CPU แห่งอนาคต!! เร็วกว่าเดิม 1000เท่า! ทำได้จริงแล้ววันนี้!!

  Рет қаралды 206,959

TechOffside

TechOffside

Күн бұрын

CPU แห่งอนาคต!! เร็วกว่าเดิม 1000เท่า! ทำได้จริงแล้ววันนี้!!
โดยปกติแล้ว CPU จะใช้อิเล็กตรอนเป็นตัวกลางในการส่งข้อมูลระหว่างทรานซิสเตอร์เนื่องจากอิเล็กตรอนเป็นประจุไฟฟ้า จะทำให้เกิดความร้อนเมื่อเจอกับแรงต้านทานในตัวกลางอย่างทองแดงในแผงวงจร
ทีมนักวิจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีไอนด์โฮเฟิน (TU/e) สามารถสร้างโลหะผสมซิลิคอนเจอร์เมเนียมอัลลอยด์ โครงสร้างผลึกหกเหลี่ยมที่ยังไม่มีความสามารถในการเปล่งแสง ในปี 2015 และสามารเปล่งแสงได้ในปี 2020 หากใช้แสงที่ใช้โฟตอนเป็นตัวกลางแทนการใช้อิเล็กตรอน จะทำให้ไม่มีปัญหาเรื่องแรงต้านทาน เพราะโฟตอนเป็นแสงไม่มีทั้งมวลและประจุ ทำให้ CPU ไม่ร้อน ทำงานได้เร็วขึ้น 1,000 เท่า
และให้อนาคต ทีมวิจัยจะต่อยอดสร้างซิลิคอนที่ใช้เลเซอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล ที่ทำให้ CPU ทำงานเร็วยิ่งขึ้นไปอีกด้วย!!

Пікірлер: 446
@somsakpongpan5126
@somsakpongpan5126 4 жыл бұрын
ชอบหน้าหลามดักทางเกรียนคีย์บอร์ดห้ามด่าห้ามว่าสุดท้ายห้ามรู้เยอะถ้ารู้ให้ถ่ายรูปมาเป็นไงล่ะได้ผลซะด้วย👍👍🤣🤣🤣
@user-dc9to4hd9u
@user-dc9to4hd9u 4 жыл бұрын
น้า
@muhammadhisampala
@muhammadhisampala 4 жыл бұрын
ผลงานไม่มี มีแต่ผลโม้ครับพวกเนี่ยะ
@PATalentino
@PATalentino 4 жыл бұрын
พี่หลามเข้าใจถูกแล้วครับ มีแก้นิดๆหน่อยๆตรงที่ 1:30 ไส้ในของ CPU เอง จะไม่ได้ใช้ทองแดงเป็นตัวกลางนำสัญญาณไฟฟ้าอยู่แล้วครับ แต่เค้าใช้ซิลิกอนในตัวมันนั่นแหละครับ แล้วยิ่งลายซิลิกอนทำให้เป็นสายนำสัญญาณเลย นอกนั้นขอชมที่พี่หลามทำการบ้านมาดีครับ
@bomberman206
@bomberman206 4 жыл бұрын
Patiparn Aramwanid น่าจะหมายถึงกระบวนการทำจุดสัมผัส Ohmic contact กับ Metalization process นะครับที่จะเป็นโลหะ เพื่อเชื่อมต่อ Gate, Drain, Source ของ MOS transister ไปยังจุดอื่นๆ ถ้าเป็นจุดที่เป็น Substrate เดียวกัน อันนั้นก็จะเป็น Silicon เนื้อเดียวกันครับ
@user-dl5zd1vz8d
@user-dl5zd1vz8d 4 жыл бұрын
ขอแก้คำผิดให้นิดนึง ซิลิคอนเป็นธาตุตัวนึงอยู่ในหมู่ 4 เป็นส่วนประกอบที่ใช้ในการทำสารกึ่งตัวนำที่อยู่ภายในอุปกรณ์ต่างๆ เช่นทรานซิสเตอร์ พูดง่ายๆคือซิลิคอนเป็นสารที่ใช้ผลิตทรานซิสเตอร์ใน CPUและใน CPU ก็มีทรานซิสเตอร์เล็กๆหลายล้านอันในนั้น
@patkung8673
@patkung8673 4 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ🙏😲
@sprzgaming5772
@sprzgaming5772 4 жыл бұрын
เก่งนักหรอทำคลิปดิ ผลิตเองเลยดิ
@sprzgaming5772
@sprzgaming5772 4 жыл бұрын
@@user-dl5zd1vz8d หยอกๆ
@user-dl5zd1vz8d
@user-dl5zd1vz8d 4 жыл бұрын
@@sprzgaming5772 ครับบ
@roseteam456
@roseteam456 4 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@99computerit13
@99computerit13 4 жыл бұрын
ชอบพี่หลามมากครับ ขยายให้ อีกนิดครับ ผมมีความรู้ทางด้านอิเล็กครับเรียนจบมา อิเล็กตรอน คือประจุไฟฟ้า ลบ คุณสมบัติทางด้านกำลังศูนเสียคือ ยิ่งเดินผ่านความต้านทาน ของ สารตัวนำ (ซิลิก่อน กับ เจอมันเนี่ยม) มีความตาน ทานมากเท่าไดความร้อนยิ่งเยอะ เป็นเหตุผลทำไมเราต้องทำให้ ขนาดทรานซิสเตอเล็กลง ตอนนี่น่าจะได้ 7 นาโนเมตร ส่งผลให้ความร้อนลดลงจึงเล่งความถี่ได้อีกหลายGHZ ต่อ คอร์ แต่ถ้าใช้แสง โฟตรอน กำลังศูนเสียความร้อนจะไม่มี ทำให้ เราเร่งความเร็วได้เลย และเเสงเร็วกว่าอิเล็กตรอน 1000 เท่า อิอิ
@YellowpagesStories
@YellowpagesStories 4 жыл бұрын
สุดยอดเลยคับ แนวคิดนี้ไม่เคยนึกถึงเลยครับ แต่ถ้าทำได้จริง ยุคแข่งขันทำความเร็วของ Processor unit จะกลับมาอีกรอบแน่นอนคับ เพราะตอนนี้อะไรๆก็ดูเหมือนมาถึงคอขวด ทางตันกันหมดเลยคับ
@dogaudy5743
@dogaudy5743 4 жыл бұрын
