KZ
bin
Негізгі бет
Қазірдің өзінде танымал
Тікелей эфир
Ұнаған бейнелер
Қайтадан қараңыз
Жазылымдар
Кіру
Тіркелу
Ең жақсы KZbin
Фильм және анимация
Автокөліктер мен көлік құралдары
Музыка
Үй жануарлары мен аңдар
Спорт
Ойындар
Комедия
Ойын-сауық
Тәжірибелік нұсқаулар және стиль
Ғылым және технология
โลกควอนตัมอย่างง่าย EP5 : Quantum Wave Function ฟังชั่นคลื่นควอนตัม
12:01
โลกควอนตัมอย่างง่าย EP9 :Quantum Entanglement การพัวพันเชิงควอนตัม อย่างย่อๆ
15:13
家庭版踩气球挑战,妈妈竟然什么也没得到#funny #宝宝 #萌娃 #comedy
01:04
So Cute 🥰 who is better?
00:15
It’s all not real
00:15
Арыстанның айқасы, Тәуіржанның шайқасы!
25:51
โลกควอนตัมอย่างง่าย EP4 : หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก
Рет қаралды 129,758
Facebook
Twitter
Жүктеу
1
Жазылу 234 М.
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Күн бұрын
Пікірлер: 175
@curiosity-channel
3 жыл бұрын
ถ้าใครมีอะไรอยากเสริมเพิ่มเติม หรือแก้ไขอะไร บอกได้ในโพสนี้นะครับ
@graizath3590
3 жыл бұрын
ถ้าเราจะวัดค่าโดยใช้คลื่นความโน้มถ่วง เทคโนโลยีตอนนี้เป็นไปได้มั้ยครับ
@shagouwong6130
3 жыл бұрын
นาทีที่ 12:08 ควรเขียนให้ชัดเจนว่าเป็น Delta x คูณกับ Delta p ในแนวแกน x ครับ เพราะแกนอื่นๆก็มีแยกของมัน เช่น Delta y * Delta p ในแกน y
@psnand
3 жыл бұрын
ท่านอาจารย์ขาว เหมือนวงศ์ และท่านอาจารย์ชัยวัฒน์ คุประตระกุล ครับ ดีแล้วที่ท่านอาจารย์ทั้ง ๒ ให้ F แก่ผมในการเรียน Advance Physics เพราะผ่านไป ๓ ทศวรรษ ผมเพิ่งเข้าใจหลักความไม่แน่นอนของ Heisenberg (HUP) ขอบคุณมาก Be Curious
@Nchaikul
3 жыл бұрын
สุดยอดเลยครับ ยังจำชื่อ - นามสกุล อาจารย์ได้
@jack_Thai
3 жыл бұрын
สมัยก่อนเขาเรียน แบบให้ท่องจำกันนะคับ มันช่างเป็นเรื่อง น่าเศร้าครับ
@anawatlimwarakorn8071
3 жыл бұрын
สนุกมากๆเลยครับ ผมตามทุกคลิปเลย ทำคลิปดีๆต่อไปนะครับ เข้าใจว่าคนดูอาจจะยังไม่เยอะ แต่ต่อไป เด็กๆทั้งประเทศอาจจะต้องมาดูก็ได้ครับ
@curiosity-channel
3 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ กำลังพยายามทำออกมาเรื่อยๆ ตอนว่างจากงานประจำ ทำทั้งแบบจริงจังบ้าง เอาฮาบ้าง แต่ให้อยู่ใน theme วิทยาศาสตร์
@denpoom4372
3 жыл бұрын
อธิบายได้เข้าใจง่ายมากครับ เหมือนมีวิทยากรมาบรรยายให้ฟังที่บ้านเลย👍🏻👍🏻
@yaigrandma
3 жыл бұрын
อธิบายเรื่องฟิสิกส์ได้สนุก เข้าใจง่ายดีมากเลยครับ
@panudechpodee9248
3 жыл бұрын
ทำคลิปได้ดีจนขนลุกเลยครับ ❤️❤️
@291106100
3 жыл бұрын
ถึงแม้จะฟังไม่เข้าใจถ่องแท้แต่ก็รู้สึกว่าดีมาก อย่างน้อยมันเริ่มเห็นภาพลางๆขึ้นมาบ้างเกี่ยวกับโลกจิ๋ว(ควอนตัมของเรา) คลิปของคุณมันสร้างแรงบันดาลใจได้ดี ทำให้อยากศึกษาเพิ่มเติมขึ้นเรื่อย ตามดูตลอด
@noomthana
3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับคลิปดีๆครับ สนุกมาก เข้าใจมากขึ้นด้วย จากที่งงๆอยู่หลาย 10 ปี
@wutwutlerd6216
3 жыл бұрын
ชอบดูช่องนี้มากครับ มีแต่สาระ เอาเรื่องเข้าใจยากๆ มาเล่าให้เข้าใจ แม้บางอย่างผมก็ยังงงๆ สมกับชื่อช่องคนไฝ่รู้จริงๆ ครับ
@tamamonook
3 жыл бұрын
ใช่ครับ การอธิบายเรื่องยากให้ฟังดูง่าย แสดงว่าแอดมินทำการบ้านมาดีมากๆ
@jjk3057
3 жыл бұрын
ช่องคุณภาพ อธิบายเข้าใจง่ายดีค่ะ 💕💕
@sornt
3 жыл бұрын
สุดยอดมากครับ ข้อมูลแน่นมาก
@ปืนใหญ่เมืองคอน
3 жыл бұрын
🔴ความรักทำตัวเป็นคลื่นเมื่อจักรวาลไม่รับรู้ ถ้าไม่มีเพื่อนสังเกตทิศทาง(ตรวจจับ) ความน่าจะเป็นที่เราจะรักใครก็จะสอดซ้อนกันกระจายไปตกได้ที่ผู้หญิงหลายคน แต่หากวันได้จักรวาลรับรู้ เพื่อนเรารู้ว่าตรวจจับได้ว่าความรักเราไปทางไหน ความรักเราจะกลายเป็นอนุภาค และจุดตกจะชัดเจนว่าความรักเรากำลังพุ่งไปตกที่นางสาว ก.
