No video

เฉลย!!8ปี พญาแร้งให้น้ำ/พญาแล้งลักน้ำ พลังงานซ่อนเร้นที่เป็นตัวกำหนดความสำเร็จ

  Рет қаралды 348,237

JUNEJANE TWINS

JUNEJANE TWINS

Күн бұрын

Пікірлер: 588
@user-io6xq6qj4k
@user-io6xq6qj4k 2 жыл бұрын
มันก็เป็นหลักวิทยาศาสตร์ ที่น้องน้องๆ เขาพยายามอธิบาย ให้เข้าใจ ชื่นชมการทำงาน ถึงจะมีอะไรผิดพลาดไปบ้าง เช่นการไหลเวียนของน้ำ มันจะมองไม่ค่อยเห็น แต่น้องๆ ก็พยายามอธิบาย ให้เห็นของหลักการ ทางวิทยาศาสตร์ ชื่นชมครับชื่นชม
@user-vf7cs9cz7z
@user-vf7cs9cz7z 2 жыл бұрын
คุณลักษณะนักวิทย์ครับ
@user-tf6jp2bf5e
@user-tf6jp2bf5e 3 жыл бұрын
ผมเห็นคลิปปฏิเสธเรื่องนี้ส่วนใหญ่ระบบรั่ว ทำระบบมั่ว หรือเปิดน้ำออกเกินน้ำเข้าลมเลยสวนย้อน แต่คลิปนี้น่าจะทำระบบดีมากๆ สุดยอดครับ ถ้าถึงขั้นเปลี่ยนอุณหภูมิอากาศแล้วดูดและดันน้ำได้ ก็ถือว่าระบบสมบูรณ์ดีมากแล้ว ไม่รั่วแน่นอน ในระบบนอกจากทางเข้า-ออกของน้ำ จะต้องไม่มีทางเข้า-ออกอื่นๆของน้ำและอากาศ ถ้ารั่วนิดเดียวจบ จึงเป็นความยากของการทำระบบและการรักษาระบบในระยะยาวของถังเหล็กที่เป็นสนิมได้ และเป็นปัจจัยสำคัญของความสำเร็จ และความล้มเหลว เลย ในคลิปอยากให้เพิ่มสมมติฐาน คือ 1.จริงๆแล้วต้นคิด ใช้สมมติฐานหลัก ไปในเรื่อง แรงดันน้ำระหว่างที่น้ำเข้า-ออกแตกต่าง ซึ่งต้องต่างกันมากพอที่จะดึงน้ำขึ้นที่สูงได้ คำนวนตามสูตร แรงดันน้ำ ปริมาตร×ความสูง×แรงดึงดูดของโลก ที่ท่อดูดและตัวถัง ถึงปลายท่อ ระหว่างปลายท่อดูดและแรงไหลออก เมื่อใส่หัวกะโหลกที่ท่อดูดน้ำไม่ย้อนลง แรงดึงดูดของโลกก็เท่ากัน น่าจะได้สูตร ความต่างแรงดัน =(ปริมาตร1×ความสูง)-(ปริมาตร2×ความสูง2)-แรงอื่นๆที่มีผล เมื่อ 1 คือ ระบบหลัก และ 2 คือท่อดูด ระบบตัวถังแนวนอน จึงได้ผลต่างไม่มาก และอาจมีผลตามที่คลิปบอกจริงๆ หรือระดับปลายท่อเป็นกาลักน้ำไปด้วยต่ำกว่าต้นทาง 2.ถ้าใช้ตัวถังแนวตั้งและใช้การใช้ขนาดท่อต่างกันมากจะมีผลต่อแรงที่เกิดขึ้นสูงมาก ระบบขนาดท่อต้องมีการศึกษาเรื่องขนาดและความยาวดีๆกว่านี้อีก ที่จะสัมพันธ์กับความสูง และขนาดของตัวถังหลักของระบบ 3.ท่อยางจะมีแรงยืดหยุนสูงซับแรงอีกด้วย อยากเห็นหลอดแก้วหรือพลาสติกใส ซึ่งเสมือนจริง 4.ในการจำลองขนาดเล็ก แรงที่เกิดขึ้น จะถูกแรงตึงผิวของท่อและแรงดึงดูดของโลก กลบผลต่างของแรงไปง่ายมาก คลิปที่ทำขนาดเล็กแบบนี้ส่วนใหญ่จะต้องกระตุ้นด้วยการดูดเพื่อให้ระบบเดินได้ก่อน รวมทั้งสัดส่วนความสูงและขนาด ในคลิป ยังไม่เสมือนจริงครับ เพราะสายยางค่อนข้างยาว ทั้ง 2 ด้าน เมื่อเทียบกับด้านดูดกับถัง 200 ลิตร ในคลิปนี้ก็เทียบกับการดูดน้ำขึ้นที่สูงเกือบ 10 เมตร จึงยากที่จะดูดน้ำขึ้นไปได้ รวมทั้งการใช้วาวล์ด้านบนกับหัวกะโหลก เทียบกันไม่ได้ เพราะวาวล์เปิดแล้วกันน้ำไหลย้อนกลับไม่ได้ คนต้นคิด เขาพยายามอธิบายด้วยคำว่าสุญญากาศ ตามความเข้าใจของเขา ซึ่งจริงๆแล้ว คือ การที่ระบบมันจะต้องไม่รั่วนั่นแหละ ส่วนเรื่อง ผลต่างของแรง อยากให้คนทำคลิปลองพิสูจน์ ถังแนวตั้ง กับขนาดของท่อตามนี้ให้ดูสักหน่อยครับ โดยใช้ถังน้ำกินขนาด 20 ลิตร(ที่ยกใส่เครื่องทำน้ำเย็น แบบใสก็มี) แนวตั้ง ห้อย(เพื่อปรับเชือกดูความสูง)/วาง ที่ระดับ 2 เมตร ใช้ท่อ ครึ่งนิ้วในท่อดูดทำองศาสัก 45' เพื่อช่วยเรื่องลดแรง (น่าจะ มีผลตามทฤษฎีหรือแม้แต่ในเครื่องสูบน้ำก็ตามยังช่วยให้สูบน้ำได้ดีขึ้น) ดูด น้ำจากถังที่พื้น ท่อออกใช้ท่อใหญ่ก่อนสัก 10 ซม. แล้วลดเป็นท่อครึ่งนิ้วสัก 20 ซม. มีวาวปิด-เปิด ตัวนี้น่าจะตอบโจทย์ได้ ดูดน้ำได้สูงสัก เกินครึ่งเมตรขึ้นไป ปรับระดับ ทดลองสัดส่วนความสูง-ปริมาณน้ำ ได้ด้วย อยากให้ลองทำ ขนาดนี้ให้ดูกันหน่อย ขนาดทดลองเลยตัวนี้ ลงทุนพอเหมาะใช้งบไม่เยอะ ส่วนแนวตั้ง ถังน้ำมัน 200 ลิตร ขึ้นไป อยากให้ใช้ท่อดูดเข้า 1 นิ้ว(หรือนิ้วกว่าๆ เพราะแรงดูดสูงมาก ถังอาจบี้และความสูงในการดูดอาจต้องศึกษาอีกที หากดูดไม่ขึ้นถังก็บี้อีก) ท่อออก 3นิ้ว ส่วนปลายเปิดเท่าท่อดูดมีวาวล์เปิดไม่สุด(ชดเชยน้ำเข้า ที่เข้าไม่เต็มที่ด้วยมีหัวกะโหลก ไม่เช่นนั้นอากาศจะไหลย้อน หรือใช้ท่อเล็กกว่าไปเลยก็ได้ และต้องค่อยๆเปิดวาวล์เพื่อกระตุ้นให้ระบบค่อยๆเริ่มทำงานซึ่งจะไม่ทำให้อากาศสวนขึ้นไป) ปล่อยไหลลง อ่างเก็บเพื่อนำไปใช้อีกที หากศึกษาสำเร็จจึงจะได้ข้อมูลด้านขนาดและความสูงต่างๆ ในการใช้งานจริง จึงต้องคำนึงถึง ความสูงถังเก็บน้ำใช้งาน+ท่อปล่อยน้ำและระยะห่างจากถังน้ำใช้งาน+ความสูงตัวถัง+ความสูงของท่อดูดส่วนที่สูงกว่าถัง+ความต่างระดับของพื้นที่ในการผันน้ำของระบบกับถังเก็บ =ความสูงรวมในการดูดน้ำของท่อดูด
@user-wq7st6ld8c
@user-wq7st6ld8c 3 жыл бұрын
คุณอธิบายเสริมได้ดีครับ..กาลักน้ำ..ใช้ได้ครับ..ทำได้ครับแต่ต้องมีความรู้เรื่องเทอโมไดนามิกส์..กลศาสตร์ของไหล เป็นเบื้องต้น.ส่วนเวลาและอุณภูมิมีผลไม่มากเท่าไร..สำคัญคือแรงน้ำ.ปริมาตรน้ำและทำให้เป็นระบบปิดไม่มีการรั่วไหลจริงๆสำเร็จ..ส่วนการลักน้ำความต่างศักยของน้ำก็ไม่ต้องใช้มากนักถ้ามากความแข็งแรงก็ต้องมากตามและมีองค์ประกอบอื่นๆก็ต้องมากขึ้นอีก..คร่าวๆๆครับ
@songkransanprom6245
@songkransanprom6245 2 жыл бұрын
คนนี้รู้จริง
@KtIndy-ec8hs
@KtIndy-ec8hs Жыл бұрын
จนทุกวันนี้ไม่มีใครทำขายได้ วันนี้ผ่านมาหนึ่ง เขาเเละคุณทำสำเร็วใช้ได้หารือยัง มันผิดตั้งเเต่ทฤษฎี ปฏิบัติมันก็ผิดตาม เรื่องความต่างอุณหภูมินี้ตัดทิ้งในธรรมชาติอากศเย็นน้ำก็จะเย็นตามช้านิดหน่อย เรื่องใช่เเรงจากน้ำหนักน้ำก็โคตรมั่ว เเทนที่จะดึงน้ำเข้าถังซึ่งน้ำหนักกว่าอากาศ เเละน้ำกับอากาศมันคือสสารที่เปลี่ยนรู้ได้ สู้น้ำที่ปลายท่อออก เเบ่งทางให้อากาศไหลเข้าถังคนละครึ่งไม่ง่ายกว่าหรอ จะไปดูดน้ำเข้าถังที่ต้องใช้พลังมากทำไมธรรมชาติมีรูปเเบบหรือที่เราเรียกว่ากฏธรรมชาติอยู่
@KtIndy-ec8hs
@KtIndy-ec8hs Жыл бұрын
เเรงกิริยาเท่ากับปฏิกิริยา สสารเดียวกันในระดับความสูงเดียวกันจะถูกเเรงโน้มถ่วงกระทำเท่ากันทุกโมเลกุล จึงเกิดเรื่องที่เรรยกว่าระดับน้ำ
@thitiratdireksin4097
@thitiratdireksin4097 3 жыл бұрын
อธิบายดีมากครับ และให้ เกรดA กับผู้ช่วยครับทั้ง2คนครับ ตั้งใจมากๆ และมีพี่ชายที่คอยแนะนำ อย่ามีเหตุผล
@junejanetwins2139
@junejanetwins2139 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ😊🙏🏼