อธิยายได้เข้าใจง่ายดีครับ ไม่มีใครรู้เรื่องซับซ้อนของ CPU จริงๆหรอกครับ มีแต่พวกอวดรู้ อธิบายได้ขนาดนี้ถือว่าทำการบ้านมาดีมากครับ
@PorWalkerStudio
@PorWalkerStudio 4 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ใหม่ๆครับ ขออธิบายเกี่ยวกับความรู้ด้านไฟฟ้าสนับสนุนคลิปพี่หลามครับ คือเวลาไฟฟ้ามันเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยผ่านวัสดุที่นำไฟฟ้า เช่น โลหะ เป็นต้น มันจะต้องใช้พลังงานในการดันให้อิเล็กตรอนวงนอกสุดหลุดออกไปครับ เมื่ออิเล็กตรอนตัวเดิมหลุดไปแล้ว มันก็จะเกิดการแทนที่ขึ้นมาด้วยอิเล็กตรอนตัวใหม่ ซึ่งหลักการคล้ายๆ กับการต่อแถวซื้อของ เมื่อคนแรกจ่ายตังค์เรียบร้อยแล้วและออกไป ก็จะมีคนใหม่เข้ามาแทนที่ในจุดเดิม และจะเป็นอย่างนี้ไปเรื่อยๆ ตราบใดที่ยังมีพลังงานเพียงพอในการดันอิเล็กตรอน(ที่เรียกว่าแรงดันไฟฟ้า) และกระบวนการนี่เองที่ทำให้เกิดความร้อนเพราะการเปลี่ยนรูปพลังงานจากพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน และยิ่งมีตัวนำไฟฟ้ามากเท่าไหร่ก็ยิ่งทำให้เกิดความร้อนขึ้นเท่านั้น CPU ถึงได้มีราคาที่สูง เพราะกระบวนการผลิตต้องคำนึงถึงการลดอุณหภูมิ การประหยัดพลังงาน และความเร็วที่มากขึ้นยิ่งๆ ขึ้นไปนั่นเองครับ
@pandastaff
@pandastaff 4 жыл бұрын
นึกแล้วก็ทึ่งดีนะ อะไรที่เคยเป็นภาพฝันตอนนี้ก็เป็นจริงหลายอย่าง ทฤษฎีอาจถูกจำกัดด้วยเทคโนโลยีสมัยนั้นแต่มาสำเร็จด้วยเทคโนโลยีสมัยนี้ สิ่งที่น่ากลัวตามมาคือความเร็วในการถอดรหัสหรือhackเร็วขึ้นเช่นกัน
@ArmSmithTz
@ArmSmithTz 4 жыл бұрын
อธิบาย​ดีครับ แต่ผิดอย่างนึง ใน cpu ไม่ใช้ทองแดงนะครับ มีแค่สายไฟเท่านั้นที่ใช้ทองแดง ที่ cpu ใช้คือ ทองคำ ครับ แต่มีปริมาณ​น้อยมาก ใช้ผสมกับทองคำขาว
@ridthailand5207
@ridthailand5207 4 жыл бұрын
ชอบพี่หลามอ่านข่าวก็ตรงฟังเข้าใจง่ายและสนุกตลกนี่ล่ะครับ ติดตามตลอดทุกคลิป ขอบคุณครับ
@bomberman206
@bomberman206 4 жыл бұрын
มันต่างยังไงกับ Photo transistor นะครับ เอ่ะ หรือว่ากระแสที่ไหลระหว่าง Drain กับ Source เปลี่ยนจากอิเลคตรอนเป็นโฟตอน อยากเห็นโครงสร้าง Substrate กับ Fabrication process นะครับว่าเป็นยังไง น่าสนใจมากครับ
@DrKerMinistry
@DrKerMinistry 4 жыл бұрын
เยี่ยมมากครับ อธิบายได้ดี ไม่แพ้ผู้เชี่ยวชาญเลย
@TongLife
@TongLife 4 жыл бұрын
พลังงานโฟตอนจะเป็นยุคต่อไป มาทดแทนข้อจำกัดของไฟฟ้า ในมาชินก้าz ได้เกริ่นไว้มานานละ
@Birdiebird55
@Birdiebird55 4 жыл бұрын
มาชินก้าคือไรอ่ะ
@teemathitpoomkao4369
@teemathitpoomkao4369 4 жыл бұрын
@@Birdiebird55 การ์ตูนครับ5555 เขาอำเฉยๆ
@07kitsadathongaurai25
@07kitsadathongaurai25 4 жыл бұрын
ผมนึกถึงมาชินก้าzเลย พลังงานโฟตอล
@azamimisomi891
@azamimisomi891 4 жыл бұрын
ดักแก่555
@katsukich4856
@katsukich4856 4 жыл бұрын
gang cartoon ลอยมาเลบ
@mimptattooartist
@mimptattooartist 4 жыл бұрын
ช่วงนี้ติดดูพี่หลามครับ
@romeojacoby8432
@romeojacoby8432 3 жыл бұрын
ไม่เกียว!
@jirapollimdul8010
@jirapollimdul8010 3 жыл бұрын
FC. พี่มิ้ม ครับผม
@kotuay6036
@kotuay6036 3 жыл бұрын
สิ่งที่ท่านกำลังพูดถึงมันคือการก้าวเข้าไปใกล้ การสร้างเครื่อง ไทม์ แมชชีน เข้าไปทุกทีแล้วครับ รวมถึงการศึกษาปรากฏการณ์วิญญาณ ชิวิตหลังความตาย ซึ่งต้องใช้เทคโนโลยี่ทางอีเลคทรอนิคส์สูงมากๆๆ เพื่อตรวจจับ อะไรที่มันอยู่ เหนือแสง ใต้แสง เหนือเสียง ใต้เสียง วันหลังน้าหลาม พูดถึงการศึกษาทางด้านชีวิตหลังความตาย ในปัจจุบ้นจะดีมาก ได้ยินว่า มหาวิทยาลัยเมืองนอก มีการศึกษาวิจัยในเรื่องนี้ มากมายแล้ว เมื่อเกือบ 30 ปีที่แล้ว คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ก็กำลังจะเปิดสอน แต่โดนต่อต้านในที่ประชุมอธิการบดี เลยงดไปเลยครับ ตอนนั้นเห็นว่าจะเปิดสอน ป.โท 15 ป.เอก 5 โดยใช้อาจารย์ต่างประเทศทั้งหมด สาชานี้ภาษาอังกฤษเรียกว่า Parapsychology เป็นการศึกษาชีวิตหลังความตายในทางวิทยาศาสตร์ครับ ซึ่งต้องอาศัยเทคโนโลยี่ที่ อาจารย์หลาม พูดถึงมากที่สุดครับ ทุกวันนี้ติดปัญหาด้านอุปกรณ์อีเลคทรอนิคส์นี่แหละครับ