@ปืนใหญ่เมืองคอน
3 жыл бұрын
ทั้งหมดนี้ผมจึงคิดว่า ในสมองเรา ในความคิดเราเป็นหลักการเดียวกับแสง คือเมื่อเรากำลังคิดก็มีความไม่แน่นอนสูงและทำตัวเป็นคลื่น แต่เมื่อเราตัดสินใจหรือสร้างความรับรู้ให้ตัวเอง(เท่ากับสร้างความรับรู้ให้จักรวาล) มันจะแสดงตัวเป็นอนุภาค(การกระทำ)
@iyakuptsemanon6567
11 ай бұрын
มวลของความรักก็ไม่เกิน 80 ก.ก.
@oorrunningblog
3 жыл бұрын
เรื่องนี้ไม่ได้เรียนในห้องเพราะสอบเทียบตั้งแต่ม.5 ส่วนเรื่องนี้อยู่ ม.6 ต้องอ่านเอง แล้วก็มึนๆงงๆ จำได้แค่ว่าในบรรดารูปนักวิทยาศาสตร์ในหนังสือเรียน ไฮเซนเบิร์กนี่หนุ่มสุด หล่อสุดแล้ว ;p
@chaiyoth6711
3 жыл бұрын
สุดยอดครับ ไม่เคยคิดว่า จะมีคนเอาเรื่องยาก ๆ แบบนี้ มาทำเป็นคลิป
@GGcxvw558
3 жыл бұрын
ชอบมากครับทำคลิปออกมา ความรู้แน่น นำเสนอเข้าใจง่าย และมีข้อมูล back ทุกอัน
@bassjung1
3 жыл бұрын
โอ้ย..ยิ่งฟังยิ่งชอบครับ อธิบายจนผมที่มีความรู้ทางนี้เป็น0 พอจะเข้าใจ และเริ่มสนุกเริ่มอยากรู้ สุดยอดครับ ตอนแรกเห็นหัวเรื่องก็ไม่ค่อยอยากฟัง แต่พอได้ฟังแล้ว ตอนนี้จัไล่ฟังทุกep เลยครับ
@abbiekps688
3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับการถ่ายทอดความรู้
@Ronin-f1k
4 ай бұрын
ข้อความ ณ2เวลานี้ขัดแย้งกันนะ 1.เวลา5:18 กับ 2.เวลา5:51 คือ 1.เวลา5:18xไม่แน่นอน ไม่ชัดpก็ไม่แน่นอนไม่ชัด แต่ 2.เวลา5:51บอกว่าxชัดแน่ pจะไม่ชัดหรือpชัดxจะไม่ชัด ??????ขอบคุณมาก.
@dr.modevast7269
3 жыл бұрын
ประเทศเราค้องการคนแบบนี้ครับ สุดยอด 👍
@แสวงวงศ์สง่า-ด4ม
3 жыл бұрын
ดีๆกว่าไปนั่งฟัง..พระเทศ..มีประโยชน์
@สมชายอิ่มโพธิ์-ท6ช
3 жыл бұрын
ขอบคุณครับ กับ การนำเสนอ ครับ
@wicha7815
3 жыл бұрын
มันส์ครับ เทียบให้เห็นภาพเข้าใจง่าย
@TomHack555
3 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@168hubstation9
2 жыл бұрын
ชื่นชอบเป็นวิทยาการทางปัญญาที่สุดยอดมากครับ อยากร่วมงานด้วยต้องทำอย่างไรครับ
@jim_Runaway
3 жыл бұрын
สุดยอดเลยครับ
@amwaymail9112
3 жыл бұрын
เปิดสอนฟิสิกส์ม. ปลาย/ปีหนึ่ง มั้ยครับ
@AstroLeo912
2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@ภถัฐปิยธรรมาภรณ์
3 жыл бұрын
Thanks.