@user-pu4zk5lk6h
@user-pu4zk5lk6h Жыл бұрын
แนวคิดนี้ที่มีมานานมากแล้วครับ น่าจะร้อยปีขึ้นไป และเคยอ่านเจอ ในหนังสือ"ช่างอากาศ"พิมพ์เมื่อปี2508เดือนมีค.ท่านผู้นำเสนอความคิดให้คำแนะนำช่วยระบบด้วยการเสริมปั้มขนาดเล็ก จะประหยัดพลังงานขึ้นมาก แต่คุณอธิบายได้เข้าใจง่ายมาก ร่วมกับศัพท์เทคนิคเสริม ก็ทำให้ผู้ชมเข้าใจดีทุกคนครับ
@rung771
@rung771 2 жыл бұрын
เป็นคริบที่ดีมาก สั่นสะเทือนวงการ พวกนักวิทย์และคนที่จบสูงที่ออกมาบอกว่าเป็นไปไม่ได้คงหง่ายเก๋งแน่ถ้ามาเห็นคริปนี้ แต่ถ้าอีโก้น่าจะเยอะ คงตระหงิดๆน่าดู คริปนี้ไข่ความกระจ่างได้สุดยอด เพราะคนส่วนใหญ่ไปติดคิดว่าต้องไหลเพราะแรงดูดโน้มถ่วง ไม่ได้คิดถึงศูนยากาสที่ดึงน้ำเข้าถัง และไม่ได้สร้างสมดุลสูญยากาสที่ทำให้น้ำไหลเข้าไหลออกได้แบบสมดุลจล ผู้คิดค้นพยาแร้งให้น้ำ(เข้าก็ไม่ได้บอกว่าพยาแร้งลักน้ำ แต่่คนก็ไปต่อสร้อยว่าลักน้ำ) ถ้าคนดูคลิปของเขาแล้ววิเคราะห์ดี จะเห็นเขายกเอาคุณสมบัติของน้ำ องค์ประกอบของน้ำ(H2O) ความดึงความดันและอากาศในถัง การทำฟุ๊ตวามให้สปริงอ่อนพอทำงานได้ การทำถังไม่ให้รั่ว แล้วมีเรื่องความยาวของท่อออก และการระวังไม่ให้อากาศย้อนกลับ และการตั้งชื่อว่าพยาแร้งให้น้ำก็มาจากหลักการทำงานด้วย
@t2t789
@t2t789 2 жыл бұрын
👍ใช่เลยครับ..เห็นด้วยๆๆๆ👏👏
@jackep.1063
@jackep.1063 Жыл бұрын
ใครหงายเก๋งครับ มันใช้งานจริงไม่ได้เลย ต้องถึงกับราดด้วยน้ำเย็นถึงจะเห็นผลที่มันก็แค่ดูดน้ำขึ้นมาได้ในปริมาตรที่เล็กน้อยมาก คนที่เรียนวิชา fluid หรือ thermo มาเห็นเข้า เขารู้คำตอบได้โดยไม่ต้องคิดมากเลย ไม่ว่าจะเป็นระบบดูดน้ำเข้าถังจากการปล่อยน้ำใหลออก หรือดูดน้ำเข้าจากการลดอุณหภูมิในถังเพื่อให้เกิดแรงดูดจากการหดตัวของอากาศและน้ำในถัง ทั้งสองวิธีมัน”ใช้งานจริง”ไม่ได้ทั้งสิ้น
@metheekumruang252
@metheekumruang252 Жыл бұрын
พี่ดูคนละคลิปกับผมหรือเปล่าครับ😅 น้องเจ้าของคลิปเขาอธิบายอยู่ว่าเกี่ยวกับการ หด-ขยาย ตัวของอากาศในถัง ไม่ได้เกี่ยวกับสูญญากาศ
@tititawatpongtawee4956
@tititawatpongtawee4956 Жыл бұрын
มาทำให้บ้างค่ะ
@user-bd7xc1xp8g
@user-bd7xc1xp8g 10 ай бұрын
สงสัยดูคลิปไม่จบ🤣🤣🤣
@ngimbangbuatong2838
@ngimbangbuatong2838 3 жыл бұрын
ถ้าเด็กๆอยากรู้อยากทดลองแบบนี้ ประเทศเราคงมี นวัตกรรมใหม่ๆเพิ่มอีกเยอะเลย
@user-bn1uc6nx9x
@user-bn1uc6nx9x 2 жыл бұрын
เด็กไม่ได้ไปเรียน กระทอมปลดล็อคแล้ว
@user-pp8sd7xp1q
@user-pp8sd7xp1q 3 жыл бұрын
หากคุณจะทำคลิปแบบนี้อีก ผมแนะนำให้เอาสีผสมอาหารไส่น้ำ เพื่อให้มองเห็นง่าย ต่อการทำคลิปนะครับ ทางบ้านก็เห็นชัดด้วย
@domedome7313
@domedome7313 3 жыл бұрын
ผมขอบคุณน้องมากๆเลยคับ..ผมเคยทำและเข้าใจ..แต่ผมไม่รุ้จะอธิบายยังไงให้คนอื่นเข้าใจ..ผมอยากให้นักวิชาการหลายๆคนได้ดูคลิปนี้ที่น้องๆทำ..เพราะมันคือหลักการจิงๆ..สุดท้าย..ขอบคุณน้องๆทุกคนมากๆ...ขอให้เก่งยิ่งๆขึ้นไป..ขอบคุณมากๆ...คับ
@TheHinanchai
@TheHinanchai 3 жыл бұрын
เยี่ยมเลย ตอนแรกก็คิดว่าขัดหลักฟิสิกส์ แต่จริงๆมันทำได้จริง แต่ไม่มีความคุ้มค่าที่จะทำเลย
@suwanmuangsong7725
@suwanmuangsong7725 3 жыл бұрын
ขอบคุณที่ทำคลิปนี้ละเอียดดีครับ แต่พูดเยอะไปก็ทำให้เข้าใจยากเช่นกัน
@user-qq7ox5ju4h
@user-qq7ox5ju4h 2 жыл бұрын
คุณคือผู้ให้ความรู้ ความกระจ่างดีมากครับ หากผมไม่เจอคลิปนี้ ผมจะยังเข้าใจว่า พญาแร้งฯ เป็นเรื่องหลอกลวงอยู่ต่อไป ขอบคุณคลิปดีๆแบบนี้ ขอบคุณน้องทั้งสามคน อยากให้ใครหลายๆคน ได้ดูอย่างผมบ้าง ขอบคุณอีกครั้งครับ
@santikansuwan9183
@santikansuwan9183 2 жыл бұрын
kzbin.info/www/bejne/jmi1nmOefJKtn6c
@t2t789
@t2t789 2 жыл бұрын
มีหลายคนมาก..ที่ชอบพูดว่าลวงโลก (ทั้งๆที่ยังไม่ได้พิสูจน์ทุกแง่มุม)
@KtIndy-ec8hs
@KtIndy-ec8hs Жыл бұрын
@@t2t789 ลวงโลก ในธรรมชาติอุณหภูมิที่จะทำให้อากาศในถังเย็นจนดูดน้ำขึ้นได้ อุณหภูมิน้ำก็เย็นตามไปเเล้ว... อุณหภูมิน้ำที่เขาเอามาเทใส่ขวดนั้นคุณว่าอุณหภูมิเท่าไร นั้นน้ำที่เเช่น้ำเเข็งเลยน่ะ
@arthinanboonsod9847
@arthinanboonsod9847 Жыл бұрын
@@KtIndy-ec8hs เหตุผลของคุณถูกต้องในทางธรรมชาติอุณภูมิไม่ได้เย็นและสูงขนาดนั้นและไม่ได้ร้อนเย็นตัดกันในระยะสั้นๆ มันเป็นไปไม่ได้ในวิธีทางธรรมชาติ นอกจากเราจะหาวิธีสร้างกลไกโกงธรรมชาติโดยทางธรรมชาติ
@KtIndy-ec8hs
@KtIndy-ec8hs Жыл бұрын
@@arthinanboonsod9847 คำว่าโกงธรรมชาติหมายถึงอะไร... โกงหมายถึงไม่ทำตามข้อตกลง ทำนอกเหนือจากกติกา ซึ่งทุกอย่างในจักรวาลนี้ไม่ว่าคนจะทำอะไรหรือคิดค้นอะไรเเละสร้างมันขึ้นมาได้มันก็เพราะกฏของจักวาลทั้งหมด เราไม่สามารถทำอะไรที่ผิดกฏหรือธรรมชาติของจักรวาลได้ เเม้เเต่สิ่งที่คนสร้างขึ้นมาทุกอย่างนั้นก็ล้วนเป็นธรรมชาติของจักวาล การจะทำให้สสารเคลื่อนที่ได้ต้องทำให้สมดุลของสสารนั้นเสียไป ที่เราเรียกมันว่าพลังงาน
@user-qo7so6rk9o
@user-qo7so6rk9o Жыл бұрын
ไม่ผิดหวังที่อุตส่าห์​ดูจนจบคลิป​ มีประโยชน์​ครับ​ขอบคุณ​🥰 ปล.ครอบครัว​น่ารักดี​ดูสนุก👍
@user-lu4gw8gp8r
@user-lu4gw8gp8r 2 жыл бұрын
มันก็ผิดหลักการของพญาแล้งรดน้ำซิครับ เพราะหลักการของเขาที่อธิบายคือ น้ำออกท่อขนาดใหญ่กว่า จำนวนน้ำจึงมากกว่า=หนักกว่าท่อทางเข้าที่มีขนาดเล็ก ซึ่งมีน้ำหนักน้อยกว่าจะถูกดึงมาลงถังทดแทนน้ำที่ใหลออกทางท่อใหญ่ ระบบที่คุณทำว่าใช้ได้ด้วยความต่างของอุณหภูมินั้นมีคนคิดทำได้มาแล้วเป็นร้อยปี มันคือระบบเครื่องยนต์สเตอร์ริง แต่ต้องใช้พลังงานความร้อนเป็นต้นกำลัง ประสิทธิภาพมันต่ำมากจึงไม่เป็นที่นิยมใช้ ถ้าจะสร้างเครื่องที่ทำงาน1กลวัตรใน1วัน ค่าก่อสร้างกับประสิทธิผลที่ได้ มันไม่คุ้มค่าอย่างมหาศาล
@t2t789
@t2t789 2 жыл бұрын
หลักการที่ว่า ของเขา คือของใครครับ?!..ผมว่าน้องเขาอธิบายด้วยเหตุและผล (ได้อย่างชัดเจนแล้วนะครับ)
@teeratajkingkantrakool9044
@teeratajkingkantrakool9044 2 жыл бұрын
แรงดันที่ระดับความสูงของน้ำหากมีระดับความสูงเท่ากันแรงดันจะเท่ากันไม่เกี่ยวว่าท่อเล็กท่อใหญ่ (หาความรู้เพิ่มเติมได้จาก กลศาสตร์ของไหลครับ
@ggcc1325
@ggcc1325 Жыл бұрын
@@teeratajkingkantrakool9044 โง่บรมโง่
@user-jk6bc9qs8e
@user-jk6bc9qs8e 8 күн бұрын
เก่งจัง ทำสำเร็จหรือยัง???