@boronn888
@boronn888 3 жыл бұрын
ทำอยู่เหมือนกัน เรื่องเร็วเร็ว คือ motor ที่เร็วที่สุดไปไกลกว่าปัจจุบันมากกว่าพันปี ใช้แสง อินฟาเรดเป็นสวิท เพื่อจ่ายไฟ แม้จะยากแต่จำเป็นต้องทำให้ได้เพื่อรถไฟฟ้า ไร้แบตที่สุดสุดของรถไฟฟ้าไม่ต้องชาจครับ
@endosung6697
@endosung6697 4 жыл бұрын
ผมทำวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับอันนี้ทำมานานหลายสิบปีแล้วครับ แต่ผมไม่ได้ทำต่อ ใช้ non-linear medium แทน Gate อันนี้ถ้าใช้แสงจะได้ 1x ทำนองเดียวกับ fiber optics สมัยก่อนส่งแค่ความถี่เดียวผ่านเส้นใยแก้วไต้น้ำได้ 1Gb/เส้น ไทยมี 7 เส้นไปสิงค์โปร ต่อมาใช้ multi-frequency laser จะส่งได้ 40Gb/เส้น หมายความว่ามันแบ่งได้ถึง 40channel และ nonlinear medium สามารถทำ gate ที่ซ้อนความถี่ได้โดยไม่กวนกัน คือ เกท 1อันคำนวณพร้อมกันได้ทุกความถี่ ดังนั้น จะเสมือนมี cpu เท่ากับความถี่ที่แบ่งได้ เช่น 40ย่าน ก็ 40เท่า ดังนั้นถ้าบอกว่า optical computerทำงานได้ 1000เท่าของปัจจุบัน ดังนั้น multi-frequency optical computerจะทำงานได้ 10*40=40000เท่า โดยแทบไม่มี latency เพราะคำนวนด้วยความเร็วแสง ลองคิดดูว่าถ้ามันคำนวณด้วยความเร็วแสง chip ระยะทาง 1cm 1วินาทีมันจะวิ่งไปกลับได้กี่รอบ แต่ผมไม่รู้นะว่าเทคโนโลยีปัจจุบันไปถึงไหนแล้ว แต่เห็นคร่าวๆว่าส่งได้ถึง 43Tb แล้ว
@anuchytt
@anuchytt 2 жыл бұрын
More info Speed of light = 299 792 458 m/s Traveling time from Sun to Earth = 8 min 20 sec
@jadesanjadesan6535
@jadesanjadesan6535 3 жыл бұрын
ดูคลิ๊พเฮียฉลาม ทำให้เข้าใจความคิดของนัก ประดิษฐ์ ในทฤษฏีความเร็วแสงได้ เรื่องราว ทึ่ได้ฟังพูดถึงชิ้นส่วนและโครงสร้างใหม่ ภายใน cpu สรุปคือใช้โครงสร้างเดิมคำสั่ง ตัวแปรเดิมแต่เปลี่ยนธาตุประกอบที่ใช้การ เปล่งแสงแทนเปลี่ยนตัวนำทำงานคล้ายไฟ เบอร์ออฟติคใยแก้ว แต่คงเป็นซิลิกอนแบบใหม่ ผมว่า จะช้า จะเร็ว ง่ายมาก เมื่อผลิตมา ประกอบเป็นเครื่องเรียบร้อย รันอินสตอล ก็อปปี้ไฟล์ใหญ่ๆเป็น gb หลายๆหน้าต่างพร้อมๆ กัน เพราะ cpu พวก i ต่างๆยังช้า คล้ายๆ cpu พวก core 1-2-4 เบื่อมาก กว่าจะก็อปปี้จบ และการแปลงไฟล์ภาพหนังข้ามสกุล ก็ด้วย ถ้าทำออกมาเหมือนเดิมแต่เปลี่ยนชื่อและ โฆษณาเลิศหรูว่าเร็วๆๆๆ แต่ปฏิบัติอย่างที่ผม ยกตัวอย่างมา ก็แสดงให้เห็นว่า เป็นหลักการค้า พูดง่ายๆคือ รถยนต์เปลี่ยนสีใหม่ จัดเบาะใหม่ แทนเบาะนั่งตัวเก่า เปลี่ยนเทอร์โบลูกใหญ่ เมื่อวิ่งดู ความรู้สึกในความเร็วเหมือนเดิม แต่ ความรู้สึกสัมผัสใหม่ หรือเปลี่ยนตูดชาร์จโทร ศัพท์จาก mc.usb มาเป็น type c และแบบ ต่างๆ นึ่เป็นข้อเปรียบเทียบให้เห็นภาพครับ ถ้าเร็วจริงแบบ ก็อปปี้ไฟล์ระดับ gb กระ พริบตา2-3ครั้งเสร็จ หรืออินสตอลวินโดว์ มีแถบทามไลน์ บาร์แสดงสถานะความคืบหน้า% วิ่งถี่ๆ แวบไป-มา เสร็จ ในเวลาอันรวดเร็ว นั่น แหละผมเห็นว่าเร็วจริง.
@sboonthae
@sboonthae 3 жыл бұрын
ผมช่วยญี่ปุ่นพัฒนาเทคโนโลยีตอนนี้
@caveman8243
@caveman8243 4 жыл бұрын
พวกตำราวิชาอิเล็คทรอนิกส์ที่เป็นภาษาไทย คำว่า resistance เค้าจะใช้คำว่า ความต้านทาน
@natloveaeanat9003
@natloveaeanat9003 4 жыл бұрын
ผมชอบพี่หลามคุยข่าวแบบนี้มากเลยคับ.. ขอบคุนคับผมที่นำเสนอแต่สิ่งดีๆคับ
@test-ce3je
@test-ce3je 4 жыл бұрын
ขอให้ประสบความสำเร็จครับ ทีนี้ AI จะโหดมาก
@willson8246
@willson8246 4 жыл бұрын
จริงๆแล้ว LASER ก็คือแสงนั่นแหละครับ เพียงแค่ LASER มันเป็นเพียงลำแสงที่มีคลื่นความถี่เดียวต่างจากแสงทั่วๆไปที่มี spectrum ของแสงมากกว่าหนึ่งความถี่ผมกัน ลำแสง LASER จึงไม่กระเจิงออกเหมือนแสงทั่วๆไป เมื่อนำมาใช้ใน Chip จะทำให้เราสามารถควบคุมทิศทางของเปล่งแสงได้ดีกว่า ทำให้เราสามารถบรรจุจำนวนตัวกำเนิดแสงได้มากกว่าในพื่นที่เท่ากัน ทำให้ Chip สามารถทำงานได้เร็วกว่าเนื่องจากมีจำนวนอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการส่งผ่านคำสั่งข้อมูล Digital (อุปกรณ์แหล่งกำเนิดแสง ที่จะมาแทนที่ MOSFET) ได้มากกว่า และแน่นอนทั้งแสงที่ไม่ใช่ LASER และ LASER สามารถเดินทางได้เร็วกว่าอิเล็กตรอนที่วิ่งในตัวน้ำไฟฟ้า