@wanchaitono4612
3 жыл бұрын
เก่งมากครับ
@worrawateleela-apiradee8486
3 жыл бұрын
ฟังเข้าใจ จนขนลุกครับ
@วิถีลูกจ้าง
3 жыл бұрын
สนุกดี เหมือนการเล่าดูหนังสั้น ... น้ำเสียงผู้บรรยายชัด ฟังง่าย
@chairatjassadarom5059
3 жыл бұрын
เยี่ยวมากๆครับ ตอนเรียนฟิสิกส์ มปลาย ผมชอบเรื่องนี้มากๆครับ
@pangkate
3 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ ,,
@artakkapol7191
3 жыл бұрын
พระเจ้าโหดมาก สร้างทุกสิ่งมาให้ไม่แน่นอน ไม่สมบูรณ์แบบ เพื่อที่จะไม่สามารถหาต้นตอของพระเจ้าได้
@mrgoo1290
2 жыл бұрын
ถูก
@hong-e4g
3 ай бұрын
ตื่นๆ
@พัชรวัฒน์เอี่ยมมิ
3 жыл бұрын
อธิบายดีมากกๆๆๆๆเลยครับ
@nisonsattayasai1551
3 жыл бұрын
อธิบายได้ดีมากครับ
@jimmy_9121
3 жыл бұрын
สุดยอดที่สุดครับ
@wisitprem2843
3 жыл бұрын
สนุกดีครับ
@curiosity-channel
3 жыл бұрын
ขอบคุณครับ ผมก็ลุ้นอยู่ว่าคลิปนี้ จะมึนๆกันไหม ยอมรับเลยว่าเรียบเรียงยากจริงๆ ทำยังไงให้ฟังแล้วไม่น่าเบื่อเหมือนนั่งในห้องเรียน
@smithfarry1455
2 жыл бұрын
ชอบมากตำพุดได้
@ปืนใหญ่เมืองคอน
3 жыл бұрын
🔴เหมือนความรักเลยครับ ตอนโสดมันทำตัวเป็นคลื่น ค่าเดลต้าเอ็กคือโอกาสในการพูดคุยกัน ยิ่งสาวคนไหนเปิดช่องให้เรากว้าง ค่าpก็จะมีความแน่นอนมากที่ความรักของเราจะพุ่งมาที่เธอเพียงผู้เดียว แต่ถ้าเธอบีบช่องให้ความรักเราผ่านได้แคบลง โอกาสที่ความรักเราจะแปลตัวกลับเป็นคลื่นความน่าจะเป็นก็กลับมาอีกครั้ง โอกาสสำหรับสาว ก. ยังสูงอยู่ แต่คลื่นจะมีโอกาสไปตกยัง สาว ข.และ ค. เพิ่มขึ้น ตามหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก
@DDog21
3 жыл бұрын
น้ารักที่สุดเลยครับผม
@pratyachairuang9994
2 жыл бұрын
หรือมันจจะจริงอย่างที่ว่า ยิ่งแคป แย่งมีตัวเลือกเยอะขึ้น ยิ้วกว้างยิ่งแน่นอน กฏของจักรวาลอีกข้อหนึ่ง ในสองข้อ เรื่องกฏแห่งแรงดึงดูเ
@pagodacloud2241
Жыл бұрын
ความรัของผมยิ่งใหญ่เกินกว่าคณิตศาสตรร์จะคำนวนได้ครับ😂😂😂❤❤❤
@chevasit
3 жыл бұрын
เยี่ยมครับ
@waritnanphecded9811
3 жыл бұрын
สนุกมาก
@Pakhin-c7c
Жыл бұрын
งง..คำว่าอนุภาคในคลิบนี้หมายถึงอิเล็กตรอนอย่างเดียว หรือ รวมถึงโปรตรอน, นิวตรอน ด้วย?