@Pafu33
@Pafu33 3 жыл бұрын
เมื่อ 6 ปีที่แล้ว หมดไปเกือบ 8000 ลองผิดลองถูกทีแรกคิดว่าปลายสายเล็กไปสั้นไป ซื้อมาใหม่อีใหญ่ขึ้นยาวขึ้น หมดเกื่อบ8000 จริงๆ เมียต่อว่ายับ ขอบคุณท่านเจ้าของคนคิดค้นหลักการนี้ขึ้นมาเป็นคนเเรก ที่ท่านทำให้ผมเข้าใจจริงๆว่า มันเป็นไปไม่ใด้ ขายฝัน ขอบคุณนอ้งๆที่ทำคริบให้ชม พี่ดูจนจบเลย
@junejanetwins2139
@junejanetwins2139 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ😊🙏🏼
@TomJerryArkaM
@TomJerryArkaM 3 жыл бұрын
ครูที่ รร. ก็ให้เด็กทำ ทำกันทุกร่น ยังไม่มีรุ่นไหนทำสำเร็จ ป่านนี้ครูคนนั้นมันจะรู้หรือยังว่ามันก็แค่ พญาแร้งลวงโลก
@user-iy6oj6xj2r
@user-iy6oj6xj2r 3 жыл бұрын
8000 ซื้อแผ่นโซล่าเซลล์1แผง ปั้มน้ำ12โวล์ 1"ได้ ได้น้ำมากกว่าพยาแล้งมากมาย
@suthachanadd2133
@suthachanadd2133 3 жыл бұрын
เขาขายถังเป็นขบวนการ
@t2t789
@t2t789 2 жыл бұрын
@@user-iy6oj6xj2r ✅💓น้องเขากำลังพิสูจน์ และไขข้อข้องใจ อธิบายที่มาที่ไป อย่างมีเหตุผล ซึ่งหลายๆคนมาชักชอบพูดว่า.. มันเป็นไม่ได้ มันไม่จริง เป็นการลวงโลก 👉ส่วนใช้แบบไหน คุ้มหรือไม่คุ้ม ถูกแพง (มันคนละประเด็นกันนะครับ)
@user-vu1le8pz8c
@user-vu1le8pz8c Жыл бұрын
ได้ความรู้มากเลยครับ ขอบคุณครับ (เเต่ถ้าเพิ่มสีผสมอาหารลงไปในน้ำ น่าจะทำให้มองเห็นการไหลของระบบได้ดีขึ้นนะครับ)
@user-ux2re3rb5x
@user-ux2re3rb5x 3 жыл бұрын
ออกแบบการทดลองได้ดีเลยครับ เพิ่มเติมการคำนวณปริมาณน้ำที่ได้จริงจากกฎการอนุรักษ์พลัง โดยสโคปถ้าใช้ถัง200l จำนวน1ถังโดยอ้างอิงจากอุณหภมิความแตกต่างมากที่สุดตามสถิติ ให้เห็นความคุ้มค่าที่แท้จริงจะดีมากเลยครับ
@junejanetwins2139
@junejanetwins2139 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ🙏🏼😊
@tomwatsan
@tomwatsan 3 жыл бұрын
มีความพยายามดี ถูกผิดช่างมัน ขอให้ทำ ทำต่อไป ยิ่งบ่อยยิ่งรู้ ดีกว่าไปเล่นเกมส์ มีแบบพวกหนูเยอะๆ อาคิดว่าชาติเจริญกว่านี้แน่นอน
@suwanmuangsong7725
@suwanmuangsong7725 3 жыл бұрын
ทำคลิปดีมากครับเป็นประโยชน์ แต่ผมมีความคิดหรือเห็นต่างเรื่องอากาศที่อยู่ข้างในควรจะมีน้อยที่สุดหรือไม่มีเลยน่าจะดีกว่า เพราะแรงดึงไม่น่าจะมาจากการหดหรือขยายตัวของอากาศภายในถังแต่เกิดจากการแทนที่ของมวลน้ำ ผมคิดว่าหลักการณ์คือห้ามให้มีอากาศเข้าได้ไม่ว่าจะทางใดๆก็ตาม ดั้งนั้นการนำน้ำในถังไปรดผักรดต้นไม้อาจจะทำให้อากาศไหลย้อนเข้าไปได้ วัตถุประสงค์ของพญาลักน้ำน่าจะดูดน้ำในคลองที่ต่ำขึ้นมาใส่ในบ่อเพราะปลายสายท่อน้ำจะจุ่มลงในบ่อซึ่งจะไม่ก่อให้เกิดการไหลเข้าของอากาศ ทั้งนี้ทั้งนั้นเป็นแค่ข้อสมมุติฐาน ถ้าจะดีหากจะทำคลิปการทดลองนี้ให้ได้ดูอีกครั้งครับเพราะมีอุปกรณ์อยู่แล้ว โดยเติมน้ำให้เต็มขวดแก้วแล้วสายยางจุ่มในถังให้ปลายจมน้ำทั้ง2ด้านแล้วน้ำจะไหลต่อเนื่องไม่สิ้นสุดหรือป่าว
@user-gc1pw3se3t
@user-gc1pw3se3t 3 жыл бұрын
ครับเห็นด้วย
@PalmTiamsanit
@PalmTiamsanit 3 жыл бұрын
อีกอย่างคือ ผมเห็นการเข้าใจผิด เรียกหลายๆอย่างว่าสูญญากาศ ถ้าท่านไม่อยู่ในอวกาศ หรือใช้ vacuum pump (แบบเดียวกับใช้ในการติดตั้งเครื่องปรับอากาศก็ได้) แล้วรันไว้นานสัก 30 นาที มันก็ไม่ใกล้เคียงสูญญากาศเลยครับ กำลังที่ต้องใช้ในการเอาปริมาณอนุภาคอากาศออกมาจากท่อหรือถังให้เกือบหมด เพื่อให้เป็นสูญญากาศ มันใช้กำลังเยอะมากครับ ถังเหล็กบางทั่วไปไม่มีทางคงสภาพได้ จริงๆเรียกว่าแค่ความดันต่ำดีกว่า สูญญากาศในอุดมคติ จะดูดน้ำเปล่าที่ระดับความสูงของพื้นที่ทดลองนั้นๆที่ค่าเฉลี่ยระดับน้ำทะเลได้แค่ 10.33 เมตร เท่านั้น (ให้ประมาณความดันอากาศภายนอกคือ 1Atm) ดังนั้นหากเทียบง่ายๆ ไม่มีใครใช้สูญญากาศเพียวๆในการดูดน้ำส่งขึ้นไปสูงได้อย่างไม่จำกัดได้ ต้องมีความดันจากอีกฝากเข้าช่วย
@suwanmuangsong7725
@suwanmuangsong7725 3 жыл бұрын
อย่าอะไรมากเลยครับ คำที่ใช้ผมเชื่อว่าพูดเพื่อให้เข้าใจง่ายไม่ต้องถูกต้องขนาดนั้น วัตถุประสงค์ก็ให้เป็นประโยชน์ต่อคนทั่วไป
@channel-ll5ro
@channel-ll5ro 3 жыл бұрын
คุณ ยังอธิบายให้คนอื่นเข้าใจไม่ได้เลย รู้มาก ก้ไม่ใช่ว่าจะดีไปทั้งหมด จริงมั้ย ดูตัวอย่าง ☝️☝️☝️
@PalmTiamsanit
@PalmTiamsanit 3 жыл бұрын
ตรงนี้เป็นข้อมูลเสริม ฝั่งข้อเท็จจริง เพื่อให้คนที่ไม่รู้จะได้ไม่หลงครับ ปัจจุบันมีคนพูดอนุมานอย่างง่ายเกือบ100%ในทุกคลิป ซึ่งห่างความจริงไปเรื่อยๆ สิ่งที่อันตรายที่สุดสำหรับมนุษย์ที่หนักกว่าความไม่รู้ ก็คือการรู้แบบผิด รู้ผิด นานๆไปก็กลายเป็นเชื่อว่า ผิดๆนั้นเป็นถูก ถูกๆนั้นเป็นผิด ไม่ได้คาดหวังให้ทุกคนต้องเข้าใจครับ ผมคาดหวังแค่คน10%เข้าใจครับ ต้องขออภัยเป็นอย่างสูง
@t2t789
@t2t789 2 жыл бұрын
@@PalmTiamsanit อย่าเป็นห่วงใคร หรือเป็นอะไรจนเกินไปครับ.. 👉ปล่อยให้ทุกคนได้เรียนรู้ ได้พิสูจน์ผิดถูกด้วยตนเอง (ดีที่สุดครับ)
@champit1017
@champit1017 Жыл бұрын
พระพุทธองค์กล่าวว่า ความไม่รู้คือความโง่เขลา จงแบ่งปันความรู้แด่ผู้อื่นด้วยใจบริสุทธิ ถือว่าได้ทำความดีต่อสังคมแล้วครับ
@boltdragon9006
@boltdragon9006 2 жыл бұрын
ถ้าใส่สีไปในน้ำจะดีมาก ภาพรวมนำเสนอได้ดีมาก เยี่ยมมากครับ
@snoopydogxx1
@snoopydogxx1 2 жыл бұрын
ผมชอบครับ อย่างน้อยก็ได้ทดลอง ตั้งสมมุติฐาน ทดลอง แล้วสรุปผล ชัดเจนดีครับแต่การอธิบายบางครั้งก็ งง บ้างแต่ก็กล้าแสดงออกครับ ขอบคุณสำหรับการนำเสนอครับ
@Wilbur7662
@Wilbur7662 3 жыл бұрын
สุดยอดทั้งสามคนเลย!!!!