@pparramny9414
@pparramny9414 4 жыл бұрын
หาคนอธิบายเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่ายง่ายมานานแล้วครับ ติดตามตลอดครับ เรื่องที่นำมาเสนอเข้ากับสถานการณ์โลกในอนาคตอันใกล้และเป็นจริงได้ ไม่ได้เอาแบบเพ้อฝันมา ทำให้ดูแล้วรู้สึกจะได้ประโยชน์และความรู้เพื่อเตรียมรับมือกับอนาคตอันใกล้ที่เปลี่ยนแปลงได้เร็วครับ ขอบคุณครับ
@bannakon4299
@bannakon4299 4 жыл бұрын
พี่หลามคือคนที่ย่อยเรื่องยาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย เป็นกำลังใจให้เล่าข่าวแบบนี้ต่อไป ผมตามทุกคลิป
@joelchao1
@joelchao1 4 жыл бұрын
อธิบายได้ง่ายและสุดยอดแล้วน้าหลาม (ผมเรียน ป.ตรี Semicon)
@diydev.1887
@diydev.1887 4 жыл бұрын
ถ้าเทียบง่ายก็จะเหมือนสมัยโมเด็มสายทองโทรศัพท์ กับ โมเด็มสายไฟเบอร์ออฟติกในปัจุบัน
@user-fp1jl2ye4w
@user-fp1jl2ye4w 4 жыл бұрын
คนทำงานด้วยใจยังไงก็ต้องได้ใจครับ ขอบคุณครับ
@Diin1232
@Diin1232 4 жыл бұрын
เรียนสายไฟฟ้ามาครับ ทั้งกำลัง อิเล็ก สื่อสาร คือผมฟังแล้วเข้าใจนะ ถือว่าทำความเข้าใจมาดีเลยครับ พูดอธิบายได้ดีเลยครับ
@siritipcholcharttrakul997
@siritipcholcharttrakul997 3 жыл бұрын
พี่หลามมีความรู้งูๆปลาๆ มาเล่ามาสู่กันคือเกรนวัดแสงในกล้องถ่ายรูปcannon มันเกิดในห้องทดลองของcannon ตัววัดแสงในกล่องslr ที่เรียกว่าวัดแบบspot ทำให้เราสามารถได้รูปถ่ายที่ไม่คยทำได้มาก่อนมามากมาย เครื่องอ่านบาร์โค้ทก็เรียกใช้ทรานซิสเตอร์บวกแผนวงจรเหมือนกันแต่เป็นแถบยาวๆก็photoนั่นแหละ ถ้าเล่นโทรศัพท์ vivo จะเจอ ทำเอาในเรื่องนี้lenovoยังห่างชั้นไปอีกนาน เมือสองปีที่แล้วมีทวีตถ่ายจาก air link หัวหมาก และใช้เพลงประกอบ ลมมเหนือ น้ำหนาว ภาพชุดนี้ใช้เทคนิคจำพวกนี้ vivo เมือเปิดใช้กล้อง จะมี bar ให้เลือ เขาใช้"มืออาชีพ" ขนาดที่htc ว่าล้ำหน้า vivo สิดีกว่า
@madamesjamesmorningstar7751
@madamesjamesmorningstar7751 4 жыл бұрын
ปล่อยพวกความรู้เยอะและตำหนิไปเถอะพี่หลาม คนประเภทนี้มันเยอะ คนไทยสมัยนี้เก่ง.. เราติดตามมาตั้งแต่แบไต๋ เดลี่ไฟไลค์ เราว่าอ่านแบบนี้อะโอเคละ
@user-lz4qe1wk7x
@user-lz4qe1wk7x 4 жыл бұрын
ใครตำนิ แสดงว่ามันใจแคบ ผมชอบครับมีความพยามสื่อได้ดี ตบมือๆๆๆๆๆๆๆๆ
@golflovesin
@golflovesin 4 жыл бұрын
เมื่อไฟฟ้าหรือelectrons วิ่งผ่าน ตัวกลางอย่างทองแดง จะมีค่า resistances เกิดขึ้น และที่สำคัญ resistances จะแปรพัน ตาม อุณหภูมิ ยิ่งอุณหภูมิสูงค่าresistance ยิ่งมากขึ้นความร้อนยิ่งมากกก และกินไฟมากตามกันไป
@pollapatpor9174
@pollapatpor9174 4 жыл бұрын
ทำข่าวอธิบายได้แบบนี้ก็สุดยอดแล้วครับพี่หลาม อย่าสนเสียงนกเสียงกา
@atonesudteen5325
@atonesudteen5325 4 жыл бұрын
อธิบายได้ดีและสนุกมากครับพี่หลาม ตัวนำไฟฟ้าทุกชนิด เช่น ทองแดง จะมีค่าความต้านทานเฉพาะตัว เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะเกิดความร้อนขึ้นเนื่องจากความพยายามเคลื่อนที่ผ่านตัวนำนั้นเสมอ เหมือนเราลากของบนพื้น เราก็ต้องออกแรงเอาชนะน้ำหนักสิ่งของและความเสียดทานของพื้นด้วย พื้นสิ่งของก็ร้อน คนลากก็เหงื่อแตก แฮ่ๆ มันเป็นเช่นนี้เองครับพี่หลาม
@ibfgkgfhhvdjbfh1185
@ibfgkgfhhvdjbfh1185 2 жыл бұрын
ชื่นชม​ ที่นำเรื่องล้ำยุคมานำเสนอ ครับ
@lnwzakub1234
@lnwzakub1234 4 жыл бұрын
แรงจริงครับ ผมไปลองมาละ ออกตัวทีหายไปเลย
@lairwtiare
@lairwtiare 4 жыл бұрын