@ten-xj1ff
3 жыл бұрын
ดีมากครับ
@รารา-พ4ฦ
2 жыл бұрын
👍🌅🌧️🌱🌾🌎🌌🌹💕👍👍👍👏 ท่านบรรยายได้ เจ๋งมากๆๆๆ
@na-ha-va
3 жыл бұрын
สงสัยเรื่อง อิเล็คตรอนของไฮโดรเจนครับ... 1) มันมีแค่ตัวเดียว แล้วเราเห็นหรือว่าตรวจวัดได้ว่ามันกลายเป็นกลุ่มหมอก...หรือว่าภาพแบบจำลองกลุ่มหมอกที่แสดงเป็นแค่ตำแหน่งที่อาจจะพบอิเล็คตรอนตัวนี้ครับ ? 2) สงสัยมั่วต่อว่า...จริงๆมันก็มีตัวเดียวนั่นแหละ แต่ด้วยความที่มันวิ่งเร็วกว่าการ capture ภาพได้ เราจึงเห็นในภาพมีหลายจุดครับ ? ขอบคุณครับ
@ปืนใหญ่เมืองคอน
3 жыл бұрын
ดูที่น้ำหนักมั่งครับ
@shagouwong6130
3 жыл бұрын
มันมีแค่ตัวเดียวครับ แต่คำว่าตัวเดียวนี้ แต่ละแบบจำลองก็อธิบายไม่เหมือนกัน ยุคแรกๆมองว่ามันเป็นก้อนโคจรรอบโปรตอน บางแบบจำลองก็มองว่ามันเป็นคลื่น แบบจำลองกลุ่มหมอกก็เป็นภาพจุดหลายๆจุด รอบๆโปรตอน โดยที่ให้ความหนาแน่น ณ ตำแหน่งใดๆ ''แทน'' โอกาสที่จะเจออิเล็กตรอน ณ ตำแหน่งนั้น เมื่อมีการวัดเกิดขึ้น ส่วนของจริงแบบอย่างไร เราไม่รู้ ที่รู้คือแบบจำลองแบบควอนตัม อธิบายผลการทดลองได้ดีที่สุด ณ ตอนนี้ครับ บางครั้งเราอ่านหนังสือพวกนี้ ในหนังสืออาจจะมีภาพจำลองที่เขียนอธิบายไว้ไม่ละเอียด เราก็เข้าใจผิดว่านั่นคือภาพอะตอมจริงๆ ต้องนึกไว้เสมอว่านั่นคือแบบ ''จำลอง''
@AM-nn8bo
3 жыл бұрын
ชอบคำว่าจ้กรวาลยอมรับเรื่องนี้ไม่ได้มาก ทุกอย่างเป็นไปตามระบบ
@peetho3714
2 жыл бұрын
แน่ใจนะครับ ว่านี่อย่างง่ายแล้ว
@gooinbat5094
3 жыл бұрын
แสงที่พุ่งออกไปมันกระจายไปทุกทิศทุกทาง ไม่ว่าจะมีเรื่อวความหนาแน่นมาเกี่ยวข้องหรือเปล่า ก้อตาม แต่ถ้าอนุภาคถูกจัดเรียง(ให้เรียงอยู่ในแนวเส้นตรงให้มากที่สุด)ได้ จริงๆ โดยไม่สูญเสียงพลังงานไปกับสิ่งรอบข้างเลย แสงก้อจะหายตัวได้ หรือเปล่า
@poomp.3395
11 ай бұрын
สนุกกับเรื่องราวน่าปวดหัว ชอบๆ
@สมชายอิ่มโพธิ์-ท6ช
3 жыл бұрын
อันนี้รับได้และเข้าใจได้ครับ กับ " ความไม่แน่นอน " ครับ
@hellomobile4986
2 жыл бұрын
ต้อง "รู้" พลัง "จิต+วิญญาณ" ใน "คน/สัตว์มีชีวิต" กลศาสตร์ ควันตัม เป็น พลังงาน /คลื่น/อนุภาค "แสง" มันไม่สามารถ"รู้" ด้วยพลังในตัวมันเอง คนเอาพลัง ควันตัมมาสร้าง "คอมส์"=หุ่นยนต์ " แล้วต้อง"ใส่"พลังให้มัน มันจึง ทำงานได้ แต่ "พลังจิต สร้าง สัตว์/คน ให้มี ตัว "รู้" และ คนสร้างพลังงาน ในตัวตนได้เอง จากการ "สังขาร" ของ ขันธ์ทั้ง ๕ รูปร่าง ก็มีพลังชีวิต ไม่เหมือน "ตัวเครื่อง=รูป" แบบมือถือ (รูปขันธ์) แล้ว พลังสำคัญ ของคน คิดสร้าง "คอมส์" เอาพลัง ไฟฟ้า/ควันตัม มาใช้ได้ กลศาสตร์"จิต+วิญญาณ" สร้างคน คนสร้างคอมส์ จึงควร ศึกษา "จิต" (๔ ขันธ์) ตาม หลักพุทธ คงอธิบาย "ธรรมชาติ ในขัดรวาล"ได้ แจ่มแจ้ง หมดจด ? คิดเล่นๆๆนะครับ ขอบคุณ "วิชา"ที่ถ่ายทอดมา เป็นประโยชน์ ต่อ "วิชาการ ทางโลกมากๆๆ" คิดเล่นๆๆ นะครับ
@thegodofnewwold1743
3 жыл бұрын
เดลต้าpคูณเดลต้าx = คอนแสต้น ภาษาเศรษฐศาสตร์ถูกอธิบายถึงอัตราการทดแทนกันของ ของสองสิ่ง