@langmaew1583
@langmaew1583 11 ай бұрын
ขอชื่นชม​น้อง​ๆที่​มี​ความ​คิด​สร้างสรรค์​
@user-yu5zm6kc4i
@user-yu5zm6kc4i 2 жыл бұрын
สวัสดีครับ.ขอบคุณควารู้ดีฯ.ครอบครัวน่ารักมากครับ
@imoid.hangout
@imoid.hangout 3 жыл бұрын
ผมว่าเป็นเรื่องของ"กฏการแทนที่"ต่างหาก/ น.นของน้ำในถังกดตัวมันเองออกไปปลายท่อ >เมื่อนำ้ไหลออกตัวถังมันสูญเสียแรงดัน มันจึงดูดน้ำใหม่เข้ามาแทนที่ แต่มันจะไม่ดูดน้ำจากท่อออกกลับเข้ามาโดยมีเงื่อนไขคือ..ท่อออกต้องยาวกว่า และใหญ่กว่าท่อดูด( ท่อใหญ่แล้วลดขนาดท่อลงเรื่อยๆจนมีขนาด"เท่ากับท่อดูด"ที่ปลายทาง) เพื่อให้มีมวลในท่อออกมากพอที่จะไม่ถูกกลับ *** ในการทำงานของเครื่องต้นแบบ มันจะดูดและปล่อยน้ำสลับกันตลอดเวลา ไม่ใช่วันละรอบเหมือนอธิบายในคลิปครับ.
@user-jn6eo5bm8r
@user-jn6eo5bm8r 2 жыл бұрын
มันจะเกิดขึ้นแบบนี้ได้เหรอ
@t2t789
@t2t789 2 жыл бұрын
ต้นแบบที่ไหนครับ..ผมเห็นคนส่วนใหญ่ออกมาคัดค้านว่า “ลวงโลก มันเป็นไปไม่ได้”
@user-vf7cs9cz7z
@user-vf7cs9cz7z 2 жыл бұрын
แล้วจะรู้ได้อย่างไรละ ถ้าไม่ทำการทดลองดู ที่อธิบายสมเหตุสมผลคนับน่าศึกษาต่อไป
@user-zb1wy1iv9h
@user-zb1wy1iv9h Жыл бұрын
ผมเห็นด้วยครับ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ไม่ค่อยมีคนส่งเสริมให้ทำหรอกครับ เสียการตลาด
@susa3812
@susa3812 2 жыл бұрын
ใส่น้ำให้เต็มไม่ให้มีอากาศในระบบ ปล่อยน้ำออกส่วนล่างแทงค์ (ที่ต่อท่อน้ำออกที่สูงกว่าแหล่งน้ำเข้า)จะเกิดแรงดูดที่ท่อส่วนบน(ที่ต่อน้ำเข้าจากแหล่งน้ำที่ต่ำ)เข้ามาแทนที่ ไม่ใช้หลักการอุณหภูมิต่างกันนะครับ มันเป็นเรื่องน้ำหนักน้ำในแทงค์เป็นตัวดึงน้ำจากที่ต่ำไปที่สูงด้วนแรงโน้มถ่วงและสัดส่วนท่อน้ำเข้าออกที่เหมาะสมกับการรเกิดแรงดันดูดอัดในแทงค์นะครับ
@user-bt3mn4sm4h
@user-bt3mn4sm4h Жыл бұрын
มีคนเคยทำได้จริงมั้ยครับ ผมภาวนาขอให้มันใช้ได้จริงๆ
@user-bt3mn4sm4h
@user-bt3mn4sm4h Жыл бұрын
ผมก็คิดแบบนั้นเหมือนกันครับ
@worawitpraking1931
@worawitpraking1931 Жыл бұрын
คู้​คู้​
@tongmeeprom9968
@tongmeeprom9968 Жыл бұрын
ผมเห็น​ด้วยกับคุณ
@KtIndy-ec8hs
@KtIndy-ec8hs Жыл бұрын
สมดุลของเเรงธรรมชาติ เรื่องพญาเเล้งลักนำมันใช่ไม่ได้ เพราะทฤษฎีมันมั้ว
@Mrmaidumex
@Mrmaidumex Жыл бұрын
แง่ๆ คลิปนี้ อธิบายดีมากเลยครับ เข้าใจง่าย ชัดเจน แต่คลิปนี้จะเป็นการดับฝันของผมไหมนะ พอดีซื้อของมาเตรียมทดลองบ้างแล้ว แต่ยังตะหงิดๆ นิดนึง ตรงแรงดันจากน้ำหนักของน้ำที่พอมีปริมาตรระดับหนึ่ง จะไม่พอที่จะดึงน้ำได้อย่างต่อเนื่องเลยหรอ ถ้าได้ผลยังไง ถ้าไม่ลืมจะมาอัพเดทอีกที
@thargyiukyawkhin
@thargyiukyawkhin Жыл бұрын
อย่าเสียเวลาเเละเงินครับ ถ้าปากท้อออกสูงกว่าน้ำเข้า ไม่ไหลแน่นอนคับ จิงๆแล้วถังๆถึงๆนั้นไม่ต้องมีก้อได้ ด้วยความวางดีนะคับ
@user-jn6eo5bm8r
@user-jn6eo5bm8r 2 жыл бұрын
ขอบคุณที่ไขข้อข้องใจ..ตอนแรกคิดไปอีกอย่าง คิดว่าน้ำในถังเวลาเปิดข้างล่างความหนักจะถ่วงดึงเอาน้ำจากแหล่งน้ำที่ต่ำกว่าขึ้นมาแทน ซึ่งก้ยังแย้งอยุ่ในใจว่าเป็นไปไม่ได้ พอมาดูคลิบนี้กลายเป็นว่าเป็นเรื่องของการขยายตัวหดตัวของอากาศเมื่ออุณหภมิเปลี่ยนไปโดยดึงน้ำมาแทนที่
@user-os8vd4lh1f
@user-os8vd4lh1f 7 ай бұрын
ผมเคยทำมาแล้วแต่ไม่สำเร็จน้ำมันไหลออกสักพักมันก็หยุดก็คิดว่าม้นไม่ดูดแต่ก็ไม่ได้ทิ้งไว้ตอนกลางคืนที่อุณภูมิอากาศต่ำ...คลิบของคุณมีประโยชน์มากครับทำให้ผมได้เข้าใจของหลักการนี้ขอขอบคุณมากครับ
@user-by4vl9iw7e
@user-by4vl9iw7e 2 жыл бұрын
แม๋อธิบายจนเคลิ่มเลย. มีคู่มือด้วย .นักวิชาการ.ดีๆๆคับ
@ikkyu.9770
@ikkyu.9770 2 жыл бұрын
ตามแบบที่เขาให้ไว้คือน้ำขาออก ท่อจะต้องใหญ่แล้วยาวกว่าท่อน้ำเข้าครับ มันถึงจะมีแรงฉุดน้ำดึงขึ้นตามที่ คนประดิษฐ์เขาทำไว้ การทดลองนี้ยังจำลองไม่ตรงตามแบบที่เขาทำต้นแบบไว้ แบบทดลองในคลิปนี้จึงยังไม่เครียร์ข้อกังขาครับ
@t2t789
@t2t789 2 жыл бұрын
ตามที่เขาให้ไว้..เขาคือใคร ครับ 👉แล้วที่เขาให้ไว้มันใช่ได้ผลไหมครับ.. 👉ถ้ามันไม่ได้ผล ก็อย่าไปเอามาอ้างอิงเลย 👉น้องเขาอธิบายได้อย่างชัดเจนแล้วนะ
@user-ht6th6oz8q
@user-ht6th6oz8q 2 жыл бұрын
ท่อส่วนปลายน้ำหรือท่อส่วนหน่วงน้ำใหญ่กว่าท่อส่วนต้นน้ำ แล้วปริมาณน้ำเข้ามันจะทันน้ำออกเหรอครับ
@user-vf7cs9cz7z
@user-vf7cs9cz7z 2 жыл бұрын
วิธีให้น้ำจากท่อดูดเข้าท่อเล็กและท่อขาออกต้องใหญ่และยาวกว่านั้นมีวิธีปรับให้เท่ากันได้โดยปลายท่อขาออกปรับลดข้อให้เท่ากับท่อขาเข้าครับ
@dilokbunnag4266
@dilokbunnag4266 2 жыл бұрын
อธิบายเข้าใจดีจริงๆครับ
@user-oe1re3cu7f
@user-oe1re3cu7f 3 жыл бұрын
เป็นมหากาพย์อีกเรื่องนึง​ ที่อยู่ในสังคมไทยไปอีกนาน.. แต่ถ้าฝรั่งคงมองข้ามไปแล้ว.. เพราะมันเป็นไปไม่ได้.. ที่จะนำน้ำจากที่ต่ำขึ้นที่สูง.. โดยกลไกธรรมชาติ..ไร้พลังงานใดๆมากระทำเพิ่ม.. แต่คนไทยส่วนใหญ่เรายังล้าหลังในเรื่ององค์ความรู้เหล่านี้​ เรายัง​อยู่ในช่วงเรียนรู้และสงสัย.. จึงยังอยากทดลองกันต่อไป​ คนที่เคยสงสัย​ และเข้าใจได้แล้วก็จะก้าวข้ามไป.. ส่วนคนที่พึ่งผ่านมาเจอใหม่ก็จะสงสัยและเชื่อว่าทำได้.. แล้วจึงอยากทดลองทำให้ เสียทุน​เสียเวลา​ สุดท้ายเสียใจ.. ในที่สุดจึงก้าวข้าม.. อย่างเข้าใจ.. วนลูป อยุ่เช่นนี้อีกนานแสนนาน.. ปล.จากใจ​คนถือกล้อง​ถ่ายคลิปของต้นตำหรับ.. และเคยเชื่อมาก่อน..ท่านที่ยังสงสัย ทดสอบกันต่อไป​ เพื่อให้หายสงสัย​แล้วจึงก้าวข้ามอย่างเข้าใจ.. อย่างน้อยเราก็ได้เรียนรู้..จนเข้าใจ
@user-pe6lp8oo2z
@user-pe6lp8oo2z 3 жыл бұрын
คุณให้ความเห็นได้ตรงใจผมมาก ผมก็คนนึงที่ทดลองแล้ว ยังดีที่หาทำแค่โมเดลเล็กๆ และมีโอกาสได้เห็นคนแถวบ้านทำก็ล้มเหลวเช่นกัน ผมเคยลองน้ำแรงจากน้ำที่ตกลงมาไปทำให้กังหันหมุนและกังหันไปทำให้ปั๊มหมุนตีน้ำกลับขึ้นไป สุดท้ายล้มเหลว อาจจะด้วยความรู้เรื่องกลไกผมน้อย ถ้าเป็นคนที่คำนวนเป็นวิธีที่ผมลองคิดลองทำเล่นๆนี้อาจจะเป็นไปได้ แต่ถ้าหลักการเดิมของพยาแร้งผมก็คิดเช่นเดียวกันกับคุณ ห้ามไม่ได้ก็ต้องปล่อยให้ลองเรียนรู้กันไป
@user-ce5je7gj9y
@user-ce5je7gj9y 3 жыл бұрын
อธิบายเยิ่นเย้อ เข้าใจยาก.