ผมดูคลิปแล้วไม่ค่อยเข้าใจเท่าไร สงสัยว่า "ซิลิคอน" ที่เขาพูดถึง คือ อะไร ตามที่ผมเข้าใจตอนนี้ ซิลิคอน ธาตุตัวหนึ่งที่นิยมเอามาชิพต่างๆ มากมาย ซึ่งชิพตัวหนึ่งที่ทำได้คือ LED ใช่แล้ว มันคือไดโอดเปล่งแสงนั้นเอง ที่ปัจจุบันเอามาทำหน้าจอทีวี หลอดไฟบ้าน หลอดเลเซอร์ และอื่นๆอีกมากมาย ซึ่งผมเข้าใจว่า "ซิลิคอน มันทำให้เปล่งแสงได้ต้องนานแล้ว" แต่อาจจะยังไม่สามารถทำออกมาเป็น ซีพียูได้ เพราะ LED คือเปลี่ยนจาก ไฟฟ้า เป็น แสง แค่นั้น แต่ในคลิป ผมกำลังพยายามเข้าใจว่า สามารถสร้างวงจรลอจิคพื้นฐานที่คำนวนจากแสง ได้แทน ไฟฟ้า ใช่ไหม หรือยังไง หรือว่าต้องการนำเสนออะไร ผมไม่เข้าใจอ่ะ
@bank9022
@bank9022 4 жыл бұрын
lairwtiare ฟัง4:45 น่าจะใช่นะที่สงสัย
@sirasitr.7295
@sirasitr.7295 4 жыл бұрын
ทีมนักวิจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีไอนด์โฮเฟิน (TU/e) สามารถสร้างโลหะผสมซิลิคอนเจอร์เมเนียมอัลลอยด์ โครงสร้างผลึกหกเหลี่ยมที่ยังไม่มีความสามารถในการเปล่งแสง ในปี 2015 และสามารเปล่งแสงได้ในปี 2020 หากใช้แสงที่ใช้โฟตอนเป็นตัวกลางแทนการใช้อิเล็กตรอน อันนี้อยู่ใน Description ครับ แต่ที่คุณสงสัยน่าจะเป็นข้อมูลเชิงลึกอะครับ ลองหาเป็นเปเปอร์ดูนะครับผมว่าเค้าน่าจะตีพิมพ์ออกมานะครับ
@MrRaphyrex
@MrRaphyrex 4 жыл бұрын
อารมณ์เหมือนเปลี่ยนจาก ADSL สายทองแดง เป็น Fiber Optic เลยแฮะ
@user-sh3bz6pf3d
@user-sh3bz6pf3d 4 жыл бұрын
ชอบช่องนี้มากเลยครับ
@taebusohlll
@taebusohlll 3 жыл бұрын
คิดถึง กระโหลกคริสตัท เลยพี่ พี่เก็บข้อมูลได้เป็นอนัน เลยมั้งพี่
@Pyjitrasul
@Pyjitrasul 4 жыл бұрын
ชอบช่องนี้มากครับ สุดยอดมากไป ชอบเทคโนโลยี Semi-Conductor กับ GPU มากไปครับ ข่าว INTEL nVidia AMD ก็ชอบครับ ขอเยอะๆ
@kotuay6036
@kotuay6036 3 жыл бұрын
ก็ให้นึกถึงสายโทรศัพพ์ หรือสายเคเบิ้ลในระบบอินเตอร์เน็ตแบบ ADSL ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณผ่านสายทองแดง มันทำความเร็วได้สูงสุดเท้าไหร่ครับ เมื่อมาเทียบกับส่งสัญญาณด้วยแสงผ่านสายไฟเบอร์ออพติค ในระบบ FTTH ในปัจจุบัน
@CandyChicz
@CandyChicz 4 жыл бұрын
ขอบคุณพี่หลามที่ย่อยข่าว แปลงข่าวให้ชาวบ้านเข้าใจง่ายๆครับ
@thebusdy
@thebusdy 4 жыл бұрын
น่าสนใจนะครับ ถ้า cpu เร็วขนาดนั้น คงไปต่อยอดอะไรได้เยอะ จนนึกภาพอนาคตไม่ออกเลย
@TestTest-fn2hk
@TestTest-fn2hk 4 жыл бұрын
ไอ้เราก็นึกว่าจะเข้าสูยุคคาร์บอนแล้ว สรุปก็ยังอยู่ยุคซิลิกอนเหมือนเดิม
@user-qh3ms2sn3v
@user-qh3ms2sn3v 4 жыл бұрын
แรงก็เปล่าประโยชน์ครับ มันคือกลของการขาย แรงแค่ไหนก็เล่นเกมส์ได้ไม่ถึงสองปีครับ
@user-wz5cl6vu6d
@user-wz5cl6vu6d 4 жыл бұрын
Cpu เขาเอาไว้ทำงานครับ ตัวแรงๆอะ GPU นู้นนนน
@halnine5738
@halnine5738 4 жыл бұрын
เห็นใจคนต้องเอามาคำนวณโมเลกุลยาด้วยเถอะ ขี้เกียจรอตั้งสัปดาห์นึง
@masterhifi3939
@masterhifi3939 3 жыл бұрын
สมัยก่อนใช้รีเลย์ในการคำนวณแทน คอมพิวเตอร์ แต่เนื่องด้วยรีเลย์มันมีขนาดใหญ่ทำให้แผงวงจรกินไฟเยอะแถมเปลืองไฟ ทำงานช้า ถัดมาเป็นหลอดสูญญากาศทำงานได้เร็วกว่า รีเลย์แต่ก้อติดปัญหาเรื่องเปลืองพื้นที่ติดตั้งมากและกินไฟมากเช่นกันจึงเกิดสิ่งประดิษฐ์จำพวกสารกึ่งตัวนำที่มีชื่อเทห์ๆว่า ทรานซิสเตอร์ ในที่นี้ทำหน้าที่เหมือนรีเลย์คือเปิดและปิดสัญญาณ ไฟ เปรียบเสมือนส่งสัญญาณไฟฟ้า = 0 และ 1 เมื่อเราสามารถสร้างสัญญาณ 0 และ 1 ได้ จึงเกิดวิชา คณิตศาสตร์ที่ว่าด้วย การคำนวณเลขฐาน 2 ฐานะ 8 และฐาน 16 นำมาสู่การออกแบบวงจรและการคำนวนในมุมมองของเครื่องคอมพิวเตอร์ และต่อมาเมื่อมีเงื่อนไขที่ซับซ้อนมากขึ้นจึงต้องมีการสร้างเป็นสถาปัตยกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ว่าด้วยการคำนวน คือมีหน่วยความจำ หน่วยประมวลผล และการทำงานที่ซับซ้อนอื่นๆของ cpu จึงบังคับให้ cpu ต้องมีขนาดเล็กลง แต่มีจำนวนทรานซิสเตอร์มากขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการในด้านความสามารถในการประมวลผลที่สูงขึ้น ซึ่งถ้าพูดถึงซิลิคอนมันก้อคือวัตถุดิบที่เอามาผลิตเป็นทรานซิสเตอร์ที่อยู่ใน cpu นั่นเอง
@MinNMax3366