@pratyachairuang9994
2 жыл бұрын
เป็นสิ่ฃที่สุดยอดที่สุดที่ผมเคยรู้จักเลย ฟิสิกส์ 😘😘
@pvarawat
3 жыл бұрын
วิทยาศาสตร์พิสูจน์ได้แล้วว่าเวลาที่เราไม่มองไปที่ดวงจันทร์ มันจะไม่มีดวงจันทร์อยู่ เพราะ wave function ยังไม่ collapsed
@diamondbreak
2 жыл бұрын
วันนึงที่เรามองเห็นโลกแควนตั้มได้ ก็คงเหมือนตัวละครในเกมส์มองเห็นหลอดภาพ LED ที่อยู่หลังจอ
@อนุจิตย์ศิริสถิตย์-ด7ฟ
3 ай бұрын
มันก็เปิดไฟฉายไนน้ำนั้นนะครับ😊
@nopanom
3 жыл бұрын
เสื้อสวย ครับ ^^
@Ssaaddooww
3 жыл бұрын
โลกควอนตัมคือ..จิต..ครับ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เรามีตอนนี้..มันก็เหมือน เม็ดทรายหยิบมือหนึ่ง ในมหาสมุทรแห่งห้วงมหรรณพเท่านั้นเอง...แต่มันน่าตื่นเต้นมากๆ..ที่เรากำลังค้นพบความรู้เรื่อง จิต..ที่ใช้การศึกษา อธิบายแบบ วิทยาศาสตร์..ว้าวๆๆๆๆๆ..
@pongpun116
3 жыл бұрын
จิต หรือ มโน หรือ วิญญาณ คือความหมายเดียวกันครับ พระพุทธเจ้าตรัสไว้ ทำงานได้ทีละอย่างตรงกับกฏความไม่แน่นอนเลยครับ เมื่อรับรู้สิ่งหนึ่งอีกสิ่งหนึ่งจะเบลอๆ ลองไปสังเกตดูนะครับ เมื่อเราจงใจตั้งใจดู เราจะสูญเสียการได้ยินแบบละเอียดไป สัมผัสทั้ง 6 ทางจะทำงานทีละอันตามเจตนาที่เราตั้งใจในสัมผัสนั้น ครับ
@Anirvachaniya135
3 жыл бұрын
พุทธศาสนา คือศาสนาแห่งการเครมจริงๆ
@k.featheriuslebera3462
3 жыл бұрын
@@Anirvachaniya135 เคลมสรรพสิ่ง กัมพูชาเขาคงทำตามพระพุทธศาสนาอย่างดีเลย
@sonpopa3125
Жыл бұрын
จิตคือกระแสสมองเอง ควอนตัมกว้างไกลกว่าเยอะเปรียบจิตเหมื่อนประกายไฟในห้วงอากาศเท่านั้น อย่าเชิดชูเยอะถ้าจิตอย่างเดียวล้ำเลิศขนาดนั้นคนที่เกิดอำนาจจิตล้ำเลิศในอดีตคงสร้างความเจริญแล้วแต่ความจริงคือความรู้การสังเกตของนักวิทย์ต่างหากสำคัญกว่าที่ทำให้โลกเจริญเช่นปัจจุบันไม่ใช่เสกสรรค์จากอำนาจจิตเลย
@notcategory6125
3 жыл бұрын
พรสวรรค์ครับ
@sodasouth8032
2 жыл бұрын
แปลว่าแสงมันสะท้อนไปมาในช่องสลิชแล้วกระจายออก เนื่องจากที่แคบเกิน
@pjpj9549
3 жыл бұрын
อยากฟั่งในเชิงคณิตศาสตร์ครับ เพราะผมเรียนแคลลมาแต่ไม่รู้ใช่ทำไรได้บาง ผมเรียนวิศวะ
@ฟหหฟกกกห
3 жыл бұрын
แคล เป็นเครื่องมือหาค่า ต่างๆที่คุณใช้งานนะครับ เช่น Moment of inertia ใช้ในการพิสูจนืที่มาขิงสูตรแบบย่อที่คุณกันอยู่ ถ้าคิดจะเป็นวิศวกรทั่วไป แคล ไม่สำคัญมาก เรียนแค่เข่้าใจก็พอ ตอนทำงานใช้ไม่เยอะมาก แต่ถ้าจะเรียนจนถึงระดับสูงแล้วต้องเข้าใจมันอย่างดีเลยตรับ
@kittiphopdhammawiwatnukul9977
3 жыл бұрын
ต้องอาศัยการย้อมสี จึงจะมองเห็น
@sittisakzero4231
Жыл бұрын
วิธีการวัดค่ายังเป็นวิธีการที่เข้าไปแทรกแซงอะตอม ถ้ามีวิธีวัดค่าโดยไม่เข้าไปแทรกแซงได้อาจเห็นทั้งสองค่าได้ แต่ก็ไม่รู้จะให้วิธีไหน
@Ssaaddooww
3 жыл бұрын
ความรู้ก็คือ...เรารู้ว่า..1+2=3 แต่เราไม่เคยรู้จริงๆว่า..1 และ 2 และ3 นั้นคืออะไรกันแน่...