@user-fi5yd6qb2z
@user-fi5yd6qb2z 3 жыл бұрын
ทางสมาคมวิศวกร​รมปรับอากาศ​แห่ง​ประเทศ​ไท​ยก็ออกมายืนยันแล้วว่ามันเป็นไปไม่ใด้ที่จะ.ลำพูนกับเชืยงใหม่ก็โดนดำเนินคดีในข้อหาหลอกลวงประชาชนและนำข้อมูลอันเป็นเท็จเข้าสู่ระบบคอม​พิวเตอร์​คริปนี้ก็อีกคงไม่นานครับเสียตังค์​แถมเสียประวัติอีก
@user-oe1re3cu7f
@user-oe1re3cu7f 2 жыл бұрын
@@user-ce5je7gj9y ระดับความรุ้ความเข้าใจของคนแต่ละคนย่อมไม่เหมือนกันครับ.. ถ้าคนที่รับสารและคนที่สื่อสาร.. มีความรุ้ในเรื่องนั้นๆใกล้เคียงกันก็จะเข้าใจกัน.. องค์ความรุ้ในโลกใบนี้มีมากมาย​ ค่อยเรียนรุ้และศึกษากันไปครับ.. แล้วเราจะเข้าใจมากขึ้น.. ขอแค่เปิดใจกว้าง..
@chanokchonsripuri9586
@chanokchonsripuri9586 2 жыл бұрын
แล้ว "ตะบันน้ำละ
@somjedphonsup2874
@somjedphonsup2874 3 жыл бұрын
ต้องขอขอบคุณน้องทั้ง3มากเลยไม่งั้นหมดเยอะเหมือนกัน ไงก็ต้องเอาโซล่าเซลดีกว่าขอบคุณนะครับ แก้โจทย์ปัญหาอย่างนี้ต่อๆไปนะครับ
@junejanetwins2139
@junejanetwins2139 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ🙏🏼
@peedtech.9115
@peedtech.9115 3 жыл бұрын
ใช้โซล่าเซล หรือกังหันลม ปี๊มตีวเล็กๆ ทำงานตลอดสูบน้ำเข้าถังพัก สบายกว่าเยอะ
@kamonkumton3168
@kamonkumton3168 2 жыл бұрын
นึกถึงประโยคหนึ่ง วิชาของท่านฝึกยากแต่ทำลายง่าย
@daddyhero4670
@daddyhero4670 3 жыл бұрын
ส่วนตัวขอบคุณในความพยายาม แต่อย่าลืมว่า เวลามันเย็น มันเย็นทั้ง ระบบ ทั้งสถานที่ แม่น้ำ ในถัง จนไม่เกิดความต่างครับ อย่างที่บอกในคลิป ยาก แต่ก็ขึ้นได้ และผลลัพธ์ไม่ดี ขอบคุณที่ พิสูจน์ครับ
@navylamp2581
@navylamp2581 2 жыл бұрын
ตามคลิป ปิดวาล์วขาออกอากาศในถังหดดูดน้ำขึ้นเช้ามาไปปิดวาล์วขาเข้าอากาศขยายเปิดน้ำขาออกก็ไหลครับบ
@pramottachachu9572
@pramottachachu9572 2 жыл бұрын
@@navylamp2581 หลักการนี้เป็นไปไม่ได้เลยที่จะเอาไปใช้ อากาศมันหดขยายไม่เยอะ ดูดน้ำขึ้นมาแทนที่อากาศนิดเดียวก็หยุดแล้ว
@user-bk2eq6qx9r
@user-bk2eq6qx9r 3 жыл бұрын
หลักการที่แสดงนี้มันก็ใช่ครับ แต่ปริมาณน้ำที่มันจะดูดน้ำเข้าไปในถังได้ มันก็แค่ไม่กี่ลิตร จะกี่ลิตรก็คำนวณเอาว่าปริมาตรของอากาศในถังทั้งหมดขณะที่อากาศขยายตัวเต็มที่ ลบด้วยปริมาตรของอากาศที่หดตัวเต็มที่แล้ว ถ้าใช้ถัง 1,000 ลิตร เมื่ออากาศหดตัวเต็มที่ มันจะได้ซักกี่ลิตรครับ
@junejanetwins2139
@junejanetwins2139 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ😊🙏🏼
@tinnakonkheowree
@tinnakonkheowree 2 жыл бұрын
มีสมการ คำนวณได้ทุกจุด
@SIAMNEXT
@SIAMNEXT 3 жыл бұрын
เยี่ยมจริงๆ เยี่ยมจริงๆ เยี่ยมจริงๆ มีสมมุติฐาน พิสูจน์ และทำซ้ำได้
@YouTube.pojchana
@YouTube.pojchana 3 жыл бұрын
ชอบคุณที่ไขข้อข้องใจ ผมลองทำอยู่นานมาก ขนน้ำกันหอบแอกๆเลยคับ ไม่สำเร็จคับ
@narongpluemsati6178
@narongpluemsati6178 3 жыл бұрын
พี่ขอบคุณน้อง ๆ มากครับ พี่เชื่อมาตลอดว่ามันทำงานได้ และไม่ใช่มหกรรมลวงโลก การได้มาเห็นการสาธิต ที่น้อง ๆ ทำ มันดีมาก ๆ เลยครับ ประเทศเราจะเจริญอีกเยอะ ท่ามีคนอย่างพวกน้อง ๆ ครับ อ้อ การนอนถังจะทำให้ผิวถังสัมผัสกับแดดได้เยอะกว่าแนวตั้ง และควรทาถังด้วยสีดำ เพราะสีดำจะไว้ต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิครับ
@santikansuwan9183
@santikansuwan9183 2 жыл бұрын
kzbin.info/www/bejne/jmi1nmOefJKtn6c
@t2t789
@t2t789 2 жыл бұрын
💕ผมอีก 1 คนครับที่เชื่อว่ามันเป็นไปได้.. 👉น้องเขาอธิบายได้ดีมาก (มีเหตุมีผล มีที่มาที่ไป)
@user-gy6ji9ku8n
@user-gy6ji9ku8n 8 ай бұрын
ทำใด้ยัง😂😂😂😂😂
@adulkongpechsak1086
@adulkongpechsak1086 3 жыл бұрын
ความดันภายนอกมันเท่ากับความความดันในขวด น้ำจึงไม่ค่อยไหลเข้า ตราบใดที่ยังไม่เปิดน้ำออกจากขวด เพื่อลดความดันในขวดน้ำจะไม่ค่อยไหลเข้า
@coffeedeecafe8314
@coffeedeecafe8314 3 жыл бұрын
นับถือ และชื่นชมน้องๆ ครับ
@pongpongpingping9088
@pongpongpingping9088 3 жыл бұрын
ลองแล้วครับ น้ำที่ออกมา คือน้ำที่เราเติมแหละ ความต่างระดับน้ำในบ่อดูดมีผลนะครับ ไม่ใช่ได้เสมอ ตัวแปลมีเยอะ ครับ ที่บอกท่อทางน้ำออกใหญ่กว่าทางน้ำเข้า ไหลออกพักนึง (น้ำแทนที่ไม่ทัน) แล้วลมสวนเข้าปลายท่อ
@songkransanprom6245
@songkransanprom6245 2 жыл бұрын
ปลายท่อด้านออกต้องทำเป็นข้องอไม่ให้ลมย้อนกลับได้ครับ
@user-lu4gw8gp8r
@user-lu4gw8gp8r 2 жыл бұрын
ไม่ใช่ใหลเข้าไม่ทัน มันไม่ใหลเข้าเลยครับ ถังมันหดตัวเพราะเเรงดันของบรรญากาศภายนอกถังมันกด ถ้าถังไม่บี้ซะก่อน มันจะมีจุดหนึ่งที่ถังรับแรงกดภายนอกได้ก็จะหยุดหดตัว น้ำก็จะหยุดใหลพร้อมกับในถังที่มีแรงดันเป็นลบ ที่พร้อมจะดึงน้ำหรืออากาศจากทุกทางที่ดึงเข้ามาแทนที่ได้ โดยเลือกจากระดับน้ำที่ตื่นที่สุด ก็คือทางออก แต่ถ้าติดที่ระบบที่ทำใว้เเข็งแรงพอ น้ำอากาศใหลย้อนกลับไม่ได้ ไม่มีรูรั่วซึมเลย มันก็จะหยุดใหลด้วยสภาพแรงดันสมดุลของทางเข้าและทางออก
@Hope-ro5ow
@Hope-ro5ow 2 жыл бұрын
มีคณะวิทยาศาสตร์ ม. อะไรจำไม่ได้สรุปไว้ลองไปหาดูครับมีการกำหนดตัวแปรที่แน่นอน
@pramottachachu9572
@pramottachachu9572 2 жыл бұрын
ท่อน้ำออกขนาดใหญ่ต้องลดขนาดที่ปลายท่อลงให้เท่าหรือน้อยกว่าท่อน้ำเข้า
@Hippie.420
@Hippie.420 3 жыл бұрын
คนทำดูทำไม่เป็น แต่คนเม้นนี่อย่างเซียน 🤣🤣 ดูคลิปนี้มาสองรอบแล้ว ผู้ช่วยเจ๋งมากครับ
@SomkidSaelee
@SomkidSaelee 3 жыл бұрын
ใส่สีในน้ำด้วยจะดีมากเลย
@user-xs8et5od3u
@user-xs8et5od3u 2 жыл бұрын
ปกติไม่ค่อยคอมเม้น แต่ทำคลิปออกมา ถือว่าให้ความรู้ได้ดีครับ เป็นกำลังใจให้ครับ
@booms.4812
@booms.4812 2 жыл бұрын
มันคนละหลักการ ควรบอกไปเลยว่าหลักการพญาแร้งให้น้ำใช้ไม่ได้จริง ถ้าจะเอาพลังงานมาจากความร้อนแบบนี้ควรตั้งชื่อใหม่ แล้วถ้าจะเอาพลังงานความร้อนแบบนี้ควรออกแบบให้เหมาะสมกว่านี้เช่นทางน้ำเข้าไม่ควรเจาะสูงน้ำจะไหลเข้าได้ง่ายกว่านี้ เอาจริงๆแล้วผมว่ามันน่าจะใช้ไม่ได้ทั้งสองวิธีแหละ ผมลองตั้งสมมติฐานว่า การทดลองนี้ไม่ได้อิงทุกอย่างเข้าใกล้เคียงความจริง เช่นการใช้อุณหภูมิใกล้เคียงความจริงคือช่วง 20 ถึง 40 องศา แต่ระยะฝั่งขาเข้าระยะไม่ได้ใกล้เคียงความจริงเลยระยะน้ำที่เราต้องการดูดจากบ่อไม่ต่ำกว่า 1 เมตรแน่ๆ เอาง่ายๆคือใส่พลังงานเข้าเท่าเดิมแต่ใส่โหลดน้อยกว่าเดิมแล้วต้องใช้แรงดูดเท่าไรถึงจะดูดน้ำระยะนี้ขึ้นมาได้ คิดว่าความร้อนช่วง 20 องศาไม่สามารถมีแรงพอที่จะดูดน้ำขึ้นมาได้ครับ
@t2t789
@t2t789 2 жыл бұрын
