เด็กจบใหม่ตกงาน ตลาดไม่มี หรือการศึกษาไม่ดี | Executive Espresso EP.332

  Рет қаралды 252,821

THE SECRET SAUCE

THE SECRET SAUCE

Күн бұрын

Пікірлер: 881
@benjakulthreethukbaeb9966
@benjakulthreethukbaeb9966 2 жыл бұрын
ตอนเป็นวัยรุ่นทำงานpart time ตอนปิดเทอม...เลยมีโอกาสได้เรียนในโลกชีวิตจริงไม่ใช่เก่งแต่อยู่ในห้องเรียน...เงินไม่ได้หาง่ายต้องฉลาดใช้เงิน...ในห้องเรียนกับชีวิตจริงต่างกันมาก
@newniwat-q2m
@newniwat-q2m 2 жыл бұрын
@@icantotallyhelp หา Part time ทำครับน้อง เวลาเรียนจบเค้าถามหา ประการ เราเอาตรงนี้ ใส่เข้าไปได้คับ โอกาศเราจะเยอะกว่าคนรุ่นเดียวกัน
@benjakulthreethukbaeb9966
@benjakulthreethukbaeb9966 2 жыл бұрын
ขายชุดนักเรียนตราสมอใกล้บ้าน...เขาเห็นเราเดินผ่านบ่อยๆเลยเรียกให้มาช่วยหน่อย..เหนื่อยแต่ให้เงินพิเศษเพิ่มตลอดให้ชุดนักเรียนใส่ฟรีด้วย...เวลาพักก็เดินกลับไปกินข้าวบ้าน...เก็บเงินไว้จ่ายค่าเทอมกับของอย่างอื่นที่อยากได้
@sigmaboi1708
@sigmaboi1708 2 жыл бұрын
เยี่ยมไปเลยไอ้น้อง พยายามอัพเรื่อง ภาษาอังกฤษแล้วเรียนเองแม่งเลย คอร์สของฝรั่งราคาไม่กี่ร้อยเอง ฝึกเอง ทำเอง รวยเอง โลกเดี๋ยวนี้เขาเป็นพลเมืองโลกกันแล้ว จัดไปวัยรุ่น เป็นกำลังใจนะจ๊ะ👍
@sigmaboi1708
@sigmaboi1708 2 жыл бұрын
@@icantotallyhelp ชอบกินครับ แต่มีงานวิจัยว่าน้ำตาลเป็นสารก่อมะเร็ง แล้วทำให้ฟันผุเดือนนึงจะกินสักครั้งครับ ส่วนมากชอบกินไอศกรีมมากกว่าเพราะอากาศร้อน ภาษาอังกฤษจะเรียนให้สนุก ให้เรียนจากสิ่งที่เราชอบครับ อย่างเช่นเราชอบเล่นเกมก็เรียนจากเกมได้ฝึกการตัดสินใจและการวางแผนคิดเป็นขั้นเป็นตอน ชอบฟังเพลงก็แกะศัพท์จากเพลงและทำความเข้าใจความรู้สึกของตัวเอง ชอบดูหนังก็เรียนรู้วัฒนธรรมของต่างชาติและการแสดงออกทางสีหน้าและ ท่าทาง การวางตัวเพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตของพวกเขา ชอบอ่านหนังสือ หรือ นิยายก็ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจ และส่งเสริมจินตนาการ จริงๆแล้ว อาจเริ่มจากการฝึกพื้นฐานคือฟัง พูด อ่าน เขียน คิดเชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์ให้แน่นก่อนแล้วค่อยเรียนภาษาอังกฤษจะช่วยให้ง่ายขึ้นมากๆ
@kyushu2479
@kyushu2479 2 жыл бұрын
อันนี้จริงอย่างที่ว่าน่ะครับ ผมเรียน จบมา ปวช ต่อ ปวส แต่ผมยังรู้สึกอยู่เลยว่า ต่อให้ผมพยายามที่จะตั้งใจเรียนหรือทำหน้าที่ของตนเอง แต่ในชีวิตความเป็นจริงมันกลับไม่เหมือนในห้องด้วย ครับ และผมรู้สึกว่าคุณภาพชีวิต Human life in Thai มันแย่ลง ทุกด้านๆ
@praew5318
@praew5318 2 жыл бұрын
จากใจคนที่เพิ่งจบจากมหาลัยที่อยู่ในท้อปแรงก์ของเมืองไทย คนรุ่นเราหรือคนทำงานบางส่วนตัดสินใจไปเมืองนอกเยอะมากค่ะ รวมถึงตัวเราด้วย ไทยไม่ตอบโจทย์ในแง่ของสังคมแนวคิด เรื่องของการศึกษา ตอนไปแลกเปลี่ยนต่างประเทศรู้สึกเลยว่าการสอนของเราล้าหลัง เราเน้นการดิสคัสน้อย เน้นอ่านท่องจำเยอะใช้ไม่ได้จริงเท่าไร ไม่เน้นการถกปัญหาหรือการนำเสนออื่นๆและไม่ได้มาตรฐาน เวลาจะสอบไปเรียนต่อโทที่ยุโรปเขาจะเขียนเลยว่าไม่รับรองหลักสูตรของไทย บังคับต้องสอบต้องยื่นอื่นๆ แต่ก็เต็มใจทำค่ะ เรื่องระบบโรงเรียน เรามาจากรรเอกชนครูดีในระดับนึงแต่ก็ไม่เพียงพอ เด็กเยอะมากในหนึ่งห้อง การเรียนพิเศษจำเป็นมากในไทยไม่งั้นก็สู้เขาไม่ได้ ถ้าย้อนไปได้เราจะไม่เรียนพิเศษจะเอาเงินส่วนนั้นไปเรียนที่สิงคโปร์ เรื่องสายวิชาชีพยอมรับค่ะว่าเมืองนอกดีกว่าเยอะ เรียนไปทำงานไปเงินไม่ได้โดนกด คือสังคมพยายามเอื้อให้คนทุกสายอาชีพมีเงินเพียงพอต่อการใช้ชีวิตได้ ไม่ได้น้อยแบบไทย และเรื่องของรัฐสวัสดิการเขาก็ซัพพอร์ตทุกชนชั้น เพศและทุกวัย