@johnekk1560
3 жыл бұрын
123 ฯมันคือค่าความไม่แน่นอนของความจริง#เพราะความจริงก็คือความจริงไม่ใช่จำนวนนับ555
@pongpun116
3 жыл бұрын
ใช่แล้วครับ เช่นเราไม่รู้ว่าเราเกิดมาทำไม
@pvarawat
3 жыл бұрын
ความเร่งกับโมเมนตัมเหมือนกันไหมครับ
@kukkik6839
3 жыл бұрын
ไม่เหมือนกัน ความเร่ง = ความเร็ว/เวลา โมเมนตัม = มวล*ความเร็ว
@lappawatapinan7284
3 жыл бұрын
เหมาะกับเด็กมอปลายมาดู จะพอเข้าใจฟิสิกส์มอปลายและเห็นภาพยิ่งขึ้น เนื้อหาได้ถึงปี 1 เลยมั้งครับ
@ทินกรบัญชาพานิตย์
Жыл бұрын
มึนเลยครับ 🤔😵💫🤣
@TOFFYHERO
2 жыл бұрын
ปวดหัวมากเลยครับ ดูจนจบแล้วผมก็ยังไม่แน่ใจในความไม่แน่นอน 5555
@smn-tm
3 жыл бұрын
วันนึงถ้าเรื่องควอนตัมฟิสิกส์ก้าวหน้ากว่านี้ กฏของไอน์สไตร์ ก็คงต้องโดนหักล้างเหมือนไฮเซนเบิร์กหักล้าง atom ของบอร์บ้างแหละ
@chatchaiphromsa-nga9214
3 жыл бұрын
มาแล้วๆ
@curiosity-channel
3 жыл бұрын
คลิปนี้อ่านหนังสือเหนื่อยเหมือนกันครับ 5555
@coinman1283
3 жыл бұрын
เริ่มเข้าใจ ^x ^p ที่เกี่ยวข้องกับ ภาพจำลองอะตอมแบบใหม่ ก็จากคลิปนี้ครับ 😊🙏
@PhuRiLOvE
3 жыл бұрын
อธิบายเข้าใจง่ายดีครับ แต่ก็งงว่ามันเป็นแบบนั้นไปได้ไง 55555 ตรงที่ยิ่งเล็กแล้ว ค่า ^p เพิ่ม
@lasersonic
3 жыл бұрын
Cooll
@preechaintree6469
3 жыл бұрын
ไม่น่าลืมฟิสิกส์ม.ปลาย กับปี1 เล้ย
@JuthamasRajchaprasit
3 ай бұрын
👍🏻👍🏻👍🏻
@ntEpicman
Жыл бұрын
คนอื่นเมื่อได้ยินคำว่า ไฮเซนเบิร์ก คนอื่น:มันคือ หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก ผมเมื่อได้ยินคำว่า ไฮเซนเบิร์ก ผม: ครูขาวว😱
@ณัฐวัฒน์หนูปลอด
3 жыл бұрын
ขอเป็นกำลังใจในการทำคลิปครับ
@curiosity-channel
3 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@nobetana6548
2 жыл бұрын
อยากให้ทำ clip ดีๆออกมาเรื่อยๆครับ น่าจะทำให้เด็กรุ่นใหม่ๆที่จะเรียน ได้รู้ว่าเรียนเพื่ออะไร จะได้มี Inspiration เพื่อต่อยอดอนาคตของเรา อยากแนะนำให้อธิบายการแตกแขนงของวิชาการ reference DOS (Domain of Science) Chart ต่างๆ ซึ่งผมประทับใจมากครับ
@FamousPoolboyTylers
Жыл бұрын
ตามมาสืบ หลังจากดู breaking bad ครับ
@ไม่มีข้อแม้-ผ6ถ
3 жыл бұрын
คล้ายๆการทำงานของกระเเสสื่อประสาท ที่รับรู้ได้ทีละอย่าง
@duenudom2119
2 жыл бұрын
เราก้อชอบมากเลย ฟังแล้วรุ้สึกตัวเองฉลาดขี้น
@sutuslk
3 жыл бұрын
อะตอมมันใหญ่กว่าโฟตรอน มันจะกระเด็นด้วยเหรอครับ เหมือนเราโยนลูกปิงปองใส่ลูกบอล ลูกบอลก็คงจะอยู่เฉยๆขอความรู้ด้วยครับถ้าเชื่อไฮเซนเบริ์ก
@curiosity-channel
3 жыл бұрын
ผมไม่ได้ละอียดเท่าไหร่ จังหวะนั้นเราไม่ได้ดูโฟตอนเป็นอนุภาคครับ แต่เป็นคลื่นพลังงาน ถ้าความถี่สูงๆ มันก็มีพลังงานมากพอชนได้ครับ โฟตอนก็เป็นคลื่นแม้เหล็กไฟฟ้า ถ้าคลื่นมีความถี่สูงมากๆ พลังงานจะสูงมากๆ มันชน dna มนุษย์ขาด จนเราเป็นมะเร็งได้เลยครับ
@phaengmaigallery6538
3 жыл бұрын
ອະທິບາຍໄດ້ຢ່າງສະນຸກສນານ. ທີ່ຈິງແລ້ວກົດໄຕຣລັກ ພຼະພຸທເຈົ້າກໍໄດ້ຄົ້ນພົບມາຫຼາຍກວ່າ 2560ກວ່າປີແລ້ວ.