อย่ามีอีโก้สูงเกินไปเลยครับ..เด็กเขาพิสูจน์ให้เห็น และอธิบายได้อย่างชัดเจนที่สุดแล้ว ส่วนมันจะชื่อ ช้างให้น้ำ , อินทรีย์ลักน้ำ หรือ ไก่ กาลักน้ำ(อย่าไปสนเลย)
@booms.4812
@booms.4812 2 жыл бұрын
@@t2t789 แหมท่าน ก็กล่าวหาผมเกินไป โดยที่ยังไม่รู้จักผมเลย คือผมสนใจมากเรื่องพลังงานแล้วผมก็เกือบจะทำตามแล้ว ดีที่ผมดูมาหลายคลิป และไล่อ่านคอมเม้น ของหลายๆท่านที่เขียนไว้ และในเม้นนี้ก็เช่นกันผมก็แค่เสนอความคิดเห็นในสิ่งที่ผมคิดว่ามันน่าจะเป็นไปไม่ได้ด้วยเหตุผลที่ให้ไป และแทนที่ท่านจะตำหนิผมว่ามีอีโก้สูง ในทางสร้างสรรท่านควร หาเหตุผลมาหักล้างในสิ่งที่ผมว่าไปแล้วดีกว่าครับว่ามันไม่ถูกตรงใหน มันจะเป็นประโยชน์มากกว่าครับ
@pranomphaipong2153
@pranomphaipong2153 3 жыл бұрын
ชื่นชมคนทำคลิปครับกระจ่างเสียที
@user-ym1cf4xj3d
@user-ym1cf4xj3d 3 жыл бұрын
สวัสดีครับ เก่ง น่ารักจังเลย สามพี่น้อง
@junejanetwins2139
@junejanetwins2139 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ😊🙏🏼
@RID-gv8vp
@RID-gv8vp 2 жыл бұрын
ดูดกลางคืนปล่อยกลางวัน สรุปในรอบ1วันปล่อยน้ำได้50%ของขนาดถังครั้งเดียว ระดับน้ำออกสูงกว่าเดิมประมาณ10เซนต์ตามที่แสดงให้ดู ข้อแม้ 1น้ำต้องไม่ลึกมาก (ไม่เกิน50เซนต์​เห็น ว่ายกถังช่วยอยู่) 2กลางวันต้องร้อนมากๆ กลางคืนต้องเย็นมากๆ 3ถังต้อง​แข็งแรงไม่บุบบี้หรือพองออกได้
@nilenile9793
@nilenile9793 2 жыл бұрын
กำลังคิดว่ามีหวัง ดูแล้วหมดหวังอีกแล้ว ขุดบ่อลึกไป 4เมตร ต้องสูบน้ำขึ้นมา 4เมตรครึ่ง หมดสิทธิ
@user-vm7lt3vp2f
@user-vm7lt3vp2f 2 жыл бұрын
ขอบคุณมาก ที่พยายามทำให้เข้าใจ
@user-fj8vf9zl9j
@user-fj8vf9zl9j 3 жыл бұрын
ยังใช้จริงไม่น่าจะได้ เพราะนํ้าจะเข้าไปแทนที่ตอนอากาศหดตัวในตอนกลางคืนที่ใช้เวลามากและอุณหภูมิที่ไม่แน่นอน นํ้าที่ได้จะถึง1ลิตร รึเปล่า(ถ้าใช้ถัง200ลิตร)และจะเห็นผลดีน่าจะตอนอุณหภูมิ5-10องศา ถ้าน้อยกว่านี้คงจะเป็นนํ้าแข็งนํ้าก็จะขยายตัวอีก แต่ผมชอบน้องต่อยอดได้ดี
@user-vi2fo9rj9b
@user-vi2fo9rj9b 3 жыл бұрын
ออกความเห็นครับผมดูคลิปพญาแร้งลักนำ้มานานแล้วเพราะเป็นช่างประปาถ้ามีโอกาสจะทำใช้กับระบบการเกษตรตอนนี้กำลังจะไปปลูกต้นไม้ช่วงโควิดระบาดพอดี ผมจะออกความเห็นของระบบพญาแร้งลักนำ้ คือว่าระบบนี้คนที่ค้นคิดเป็นคนแรกๆเข้าใจว่าจะต้องใช้ปริมาตรนำ้ที่ทางออกให้มากกว่าปริมาตรของนำ้ทางเข้า ซึ่งไม่น่าจะไช่การใช้ปริมาตรของอากาศมาบังคับการการไหลของนำ้ ซึ่งระบบนี้จะต้องออกแบบของถังเฮดเดอร์ให้มีความจุของนำ้ให้มากกว่าปริมาตรทางด้านดูดนำ้เข้าอย่างน้อยก็สองเท่าเพราะเวลาเปิดนำ้ไปใช้นำ้ออกเท่าไหรนำ้ก็จะเข้ามาแทนที่เท่านั้น หลักการนี้ที่สำคัญก็คือจะต้องไม่มีจุดรั่วซึมเป็นอันขาดถ้ามีระบบก็ทำงานไม่ได้หรือต้องมาดูระดับนำ้ในถังเฮดเดอร์อยู่บ่อยๆถ้านำ้ลดลงไปก็ต้องเติ่มนำ้ให้ ใครที่ทำแล้วนำ้ไม่ไหลก็แสดงว่าระบบที่ทำมีจุดรั่วซึมจุดใดจุดหนึ่งแน่ๆครับ
@pichitthak853
@pichitthak853 3 жыл бұрын
ผมสงสัยมานานแล้วว่ามันใช้หลักการอะไร กระจ่างสักที ขอบคุณครับ
@aovfriedchicken3943
@aovfriedchicken3943 3 жыл бұрын
สุดยอดเลยครับ ผมก็คิดอยู่นานว่าพญาแล้งให้น้ำทำงานได้ยังไง ลืมนึกถึงอุณหภูมิที่แตกต่างระหว่างกลางวันและกลางคืนเลย ขอบคุณครับ
@songkransanprom6245
@songkransanprom6245 2 жыл бұрын
กาลักน้ำอุณหภูมิไม่มีผลครับมีแค่ความต่างระหว่างด้านดูดกับด้านอก
@jundangconstucchoin
@jundangconstucchoin 6 ай бұрын
เข้าใจขึ้นมากครับดีมากครับ
@user-vz4jz7tw3p
@user-vz4jz7tw3p 3 жыл бұрын
ถูกต้อง เยี่ยมมากครับ
@user-jn7jk1hn2s
@user-jn7jk1hn2s 3 жыл бұрын
ขอบคุณสาระความรู้ครับ
@MrPhantecnic
@MrPhantecnic 2 жыл бұрын
มันดูดได้จริงครับ ถ้าข้างในขวดเป็นสูญญากาศมากพอ มันจะดึงน้ำขึ้นมาจนข้างในขวดมีแรงดันอากาศใกล้เคียงภายนอกขวด แต่มันใช้เป็นระบบสูบน้ำไม่ได้ครับ เราไม่สามสารถเพิ่มสูญญากาศภายในขวดให้ชนะแรงดันภายนอกขวดได้ โดยที่เราจะต้องเปิดวาวล์จ่ายน้ำ เพราะอากาศจะดันเข้าทางวาวล์จ่ายไปในขวด อากาศเบากว่าน้ำสูญญากาศจะดึงอากาศเข้าแทนการดึงน้ำขึ้นมาในขวดหากเราเปิดวาวล์จ่ายน้ำ
@prasrajingam2804
@prasrajingam2804 3 жыл бұрын
ถ้าใช้ถังแบบ200lก็ได้น้ำต่อวันแค่ครั้งเดียวเท่านั้นเอง แต่พยานาคเขาว่าได้ทั้งวันทั้งงคืนคนละหลักการ
@user-ze5zc4tw2q
@user-ze5zc4tw2q 2 жыл бұрын
ถ้าตามหลักการนี้มีทางเป็นไปได้ครับ ดีมากเลยครับ
@user-iy1gj2hc1g
@user-iy1gj2hc1g 2 жыл бұрын
ผมเห็นด้วยกับ ถาวร บุญพิทักษ์ น้องไปทำการบ้านมาใหม่ พูดเหมือนสมาคมวิศวกรรมปรับอากาศเลย ไปทำการบ้านมาใหม่นะน้อง ลองเอามวลน้ำใหญ่กระชากดึงน้ำเล็กลองดู
@yuthtasak
@yuthtasak 2 жыл бұрын
ขอชื่นชมจากใจครับ
@nikonkuama5700
@nikonkuama5700 Жыл бұрын
ดีมากครับเฉลยได้ดีมาก
@nipholarnuphap3847
@nipholarnuphap3847 7 ай бұрын
เป็นเรื่องยากที่จะทำให้เสถียร แรงโน้มถ่วงบวกหลายๆปัจจัย แต่ที่สำคัญสุดคือถ้าไม่ชอบก็ผ่านไม่อยากดูก็ผ่านอย่าถกเถียงเพื่อเอาชนะกันเลยเขาทำคลิปให้ดูก็ดูไปคิดด้วยหล่ะ
@pixaozfiver2302
@pixaozfiver2302 Жыл бұрын
ตอนทำให้ขวดเย็น ถ้าใช้น้ำผสมน้ำแข็งวัดอุณหภูมิให้ได้ 22 องศา แล้วจับขวดลงไปแช่ ให้อุณหภูมิของน้ำและอากาศค่อย ๆ ลดลง น่าจะทำให้ดูง่ายขึ้นและดูเหมือนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงเวลาอากาศเย็นลงในตอนกลางคืน ขอบคุณสำหรับการทดลองครับ
@omgman91
@omgman91 4 ай бұрын
นับถือในความพยายามครับ ❤❤❤
@inphone490
@inphone490 2 жыл бұрын
เก่งมากจ้าาสุดๆไปเลย
@WiwatTanganekchaiwong-vy9jp
@WiwatTanganekchaiwong-vy9jp 9 ай бұрын
ใช้สมการเบอร์นูลลี่(กลศาสตร์ของไหลอธิบายได้ครับ)
@madjo23s
@madjo23s 2 жыл бұрын
นับถือ ความพยายาม, วิเศษมากครับ ชาวบ้าน ทั่วๆไป เข้าใจ ได้ง่าย ใคร ทำ เกษตร น้ำหยด วิธีนี้ น่าสนใจ มาก ช่วยลดต้นทุน ลงทุน ได้ดีมาก ครับ
@ARTcomGG
@ARTcomGG 2 жыл бұрын
ชอบมากครับผมจะได้เอาไปปรับใช้ในนา
@user-ut9ji8te6x
@user-ut9ji8te6x 2 жыл бұрын
เข้าใจไนหลักการ เรื่องอุณหภูมิ แต่แรงดูดเกิดจากความเย็น ที่มดลอง มันใช้น้ำแข็งลาดเลยนะครับ แต่ไนธรรมชาติ จะได้อุณภูมิเย็นขนาดนี้ได้ไหม การทดลอง ควรมีการพิสูตให้แน่ชัด ว่าอุณหภูมิทีจะเกิดแรงดูดที่อุณหภูมิที่เท่าไหร่ และสัมพันกับระดับน้ำที่เท่าไหร่ อิงจากอุณหภูมิไนความเป็นจริงจากธรรมชาติมีความเป็นไปได้ไหม แต่บ้านเราผมคิดว่าควรหาประโยชต์จากความร้อนจะเหมาะกว่า แต่ถึงอย่าไร ก็ให้ความรู้ระดับหนึ่ง ให้กำลังใจน้องๆนะครับ ทำต่อไป เป็นประโยชต์ต่อการพัฒนาครับ..