@MinNMax3366 4 жыл бұрын
พี่หลามอธิบายได้ดีเสมอฟังแล้วยังไม่เคยงง ชอบครับข่าวแบบนี้คือข่าวอนาคต(ผลงานวิจัย)ในอีก 5-10 อาจได้เห็นก็ได้
@KATI-r1s
@KATI-r1s 4 жыл бұрын
เข้าใจครับอธิบายง่ายดี
@Kuanus60
@Kuanus60 3 жыл бұрын
สนับสนุนพี่หลามคับ เอาความเฮฮาผสมผสานเข้ากับความรู้ ทำให้มีความรู้แบบไม่เครียดได้...นับถือ
@temphakpoom2762
@temphakpoom2762 4 жыл бұрын
อันนี้น่าสนใจครับ สมมุติเราสามารถส่งคำสั่งด้วยแสงได้ เราอาจส่งคำสั่งแสงไปในอวกาศเพื่อสื่อสารกับยานที่ออกไปสำรวจได้เร็วขึ้น
@jakkritpongphadung6857
@jakkritpongphadung6857 4 жыл бұрын
ถึงทางรายการครับ​ ชื่นชอบในสิ่งที่ทางรายการนำเสนอนะครับ อยากให้กำลังกับรายการนะครับ​ ในเรื่องการไม่เข้าใจหรือการไม่รู้ไม่ใช่เรื่องแปลกอะไรหรอกครับ​ แต่เจตนาที่แสดงออกมามันจะพิสูจน์​ในตัวมันเอง​ ใช่ครับถ้าการนำเสนอมันผิดเพราะข้อมูลมันผิดแต่ที่สำคัญยิ่งกว่าคือเจตนาครับ​ถ้าเจตนาไปในทางสร้างสรรค์​มันก็สร้างสรรค์​ครับ แต่เรื่องผิดพลาดเราเรียนรู้และแก้ไขได้ครับ​ ขออนุญาต​ิยกตัวอย่าง​นะครับ​ ตอน​ ไอสไตร์​พูดว่าเวลาในจักรวาลไม่เท่ากัน​ สมการไอสไตรํใช้ในการอธิบายมันผิดครับ​ ต้องใช้เวลาอีกหลายปีครับกว่าไอน์สไตน์​จะเจอสมการที่ใช่ตอบคำอธิบายในสิ่งที่เขาเชื่อครับ​ ทุกวันนี้​ การคำนวนเวลาของดาวเทียมนอกโลกในระบบ​GPS​ ก็ใช่ระบบที่ไอสไตล์​เคยบอกไว้เมื่อปี1905ครับ ขออีกตัวอย่างนะครับ​ สตีฟจอฟและสตีฟวอลติเอทเชื่อว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลจะต้องเป็นไปได้​ แต่ทั้งสองก็ไม่รู้หรอกครับว่าจะต้องทำอย่างไร แต่สิ่งที่เป็นแรงผลักอย่างรุนแรง​คือการถูกปฏิเสธจากบริษัท​ยักษ์​ใหญ่ว่ามันไม่มีทางเป็นไปได้ครับ​ ถ้าทั้งสองรู้หรือเข้าใจตั้งแต่แรกคงไม่ต้องไปให้ใครเขาดูถูกหรอกครับ​ แต่สิ่งที่ทั้งสองมีคือความเชื่อว่ามันเป็นไปได้ครับ​ ขอโทษที่ยกตัวอย่างมาซะเยอะเลยครับ แต่อยากให้รู้​ว่า อย่าหมดกำลังใจกับเรื่องเล็กน้อยพวกนี้นะครับ เพราะหัวใจของการนำเสนอ​รายการ ที่ผมคอยติดตามมาผมว่า​ มันเป็นสิ่งที่ทำให้สังคมเปลี่ยนไปในทางที่สร้างสรรค์ครับ​ จะคอยติดตามนะครับ​ เป็นกำลังใจให้ครับ​ พิีธีกรสุดยอดครับ
@sophiespkt5588
@sophiespkt5588 4 жыл бұрын
สัณญานเน้ต ผ่านตัวกลางอะไร ที่ไม่ใช่สายไฟ ป่านดาวเทียมก้ได้ ก้ไม่ช้า ? .... การเดินทางผ่านอะไร เร็วที่สุด น่าจเปนสิ่งที่ไม่เปนวัตถุ
@user-sk7et6py1l
@user-sk7et6py1l 4 жыл бұрын
ขอบคุณครับที่เเบ่งบันความรู้ดีๆ
@mananprat8681
@mananprat8681 3 жыл бұрын
ผมชอบพี่หลามครับ​ ไม่รู้​ก็บอกไม่รู้​ ผมก็ไม่รู้มากกว่า​พี่​หลาม​ พูดผิดพูด​ถูก​เอาตามสบายเลยพี่​ ผมไม่ได้ฟังเพื่อไปสอบที่ไหนครับ​ ชมรายการเทคโนโลยี​เพื่อความ​บันเทิง​ ผิดบ้าง​ถูกบ้าง​สนุกดีครับ
@user-il7ys6yo3y
@user-il7ys6yo3y 4 жыл бұрын
ใจเย็นๆนะครับกำลังเริ่งทำให้
@shinnavaga3046
@shinnavaga3046 4 жыл бұрын
เข้าใจเลยครับ ฟังแล้วเคลียและเข้าใจเลยครับ ดีงามๆ
@gunbad176
@gunbad176 4 жыл бұрын
ทองแดง แสง เสียง คลื่น ความถี่ เนเธอแลน ฟินแลนด์ อินเดีย อเมริกา จีน เยอรมัน ญี่ปุ่น พวกนี้เก่ง
@TV-ze4lg
@TV-ze4lg 4 жыл бұрын
เยี่ยมเลย เราจะโหลดหนังโป๊ะได้เร็วขึ้น
@woranitkayaras6961
@woranitkayaras6961 3 жыл бұрын
พี่หลามทำการบ้านมาดีมากๆ.. อธิบายได้เห็นภาพและเข้าใจง่ายๆ ผมขอชื่นชมและขอให้รักษามาตรฐาน​นี้ไปนานๆ สำหรับคนที่เข้ามาป่วน คนดูเขาไม่ได้กินหญ้า เขามีวิจารณญาน​มากพอ จึงไม่ควรให้ราคา
@user-fw9mh7cr4z
@user-fw9mh7cr4z 4 жыл бұрын
ชอบการนำเสนอของพี่นะ สุดยอดเลยคับผม😂😂😂
@user-fr7fu4zj4g
@user-fr7fu4zj4g 4 жыл бұрын
ชอบรายการพี่มากครับ ชอบเทคโนโลยีแห่งอนาคต
@denon3911
@denon3911 4 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับคลิปความรู้ดีๆ ดีกว่าดูข่าวตามช่องชั้นนำอีก
@user-fs2pc8ng8c
@user-fs2pc8ng8c 4 жыл бұрын
ขอให้ทำสำเร็จไวๆข่อยย้านตายก่อนบ่ทันได้ใช้..