@nattapolpunpaen2539
Жыл бұрын
หาเส้นเเบ่งเขตก่อนครับ..ส่วนจะมีอะไรอยู่จุดนั้นหรือป่าว..ไม่รู้😅 #เพราะสสารที่เลียนแบบกันมันไม่อยู"จุด"เดียวกันแน่นอนครับ.. #เส้นแบ่งเขตสนามพลัง.. #เส้นแบ่งเขตชั้นบรรยากาศสสาร #เส้นเเบ่งเขตสนามแม่เหล็กของโลก #เว้นแบ่งเขตโย้มถ่วง.. ... ... . . . ... .... หลายเส้นเลยผมเมื่อยมือครับ..😅 .... . . . . . . . . . . . . ... ... . .
@famous577
5 күн бұрын
กฏความไม่แน่นอน ก็คือ กฏของไตรลักษณ์ ที่พระพุทธเจ้าค้นพบ
@aforaether
3 жыл бұрын
แล้วไฮเซนเบิร์กคิดสมการนี้ได้ นักวิทยาศาสตร์ระดับนี้สมองช่างล้ำลึกนัก
@tarchamp5522
2 жыл бұрын
อีกหน่อยคงอธิบายเรื่องผี ที่ผมเห็นด้วยจิตได้
@jarurotetippayachai8220
2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับสำหรับความรู้เรื่องควอนตัม ซึ่งเป็นเรื่องลึกลับที่สุดในบรรดาทั้งหมด ผมเห็นบางช่วงมันคือแค่ฟูเรียร์ซีรีย์ของคลื่นมารวมกัน ถ้าเป็นสมัยเรียนในวิศวะไฟฟ้าก็สยองพองขนแล้ว ถถถ
@ถนอมรัตนชีวัฒน์-บ8ธ
3 жыл бұрын
ชอบครับร่วมคิดเห็นผู้ฟังต้องมีมิติที่เรียกว่าสติฟังแล้วมันไปด้วย เสียงคือคลื่นน้ำหนึ่งหยดเพิ่มๆๆๆเท่าตัวคนปรุงแต่งเรียบร้อยแล้วโลกก็ แบบเดียวกัน
@รารา-พ4ฦ
3 жыл бұрын
เรื่องกฎแห่งความไม่แน่นอน ของไฮเซนเบริ์ก น่าจะลองนำมา วิภัชวาท ับ กฏไตรลักษณ์ ที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบก่อนเมื่อ 2500 กว่าปีมาแล้ว ว่าของใครที่นำมาประยุกต์ใช้กับชีวิตจิตใจคนธรรมดา ได้ประโยชน์ที่สร้างสรรค์และพ้นจากทุกข์ได้จริงกว่่า อย่างไร จะทำให้คนรุ่นใหม่เข้าใจและเห็นคุณค่าของพระพุทธศาสนาที่แท้จริงยิ่งขึ้น 🙏🌅🌧️🌎🌌❤️😊
@sawitreekhemwong4222
5 ай бұрын
คิดแบบนี้ได้ไหมคะ หลักแห่งความไม่แน่นอน เปิดไว้สำหรับลำดับต่อไปว่า มีความน่าจะเป็นที่ "มีทุกความเป็นไปได้" อิอิ ให้กำลังใจคนค้นหานะคะ
@เป๋เป๋-ฃ4ค
3 жыл бұрын
ถ้ามา บางแสน พวกคุณจะเห็นคลื่นหลายลูก สาวใน ม สวยมาก ผมมัวแต่มองสาว และคนอื่นๆก็คงเช่นเดียวกัน เลยมองไม่เห็นคลื่น 🌊 ถ้าเราเลิกมองสาว เราก็จะเห็นคลื่น และถ้าคุณไปหาดใดๆก็ตาม คุณก็จะมองเห็นคลื่นในหาดนั้นๆ ด้วยตาเปล่า ยกเว้นตามีปัญหา หรือ แสงไม่เพียงพอเป็นต้น แต่ถ้าไปนั่งกินเหล้ากินเบียร์ มากเกินไปคุณก็จะรู้สึกถึงคลื่นที่อยู่ในลำไส้(หรือเรียกว่าคลื่นไส้ ก่อนที่คุณจะอ๊วกออกมา)
@zii-fz1sl
2 жыл бұрын
คือตอนนี้ ไม่มีใครเห็นควอนตั้มของจริงเนาะครับ ผมชอบมากวิทยาศาสตร์แต่ผมเกลียดคำนวน55
@miragehyperx2684
3 жыл бұрын
อีก 2 ปี ผมจะขึ้น ม.ปลาย แต่ศึกษาไว้ก่อนดีกว่า
@ManMan-vy5jf
Жыл бұрын
คนไทยที่ผมเคยเห็น,มีคุณนี่แหละเก่งจริงๆสมองคุณฟิวชั่นกันจริงๆ
@nuntaj.f.b.s.p4074
Жыл бұрын
ควอนตัมมี 3 แกน วัตถุทั่วไปมี 2 แกน
@อนุจิตย์ศิริสถิตย์-ด7ฟ