@user-mk4kh9ii7o
@user-mk4kh9ii7o 3 жыл бұрын
สุดยอดเลยครับพัฒนาต่อไปอีกให้ดีขึ้นไปยิ่งๆๆผู้ใหญ่บ้านเราต้องให้ความสนับสนุนด้วยเป็นกำลังใจให้ครับคนไทยหัวดีไม่แพ้ต่างชาติ
@user-nn1bx9ek7m
@user-nn1bx9ek7m 3 жыл бұрын
เก่งจริงทั้ง4คน ประเทศไทยยังมีหวัง
@user-kh5cy4wj8r
@user-kh5cy4wj8r 28 күн бұрын
ข้อเท็จจริงที่คลิปได้ถ่ายทอดก็ถูกแล้ว แต่ผิดที่อากาศในขวดมากไป พอเกิดสูญญากาศมาทำให้พื้นที่มาก ทำให้เกิดแรงดูดน้อยมาก จึงต้องให้นำ้เต็มขวด จึงสามารถดูดนำ้ขึ้นมาได้สบาย
@SongchaiSaowakon
@SongchaiSaowakon 2 жыл бұрын
คลิปบ้านๆ วิชาการเยอะมากครับ น่ารักดีครับ ขอเสนอแนะเรื่องคำทับศัพท์เยอะครับ ชาวบ้านอาจจะไม่เข้าใจหลายคำ เอาไป 9/10 ครับ
@user-vf7cs9cz7z
@user-vf7cs9cz7z 2 жыл бұрын
ชื่นชมผู้ค้นคว้าครับ ได้หรือไม่น่าสงสัย
@user-nz9pc4uw4o
@user-nz9pc4uw4o 3 жыл бұрын
สุดยอดไอเดีย ครับน้อง
@chaimonkkoltawongsa3252
@chaimonkkoltawongsa3252 2 жыл бұрын
สุดยอดมากครับ
@vitooltiranasawat8541
@vitooltiranasawat8541 3 жыл бұрын
ระบบนี้สมมุติว่ากลางวันอุณหภูมิสัก 40 องศา และกลางคืนเหลือสัก 25 องศา ถ้าใช้ถัง 200 ลิตรจะได้น้ำจากที่ต่ำขึ้นมาใช้ได้วันละกี่ลิตร 10 20 30 40....... คำนวณการลงทุนท่อ+ถัง+วาล์ว+ฟุตวาล์ว นานเท่าไหร่จะได้คืนทุน ถ้าหาสมการนี้ออกมาได้ จะได้ประโยชน์จากการลงทุนทำหรือไม่ เหมือนระบบปั๊มน้ำที่แทนที่จะใช้ปั๊มไฟฟ้าแต่ทำกระบอกพีวีซีออกแบบมาแล้วเอาลมจากคอมเพรสเซอร์เข้ามาสูบน้ำแทนนั้นก็ทำได้ แต่ค่าไฟจากการเดินเครื่องคอมเพรสเซอร์ล่ะเท่าไหร่ การแลกเปลี่ยนพลังงานจากอย่างหนึ่งไปใช้พลังงานอีกอย่างหนึ่งจะมีการสูญเสียพลังงานในการเปลี่ยนเพิ่มขึ้น
@luangtatumbtumb8740
@luangtatumbtumb8740 2 жыл бұрын
ลองไปดูที่อำเภอด่านซ้ายวัดวิปสสนาเนรมิตหลวงพ่อพัน..ดึงน้ำไปใช้บนวัดอย่างมากมาย..ได้อย่างไร?ไมใช้สูบ.
@user-wk7do6zk4o
@user-wk7do6zk4o 2 жыл бұрын
มีแนะนำเริ่ม คลิปเกี่ยวกับ ไม่สวมแมวเพราะอะไร?ด้วย น่ารักมากคะ
@user-vz8hw2bw6x
@user-vz8hw2bw6x Жыл бұрын
สุดจัดปลัดบอก ข้อเพิ่มเติม เปลี่ยนจากราดน้ำเย็น เป็น เจาะกะละมังครอบขวดไว้ แล้วยัดน้ำแข็งแช่ขวดไว้เลย หลักพญาลักน้ำของน้องจะไหลลื่น เอาไป A+ ฟิสิกส์ ชอบมากเรื่องหลักการทำงานอะไรแบบนี้ เพราะผมชอบประยุกต์ DIY เทือกนี้ 😂
@user-ye6ds2jc3u
@user-ye6ds2jc3u 3 жыл бұрын
พอเข้าใจ..มันก็มีหลักการคล้ายๆ เครื่องจักรกลปอนเตอริง ที่ใช้ความร้อน-เย้น ของอากาศเป้นตัวขับกระบอกสูบ...
@junejanetwins2139
@junejanetwins2139 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ😊🙏🏼
@KritsadaAura
@KritsadaAura 3 жыл бұрын
ประเด็นสำคัญคือ กำลังในการการดูดที่เราต้องการให้เกิดทางฝั่งขาเข้า จากแรงที่กระทำให้เกิดขึ้นทางฝั่งขาออก ตัวแปรไม่ใช่อากาศที่อยู่ภายในถัง แต่เป็นความสามารถในการแทนที่ ซึ่งอาจเป็นอากาศหรือน้ำ ว่าทำให้เกิดแรงดึงทางฝั่งขาเข้ามากเพียงใด คือแรงโน้มถ่วงของโลกทำให้เกิดแรงดึง แน่นอนว่าปริมาตรและน้ำหนักของน้ำย่อมมากกว่าอากาศ การไหลเข้าแทนที่ของอากาศจะเกิดขึ้นเร็วมากกว่าน้ำ จากการรั่วซึมในบางจุดของระบบ หรือเกิดกรณีไหลย้อนกลับทางฝั่งขาออก (แนะนำให้ทั้งปลายฝั่งขาเข้าและขาออกจุ่มอยู่ในน้ำตลอดเวลา แล้วทดลองดู) แรงดึงที่เกิดขึ้นจะไม่เวอร์วังเหมือนเครื่องสูบน้ำหรอกอย่าฝัน (มีปัจจัยเรื่องความเฉื่อยประกอบด้วย)ตามหลักการนี้อุณหภูมิที่เปลี่ยนเปลงจะไม่ส่งผลต่อการทำงาน แรงโน้มถ่วงของโลกตางหากที่ส่งผลให้เกิดแรงดึง
@KritsadaAura
@KritsadaAura 3 жыл бұрын
ปัจจุบัน ยังไม่พบวัสดุที่เหมาะสมในการทดลอง มีข้อจำกัดด้านคุณลักษณะของวัสดุ วัสดุบางอย่างรวมแล้วมีราคาแพงมากกว่างานที่ได้ และยังยุ่งยากต่อการดูแลรักษา
@KritsadaAura
@KritsadaAura 3 жыл бұрын
ถ้าอยากประหยัดน้ำมัน หันไปใช้โซลาเซลล์ +ซับเมิรส สัก1แรง แบบรถเข็น ก็โออยู่ ใช้แล้วเก็บไม่ถูกขโมย
@user-cv3xh8gr2j
@user-cv3xh8gr2j 3 жыл бұрын
โลหะ ร้อนเร็ว เย็นเร็ว ดินร้อนข้า เย็นช้า หุ้มด้วยดินที่ชุมน้ำ ห่อด้วยพลาสติดตรงที่ต้องการให้น้ำขึ้น หุ้มด้วยโลหะ บางๆตรงที่ต้องการให้น้ำออก น่าจะได้ผลน่ะ หลานบ่าว ลองทำแล
@junejanetwins2139
@junejanetwins2139 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ😊🙏🏼
@user-gc1pw3se3t
@user-gc1pw3se3t 3 жыл бұрын
ผมดูคลิปวิดีโอนี้จบแล้วก็อดใจไม่สงสัยไม่คอมฯก็คาใจ...ถ้าอุณหภูมิเย็นก็เย็นทั่งระบบ.. ร้อย ก็ร้อนทั้งระบบ .. แล้วจะเกิด...น้ำไหลอย่างทีทดลองหรือ?????
