
ระบบแรงโน้มถ่วง น่าจะมี อยู่ไก้ลเขื่อน เพื่อใช้พลังน้ำไหลที่หลังจากผ่านไดนาโมมาแล้ว ไป หมุนลอกทดรอบ ดึงแท่นปูนขึ้นไปเรื่อยๆ แล้วค่อยปล่อยลงมาเวลาน้ำแห้ง หรือใช้พลังงาน น้ำขึ้นน้ำลง ทำทุ่นลอยน้ำ ให้รอก แบบแม่แรงดันแท่นปูนขึ้นไปเรื่อยๆทุกวัน แทนที่จะเอาพลังไฟฟ้า มาต่อมอเตอร์ เพื่อให้แท่นปูนขึ้นไป ส่วนไฟฟ้าส่วนเกินจากโซล่าเซล ต่อเข้ากับ เครื่องทำความเย็น เพื่อได้ลมเย็น และผลิตน้ำดื่มจากอากาศ เครื่องทำความเย็นจะดึงความชื้นในอากาศ มาเกาะตามท่อเย็นหยดมาเป็นน้ำสะอาดเหมาะกับแถบ ชายทะเลเกาะ จะได้ทั้งไฟฟ้าจากโซล่าจากไฟฟ้าพลังน้ำขึ้นลงได้ที่เก็บพลังงานไฟฟ้าแบบแรงโน้มถ่วง และได้น้ำสะอาด
@user-ys9kp1xx6t
@user-ys9kp1xx6t Жыл бұрын
เค้าคิดค้นทฤษฎีกันใหม่แล้ว แรงโน้มถ่วงมันไม่มีอยู่จริงครับ
@suwatsuwat5966
@suwatsuwat5966 Жыл бұрын
คนคิดนี่เก่งมากมาก
@nattapolpunpaen2539
@nattapolpunpaen2539 Жыл бұрын
เเรงต้านของมอเตอร์หักล้างกับน้ำหนักของวัตถุที่ติดกับเฟืองหมุนวิธีนี้เครื่องยนต์ทำงานหนักมากครับทำไมไม่รองบารานน้ำหนักในการหมุนเฟืองมอเตอร์🤍
1 or 2?🐄
00:12
Kan Andrey
Рет қаралды 27 МЛН
MEGA BOXES ARE BACK!!!
08:53
Brawl Stars
Рет қаралды 34 МЛН
I wish I could change THIS fast! 🤣
00:33
America's Got Talent
Рет қаралды 88 МЛН
Внутренняя часть бензовозов 😯
0:50
ОМЕГА шортс
Рет қаралды 1,8 МЛН