@gunbad176
@gunbad176 4 жыл бұрын
10 ปี รอได้ไหม รึอาจติดโรคตายก่อนทุกวันนี้ โรคระบาด ภัยธรรมชาติ มาตอนไหนก็ไม่รู้ ดีไม่ดีมีสงคราม โลกนี้อะไรก็ไม่แน่
@nppodcast4888
@nppodcast4888 4 жыл бұрын
ด้วยความขวักไขว้เทคโนโลยีของมนุษย์มันจะทำให้มันจะมาในอีกไม่ถึง10ปีร้อยเปอร์
@mkill4587
@mkill4587 4 жыл бұрын
พี่พูดเรื่องยากๆ ได้น่าสนใจ และสนุกดีคับ
@silaklm6872
@silaklm6872 4 жыл бұрын
ทุกๆการทำงานจะต้องเกิดความร้อนเป็นธรรมชาติของตัวมันเอง อย่าคิดว่าเป็น photo แล้วจะไม่มีความร้อน..ยิ่ง laser นี่ ตัวร้อนดีเลยแหละ ตราบใดที่ยังต้องมีกระแสไฟฟ้าไปกระตุ้นการทำงาน..ก็จะขึ้นอยู่กะคนใช้และว่า ใช้หนักใช้เบา ความร้อนก็ต่างกัน
@poppodboy5
@poppodboy5 4 жыл бұрын
Cpu เกิดความร้อนเพราะผ่านตัวต้านทานครับ คือตัวซิลิคอนที่เป็นสารกึ่งตัวนำ ที่ต้องมีแรงดันไฟฟ้าระดับนึงถึงผ่านได้ ซึ่งจะทำให้เกิดความร้อน และอิเล็กตรอนไม่วิ่งกลับไปมาครับ แต่จะมองอย่างงั้นก็ได้ มันวิ่งจาก ขั้วลบไปบวก ส่วน cpuแสง ผมว่าอาจนำมาใช้ยากเนื่องจาก ต้องอินเตอร์เฟสกับ พอร์ตต่างๆซึ่งอาจจะต้องใช้ไฟฟ้าอยู่ดี แต่ก็รอดูต่อไปครับ
@shanagoler5239
@shanagoler5239 4 жыл бұрын
คงประมาณสมองโหลดข้อมูล100%แต่ร่างกายเสือกเมาเเฮงทำให้โหลดข้อมูลได้เเค่10% กลายเป็นสมองสั่งเเต่ขาไม่ไปสักที
@user-zf9ff4lx4j
@user-zf9ff4lx4j 4 жыл бұрын
พูดแบบเห็นภาพ เข้าใจเลยครับ ขอบคุณครับ
@luckydevil5908
@luckydevil5908 3 жыл бұрын
5555 แค่คิดก็เสร้จแล้วว ผมล้ะอย่างชอบพี่หลามจิงๆ 555
@poorinut.glun-gumnird8445
@poorinut.glun-gumnird8445 4 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับข้อมูลครับ
@TuTuMovecam
@TuTuMovecam 3 жыл бұрын
ที่ผม เข้า ใจ การ ส่งสัญญาณ 1=มีแรงดันไฟ , 0=ไม่มีแรงดันไฟฟ่า 010101 ส่งผ่านทองแดง หรือ ทองคำ ในวงจรไฟฟ้าที่ทำให้ แผงวงจร หรือcpu สื่อสารกัน เทียบกับ เน็ต ที่เป็นแบบ ไฟเบอร์ออฟติก กับแบบที่ สายทองแดง แบบไฟเบอร์ออฟติก ส่งข้อมูลเร็วกว่ามาก อยากให้ cpu ไปถึงระดับ นั้นครับ 5555
@user-ry2lh6ex7o
@user-ry2lh6ex7o 3 жыл бұрын
ได้ความอรู้เยาะเลยครับ
@Mirthless007
@Mirthless007 4 жыл бұрын
พี่หลามอธิบายผิดและใช้คำพูดผิดเยอะมากครับ แนะนำให้ทำคลิปแก้ด้วยครับ ทั้งนี้ทั้งนั้นข้าน้อยขอคารวะความพยายามของพี่หลามครับผม สู้ต่อไปพี่หลาม
@techoffside
@techoffside 4 жыл бұрын
ko oat ไม่แก้ครับ เสียเวลา
@Mirthless007
@Mirthless007 4 жыл бұрын
ครับ ก็ไม่มีปัญหาครับ สไตล์พี่หลาม ยังไงก็น่าฟังครับ ผมชอบ 55+ สไตล์มันๆ ไม่ซีเรียสดีครับ
@citizenlovedevelopment
@citizenlovedevelopment 2 жыл бұрын
รวมการวิจัย ถ้าพัฒนาถึงยิง cpu นั้นแหละคือ มิติที่ 6
@user-ze2lw3op8x
@user-ze2lw3op8x 4 жыл бұрын
เข้าใจง่ายครับ
@allnew1.913
@allnew1.913 4 жыл бұрын
ถ้าทำได้อุปกรณ์ชนิดอื่นก้ต้องทำได้เช่นกัน. เช่น แรม การ์ดจอ และssd. ในอนาคตถ้าไปสั่งประกอบคอม คงประกอบคอมด้วยแสงซินะครับผมว่า
@_N_O_N_
@_N_O_N_ 4 жыл бұрын
ใช่ๆ เรซิ่นกับกาว เหล่อเรซิ่นขึ้นมาเป็นบล็อคCPU มีใยแก้วนำแสง ฝังอยู่ในแผงวงจร อิอิ ไม่ต้องใช้ซิลิโคนนำความร้อนอีกแล้วเรา 555+
@pavielin
@pavielin 4 жыл бұрын
อธิบายเข้าใจง่ายมากค่ะ🥰✨
@jod778895
@jod778895 3 жыл бұрын
มาถึงยุคการใช้งานโฟตรอนแทนอิเลคตรอน ไม่มีการไหลของอิเลคตรอนก็ไม่มีความร้อน ถ้าพี่หลวมนึกไม่ออกว่าจะทำเรื่องไรดี ผมเสนอเรื่องการแสดงผล ไม่ว่าจะเป็นหลอดตาแมว ไฟนีออนหน้าโบตั๋นอาบอบนวด บอร์ดแสดงผลสนามบิน จนมาเป็นจอมือถือ
@sing7722
@sing7722 3 жыл бұрын
ต้องให้โทนี่ สตาร์ค มาช่วยครับ
@bozzalnw5357
@bozzalnw5357 4 жыл бұрын
แก้หน่อย ไม่ว่าจะเป็นเลเซอร์หรือแสงอะไรก็ตาม มีความเร็วในการเดินทางเท่ากัน
@businesscardcard9933
@businesscardcard9933 4 жыл бұрын
โอ้ยยากจัง ขึ้นๆลงๆซ้ายขวา บีเอ ซีเลค สตาร์ท มันจะเพิ่มจำนวนได้รวดเร็ว แต่มันกดยากอ่ะ ซื้อตลับที่ใสสูตรมาเลยมีไม๊ครับ
@row3625
@row3625 4 жыл бұрын
4:33 เจอร์เมเนียม อัลลอย ถ้าผลิตในไทยคงเรียกว่า ไทบีเรียม อัลลอย.. ...เผ่น...