@learn4practice
@learn4practice 2 ай бұрын
เห็นคลิปนี้ผ่านมาหลายรอบ แต่ไม่ดู (ขณะที่หาคลิปเกี่ยวกับการเติมออกซิเจนในบ่อน้ำ) เมื่อเปิดดู ทำให้เข้าใจขึ้นเกี่ยวกับการขยาย-หดตัวของอากาศในเวลากลางคืนกลางวัน ที่มีค.แตกต่างของอุณหภูมิมาก ส่งผลต่อการไหลของน้ำเข้าระบบพญาแร้ง ประทับใจพี่น้องที่ร่วมมือกัน😊 ขอบคุณคุณปาล์ม คุณจูนคุณแจง 🎉🎉🎉 ที่ทำสิ่งประดิษฐ์+ทดลองด้วยความตั้งใจให้เห็นจริงๆ พร้อมกับการอธิบาย ย้ำจุดสำคัญของภูมิปัญญานี้ ย้ำจุดที่พึงระวังเพื่อทำให้สำเร็จ ขอบคุณผู้คิดค้น ผู้เผยแพร่ภูมิปัญญานี้ ตั้งแต่เริ่มต้นทุกท่านด้วยนะคะ
@kbinjas7377
@kbinjas7377 3 жыл бұрын
กล้ามาก เก่งมาก น้องๆของเนติวิทย์
@junejanetwins2139
@junejanetwins2139 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับคำติชมนะคะ😊🙏🏼
@pupankam7790
@pupankam7790 3 жыл бұрын
น้องๆที่ทำการทดลองในคลิปนี้มีสิ่งหนึ่งที่กำผิดหลักการของพญาแล้ง กล่าวคือ สายยางขาออกจะต้องใหญ่กว่าสายยางขาเข้า(สายดูด 1/2"สายขาออกต้องขนาด 3"-4"และต้องยาวกว่าสายดูดน้ำ 5-10เท่าแล้วลดขนาดปลายท่อ สายขาออกให้เล็กลงติดวาร์ว 1/2" กระจายไปตามสถานที่ต่างๆในพื้นที่ ในการกระจายไปนั้นปลายสายทุกตัวจะต้องไม่เชิดขึ้นสูงกว่าถังน้ำพญาแล้งและไม่เปิดวาร์วพร้อมกันความสำเร็จจึงจะเกิดขึ้น อย่าเพิ่งสรุปว่าเป็นไปไม่ได้หากเรายังผิดพลาดอยู่ แก้ไขและทดลองต่อไป
@kaumyimlawmlaiv6198
@kaumyimlawmlaiv6198 3 жыл бұрын
มันไม่ได้อาใสแรงดันน้ำขาออกดืงเพื่อดืงให้น้ำทางขาเข้าเพื่อให้น้ำขื้นมาแต่ว่ามันอาใสตอนกลางคืนอากาดมันย็นลงแล้วอากาดในถังมันจะเกีดการหดตัวแล้วมันจะดูดน้ำขื้นไปในตัวถังแล้วพอตื่นเช้ามาวันไหม่มาเราจะมาเปีดน้ำใช้แล้วน้ำที่เมื่อคืนมันดูดขื้นไปในถังนั้นมันก่อจะไหลออกมาแล้วเราจื่งจะได้น้ำมาใช้ มันทำงานแบบนี้ พอกลางดูดขื้นถังแล้ว กลางวันเปีดน้ำใช้เพราะว่าตอนกลางวันแดดร้อนแล้วทำให้อากาดในถังมันร้อนแล้วจะทำให้อากาดในถังฟองตัวแล้วมันจะดันให้น้ำออกมา
@pupankam7790
@pupankam7790 3 жыл бұрын
@@kaumyimlawmlaiv6198 ถ้ามันเป็นแรงดันของอากาศเย็นดูดน้ำขึ้นเก็บไว้ในถัง ทำไมตอนกลางวันเขาเปิดน้ำได้ทั้งวันน้ำในถังก็ไม่หมด
@santij2004
@santij2004 2 жыл бұрын
เห็นด้วยกับความคิดเห็นนี้ ครับ ผมก็เคยศึกษาเรื่องพญาแล้ง มาหลายปี จนพบว่า สิ่งที่น้องได้ทำการทดลองในครั้งนี้ ผิดหลักการของ พญาแล้ง จึงไม่สามาถทำงานได้ ครับ ควรศึกษาหลักการของ พญาแล้ง ให้ดีก่อน นำมาเผยแพร่ จะดีกว่า นะครับ เรื่องอุณหภูมิ กลางวันกลางคืน มีผลน้อยมาก จนไม่ควรเอามาคิดเสียด้วยซ้ำ หลงประเด็นสิ้นดี ใช้สมมุติฐานส่วนตัว ผิดๆ (ตั้งธงเอาไว้ ผิดหลัการของการทดลองเป็นอย่างยิ่ง) พยายามทำให้เป็นไปตามสมมุติฐานของตัวเอง โดยการสร้าง สภาวะแวดล้อมให้เป็นไปตามต้องการ ลองศึกษา หลัการ ของพญาแล้งดูใหม่ ครับ อย่าหลงประเด็น ภาษาที่ใช้หลายๆ คำ ก็ใช้คำไม่สุภาพ อันนี้ ให้ติดลบ เลย ครับ สรุป พญาแล้ง ใช้งานได้จริง แต่ต้องเป็นไปตามหลักการ ของมัน มีคลิปเยอะแยะให้ศึกษา คลิปนี้ทำให้คนเข้าใจผิดเกี่ยวกับ พญาแล้ง เป็นอย่างยิ่ง จะกล่าวได้ว่าเป็นคลิป "เฮงซวย" ก็ได้ ครับ (ขออภัยที่ต้องใช้คำนี้ มันทนไม่ไหว จริงๆ)
@moviechannelclip4366
@moviechannelclip4366 Жыл бұрын
@@santij2004 แล้วคุณทำได้ใหมครับถ้าทำได้ก็ทำให้ดูหน่อยเห็นว่าศึกษามาหลายปี ถ้าไม่ได้ก็อย่าโชว์โง่ ครับ
@kritthanutruch9158
@kritthanutruch9158 Жыл бұрын
@@santij2004 ให้กำลังใจ กันครับ
@user-cv6pd9vy5e
@user-cv6pd9vy5e 2 жыл бұрын
พึ่งมาเห็นน้องจูน ดีใจมากที่ทำการทดลองดีๆให้ครูได้ดูด้วย 3/9
@junejanetwins2139
@junejanetwins2139 2 жыл бұрын
สวัสดีค่ะ ครูเลนขอบคุณที่เข้ามารับชมนะคะ
@natthapolthongkhundan2932
@natthapolthongkhundan2932 7 ай бұрын
ขอบคุณมากๆ ครับ
@CHAIKRIT101
@CHAIKRIT101 3 жыл бұрын
เป็นทีมงานที่น่ารักมาก
@tonezzzzzzzz
@tonezzzzzzzz 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับการทดลองโดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ครับ ทุกคลิปที่ผมเคยดูจะอ้างหลักการมั่วไปเรื่อย ประมาณว่ามันจะไหลได้ตลอดเวลาโดยไม่ต้องใส่พลังงานเพิ่มเติมเข้าไปในระบบ แต่คุณได้พิสูจน์ให้เห็นว่ามันสามารถทำงานได้จริงโดยใช้พลังงานที่ได้จากความแตกต่างทางอุณหภูมิระหว่างเวลากลางวันและกลางคืน (และสำคัญมากคือต้องไม่มีรอยรั่ว) อยากให้บ้านเรามีคนที่คิดและทดลองทำโดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์แบบนี้เยอะๆ ครับ
@user-qn8pm1nq4h
@user-qn8pm1nq4h Жыл бұрын
ชัดเจน ขอบคุณครับ
@santij2004
@santij2004 2 жыл бұрын
ผมก็เคยศึกษาเรื่องพญาแล้ง มาหลายปี จนพบว่า สิ่งที่น้องได้ทำการทดลองในครั้งนี้ ผิดหลักการของ พญาแล้ง จึงไม่สามาถทำงานได้ ครับ ควรศึกษาหลักการของ พญาแล้ง ให้ดีก่อน นำมาเผยแพร่ จะดีกว่า นะครับ เรื่องอุณหภูมิ กลางวันกลางคืน มีผลน้อยมาก จนไม่ควรเอามาคิดเสียด้วยซ้ำ หลงประเด็นสิ้นดี ใช้สมมุติฐานส่วนตัว ผิดๆ (ตั้งธงเอาไว้ ผิดหลัการของการทดลองเป็นอย่างยิ่ง) พยายามทำให้เป็นไปตามสมมุติฐานของตัวเอง โดยการสร้าง สภาวะแวดล้อมให้เป็นไปตามต้องการ ลองศึกษา หลัการ ของพญาแล้งดูใหม่ ครับ อย่าหลงประเด็น ภาษาที่ใช้หลายๆ คำ ก็ใช้คำไม่สุภาพ อันนี้ ให้ติดลบ เลย ครับ สรุป พญาแล้ง ใช้งานได้จริง แต่ต้องเป็นไปตามหลักการ ของมัน มีคลิปเยอะแยะให้ศึกษา คลิปนี้ทำให้คนเข้าใจผิดเกี่ยวกับ พญาแล้ง เป็นอย่างยิ่ง จะกล่าวได้ว่าเป็นคลิป "เฮงซวย" ก็ได้ ครับ (ขออภัยที่ต้องใช้คำนี้ มันทนไม่ไหว จริงๆ)
@mossmodify3667
@mossmodify3667 2 жыл бұрын
ผมว่าคลิปนี้เขาทำอธิบายได้ดีนะครับ ผมเคยลองศึกษาคลิปที่มีผู้อบรมอธิบายต่างๆนาๆไม่มีหลักการทางวิทฯเลย สอนวิธีทำโน่นนี่ แต่ไม่มีคนทำตามได้แพร่หลายเลย
@raimanowsepen1777
@raimanowsepen1777 3 жыл бұрын
หลักการเดียวกับสเตอลิงเลยนิครับ
@wichitst4673
@wichitst4673 Жыл бұрын
ต้องนึกถึงความคุ้มค่าสะดวกสบาย ตามชนบทติดปั้มโซล่าเซลกันหมดแล้วครับ อีแร้งลูกสูบมันชักช้าเหลือเกินวันละครั้ง
@chayapanya
@chayapanya 2 жыл бұрын
อธิบายเยิ่นเย้อ ไม่เน้นประเด็นให้น่าสนใจ ภาพไม่ชัดเจนเพราะกล้องไกลไป และฉากหลังขาว น้ำก็ไม่ใส่สี สิ่งเหล่านี้ครั้งหน้าต้องแก้ไขปรับปรุงต่อไป แต่ขอชื่นชมที่เด็กๆสนใจและกล้านำเสนอเรื่องที่สร้างสรรค์ ทำต่อไปนะอย่าเพิ่งเน่า
@paraminneranon5577
@paraminneranon5577 2 жыл бұрын
เยี่ยมครับ ขอบคุณครับ
Фейковый воришка 😂
00:51
КАРЕНА МАКАРЕНА
Рет қаралды 4,6 МЛН
나랑 아빠가 아이스크림 먹을 때
00:15
진영민yeongmin
Рет қаралды 14 МЛН
The FASTEST way to PASS SNACKS! #shorts #mingweirocks
00:36
mingweirocks
Рет қаралды 12 МЛН
王子原来是假正经#艾莎
00:39
在逃的公主
Рет қаралды 25 МЛН
ปั้มน้ำพลังงานฟรี (กาลักน้ำ)
20:39
ลื้อได้ ซ่อมไม่ได้
Рет қаралды 2,1 МЛН
อยากรู้จักตะบันน้ำกุ๊กไก่จัดให้
31:24
กุ๊กไก่ บรรลัยการช่าง
Рет қаралды 241 М.
พญาแร้งให้น้ำ Part 1
22:32
kppproject
Рет қаралды 650 М.
Build a hydraulic pump | ram pump building (Full Movie)
33:30
Tradisional Channel
Рет қаралды 8 МЛН
เครื่องสูบน้ำพญาแร้ง ALRO Snogkhla
19:01
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินสงขลา
Рет қаралды 1,1 МЛН
พญาแร้ง
12:31
ไอเดีย อีสาน
Рет қаралды 164 М.
Фейковый воришка 😂
00:51
КАРЕНА МАКАРЕНА
Рет қаралды 4,6 МЛН