3 ай бұрын
แสงมันมีค่าเท่ากัน😅
@อนุจิตย์ศิริสถิตย์-ด7ฟ
3 ай бұрын
นี่ความรู้จริงไม่สมมุด😅
@extremex7945
2 жыл бұрын
คอมพิวเตอร์ควอนตัม คือ..............
@toomtamminecraft
Жыл бұрын
งั้นขอบเขตความไม่แน่นอนก็คือขนาดของอนุภาค อนุภาคทุกอย่างนั้นล้วนประกอบด้วยคลื่นที่มีความไม่แน่นอน แปลว่าสสารกับพลังก็คือสิ่งเดียวกัน ไปละหมอเรียก555
12:01
โลกควอนตัมอย่างง่าย EP5 : Quantum Wave Function ฟังชั่นคลื่นควอนตัม
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 98 М.
15:13
โลกควอนตัมอย่างง่าย EP9 :Quantum Entanglement การพัวพันเชิงควอนตัม อย่างย่อๆ
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 147 М.
01:04
家庭版踩气球挑战,妈妈竟然什么也没得到#funny #宝宝 #萌娃 #comedy
搞笑爸爸带俩娃
Рет қаралды 10 МЛН
00:15
So Cute 🥰 who is better?
dednahype
Рет қаралды 19 МЛН
00:15
It’s all not real
V.A. show / Магика
Рет қаралды 20 МЛН
25:51
Арыстанның айқасы, Тәуіржанның шайқасы!
QosLike / ҚосЛайк / Косылайық
Рет қаралды 700 М.
20:11
เมื่อดาวเคราะห์น้อยกระหน่ำชนโลก
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 5 М.
27:32
โลกจริง โลกเสมือน The Matrix กับทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์ | Thai PBS Sci & Tech | Movie
Thai PBS
Рет қаралды 314 М.
19:50
‘รวมทฤษฎีการเดินทางข้ามเวลา’ กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง x คนช่างสงสัย @curiosity-channel | Netflix
Netflix Thailand
Рет қаралды 81 М.
57:28
อะตอมถึงจักรวาลในคัมภีร์พุทธ กับ รศ.ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์ | Myth Universe EP54
Salmon Podcast
Рет қаралды 723 М.
30:05
ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (General relativity)︱Sophia Podcast EP.4
Amarinbooks
Рет қаралды 20 М.
32:04
ประวัติศาสตร์อย่างย่อการวัดอัตราเร็วแสง
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 173 М.
16:47
The order of time EP 04 : เวลาคืออะไร (ตอบโดย อริสโตเติล , นิวตัน และ ไอน์สไตน์)
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 296 М.
30:02
แนวคิดและปรากฏการณ์สำคัญในทฤษฎีควอนตัม ตอนที่ 2 | Sci&Tech
Thai PBS Podcast
Рет қаралды 7 М.
14:19
โลกควอนตัมอย่างง่าย EP10 : โลกคู่ขนานในกลศาสตร์ควอนตัม (Many World Interpretation)
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 189 М.
31:50
Tokamak นิวเคลียร์ฟิวชั่น พลังงานสะอาด (เสมือน)ไร้ขีดจำกัด แห่งโลกอนาคต
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 126 М.
01:04
家庭版踩气球挑战,妈妈竟然什么也没得到#funny #宝宝 #萌娃 #comedy
搞笑爸爸带俩娃
Рет қаралды 10 МЛН