@edit3238
@edit3238 4 жыл бұрын
อันหร่อย
@Kk_Bank
@Kk_Bank 4 жыл бұрын
แบบนี้ก็ได้เหลอ
@user-dl5zd1vz8d
@user-dl5zd1vz8d 4 жыл бұрын
เจอแมนเนียม GE มันเป็นชื่อธาตุชนิดหนึ่งครับอยู่ในหมู่ 4 หมู่เดียวกันกับซิลิคอนนั่นแหละ โดยที่นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมนีเป็นทำนายว่ามันมีอยู่ แต่คนค้นพบก็คือเป็นคนรัสเซียและค้นพบที่ประเทศรัสเซีย แต่ตั้งชื่อให้เกียรติแก่ชาวเยอรมันที่เป็นคนค้นพบแล้วทำนายว่าธาตุนี้มีอยู่
@jmsssx
@jmsssx 4 жыл бұрын
มีเผ่นด้วย 55555555
@user-he7ti2sx7f
@user-he7ti2sx7f 4 жыл бұрын
อย่างกับ C&C 5555
@luissz9220
@luissz9220 4 жыл бұрын
ส่วนตัวผมว่าทำได้ครับในอนาคต แต่ความแข็งแรงนั้นยังไม่รู้จะทำยังไงกับมันนี่สิครับ ขนาด CPU ปัจจุบันยังต้องกลัวขาหักเลย อันนี้ความคิดเห็นผมนะครับ
@erawatdrumsing1169
@erawatdrumsing1169 4 жыл бұрын
เป็นข่าวที่ดีสำหรับการพัฒนาเทคโนโลยีจริงๆครับ ขอบคุณพี่หลามมากครับ
@user-hd8cu3jg5i
@user-hd8cu3jg5i 4 жыл бұрын
ระยะห่างของ 0 กับ 1 ในทรานซิสเตอร์ ประมาณ 0.7 ไมครอน สิ้นสุดแล้ว ไปต่อไม่ได้แล้ว ที่เหลือก็เป็นคอมพิวเตอร์ควอนตัมส่วนเลเซอร์ก็สร้างมาจากไดโอดซึ่งไดโอดก่อสร้างมาจากซิลิคอนมันจะทำได้ยากมากเพราะเลเซอร์ต้องใช้พลังงาน
@obiwankenobi9658
@obiwankenobi9658 4 жыл бұрын
รักน้าหลาม เป็น Fc.น้าหลาม ชอบเวลาน้ารีวิวอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอุปกรณ์ถ่ายภาพ ดูสนุกดี เข้าใจง่าย ทำคลิปต่อไปนะครับ / ขอให้มีสุขภาพดีปลอดภัยจากโควิด ด้วยนะครับ
@cvxnxoxt6h6fk29
@cvxnxoxt6h6fk29 4 жыл бұрын
อธิบายได้ชัดเจนดีคับ ตกลงให้กินก่อนนอนใช่มั้ยคับ
@teerawat92
@teerawat92 4 жыл бұрын
ถ้าทำมำได้จริงๆ ราคาแรกเริ่มคงสูงหน้าดู ซึ่งผมว่าแพงกว่าเดิมเป็นสิบเท่า เก็เหมือน SSD ยุคแรก 120GB แพงกว่า HHD ในความใกล้เคียงกัน เป็นสิบเท่าเหมือนกัน ถ้ามันออกมาก็พร้อมที่จะเปลี่ยน เหมือนกัน อิอิ
@jospehhunter1209
@jospehhunter1209 3 жыл бұрын
ใน cpu เขาใช้ silicon ต่อ silicon ตรงลายเส้น เขาใช้ทองแดงครับ
@thew4327
@thew4327 3 жыл бұрын
กลับมาดูแล้ว ชอบครับ ฮาดี
@spybm2384
@spybm2384 4 жыл бұрын
ไกลกว่าเลเซอร์ คงเป็นการวาปผ่านควอนตัม ไม่ต้องใช้ตัวนำ ไม่ต้องใช้เวลาในการเดินทาง
@podsawee7794
@podsawee7794 4 жыл бұрын
cpu core i7 เเบบใช้เเสงเเรงขนาดนี้ เเล้ว amd threaddripper 3990x จะเร็วขนาดไหน
@soontorn2489
@soontorn2489 4 жыл бұрын
เยี่ยมครับ
@xfocus789
@xfocus789 4 жыл бұрын
สุดยอดครับ ขอให้สำเร็จโดยเร็ว
@nakhonthai7775
@nakhonthai7775 3 жыл бұрын
ถ้าควบคุมโฟตอนได้ระดับนั้น ปัจจุบันก็ทำในรูปแบบควันตั้มคอมพิวเตอร์ซึ่งไปเร็วกว่าเยอะนะครับ
@peterwong2357
@peterwong2357 4 жыл бұрын
ถึงแม้ว่า cpu จะทำงานได้เร็วเท่าไร แต่มันก็ยังช้าอยู่ดี เพราะอุปกรณ์รอบ ๆ มันก็ยังช้าอยู่ดี สรุปมันก็ยังช้าอยู่นั้นเอง ทุกวันนี้ cpu ก็ทำงานเร็วอยู่แล้ว แต่อุปกรณ์ ไม่ว่าจอแสดงผล เครื่องพิมพ์ ฯลฯ มันช้ากว่า cpu ดังนั้นผลรับก็ออกมาช้า ดังนั้นต้องพัฒนาให้อุปกรณ์รอบ ๆ ตัวมันต้องเร็วไปด้วย ซึ่งก็เป็นไปไม่ได้หรอครับ
@songkran32
@songkran32 Жыл бұрын
ทำได้แล้วครับ
@gsghostblood3127
@gsghostblood3127 4 жыл бұрын
ฟังแล้วนึกถึง เทสล่า คอย ที่นิโคลา เทสลา ต้องการที่จะให้ทุกคนได้มีไฟ้าใช้โดยการแค่เพียงเอาปั๊กไฟจิ้มลงดิน
@Atit1188
@Atit1188 4 жыл бұрын
ข่าวดีอยู่ละ บวกความฮาเข้าไปด้วย ชอบมาก
女孩妒忌小丑女? #小丑#shorts
00:34
好人小丑
Рет қаралды 101 МЛН
❌Разве такое возможно? #story
01:00
Кэри Найс
Рет қаралды 7 МЛН
Alat yang Membersihkan Kaki dalam Hitungan Detik 🦶🫧
00:24
Poly Holy Yow Indonesia
Рет қаралды 11 МЛН
Apple peeling hack
00:37
_vector_
Рет қаралды 82 МЛН
女孩妒忌小丑女? #小丑#shorts
00:34
好人小丑
Рет қаралды 101 МЛН