@boombaamsiriwatphaphan2700
@boombaamsiriwatphaphan2700 Жыл бұрын
จริงมาก ถ้าไปได้คืออยากไปมาก พอตอบผิดหักคะแนนไม่พอใจอีก อีกอย่าง พอเก่งก็โดนริษยาอีก
@youwag
@youwag 4 ай бұрын
จริงมากกๆ theory ร้อยปีก่อนก็ยังเอามาสอน ทั้งที่จริงมันไม่ใช่สาระสำคัญสำหรับการทำงานในยุคสมัยนี้แล้ว ทำให้ตอบจบมาใหม่เคว้งมากสิ่งที่เขาต้องการเราไม่มีต้องนั้งหาเรียนเพิ่มอัพสกิล
@timpp778
@timpp778 4 ай бұрын
ไม่สำคัญเสมอไปค่ะ ถ้าเรียนจบไปอยากจะเป็นลูกจ้างใช่ ต้องเรียนให้ตรงกับสาขา อาชีพที่มีจ้าง แต่ปัจจุบัน เราสามารถหาประสบการณ์จริงๆจะสามารถอยู่ในประเทศไทยได้สบาย มีที่ดินอยากกินอะไรก็ปลูกกิน เรานักเล่นหุ้น ชอบการเสี่ยง สะสมเงินตั้งแต่ยังเรียนไม่จบ ยิ่งมีอินเตอร์เน็ตทำให้เราต่อยอดพอร์ตโตมีเงินเก็บเกือบ11หลัก มันไม่ได้เป็นที่การศึกษาอย่างเดียว ขึ้นอยู่กับคนด้วย วิธีคิด การลงมือทำค่ะ
@thachapoompk7510
@thachapoompk7510 4 ай бұрын
@@timpp778 คนมีประสบการณ์พูดถูก พม่า ลาว เขมร ยังมารวยในไทยได้เลย แล้วคนไทยเป็นอะไรถึงทำ บ่ ได้
@chabathailand9989
@chabathailand9989 4 ай бұрын
ไปเมืองนอกก็ใช่ว่าจะแข่งกับคนในประเทศนั้นได้ เมืองนอกแข่งขันสูง ภาษาก็สู้ไม่ได้แล้ว จะเอาอะไรไปแข่งกับเขา ยกเว้น คนจบ พยาบาล หรือ หมอ
@บุษมาลีเสนาะคํา-ว1ม
@บุษมาลีเสนาะคํา-ว1ม 2 жыл бұрын
สายอาชีพ เรียนไปทำงานไป เผชิญปัญหาและแก้ปัญหาไปกับกลุ่มทีมได้ค่าตอบแทนไปด้วย "เจ็บและสุขไปด้วยกัน" คัดหัวกระทิได้ง่ายขึ้น ความชอบความถนัด เดินหน้าพร้อมกัน ..หางกระทิก็มีค่า กากๆก็นำมาสร้างคุณค่าได้ด้วยเช่นกัน
@wirotejitrungsri559
@wirotejitrungsri559 2 жыл бұрын
จบ ปวช. ก็เรียนต่อ ป.ตรี อยู่ดี
@kellypeace7915
@kellypeace7915 2 жыл бұрын
พวกอาขีวะ เทคนิค เทคโน ทำไมต้องตีกัน? สายอาชีพทั้งนั้น แต่ทำตัวเป็นอันธพาล
@ppnn969
@ppnn969 2 жыл бұрын
อย่ามาเลยสายอาชีพจบไปเป็นแรงงานโอกาสเป็นหัวหน้าแทบไม่มี มหาลัยรับปวช.ก็จริง แต่รับสายสามัญมากกว่า ยิ่งปวส.เทียบโอนป.ตรี คุณก็มีค่าต่ำกว่าคนจบป.ตรี4ปี อีกอย่าง ฝึกงานของ ปวช. ปวส. ใครเจอที่ฝึกงานดีๆก็ดีไป แต่ใครเจอที่นรก คุณรับรองได้ ร้องไห้แน่ ผมผ่านมาแล้ว จะบอกอะไรให้อย่างหนึ่ง พวกตกงาน กับคนทำงานในโรงงานยังมีอำนาจต่อรองกับบริษัทได้ แต่นักศึกษาฝึกงานกฏหมายไม่คุ้มครองในระดับลูกจ้าง นั่นหมายถึงการเป็นแรงงาน ที่ด้อยกว่าความเป็นลูกจ้าง คุณก็คิดเอาว่าลูกจ้างยังโดนเอาเปรียบ เด็กฝึกงานจะโดนขนาดไหนในองค์กรที่ไม่ดี ปล. ผมเรียนต่างจังหวัด ส่วนมาก สายอาชีพไม่มีตีกัน เรื่องอันธพาลเด็กห่วยๆเยอะ แต่พวกเก่งๆก็มี เช่นพวกสายไปทางมาตรวิทยาสอบเทียบเครื่องมือวัดระดับชาติ ผมก็เคยไปแข่งรอบนึงแต่ผมไม่เก่ง5555
@brelltree7534
@brelltree7534 2 жыл бұрын
ลูกคนโตเรียนแพทย์ปี 2 แต่ขยันมาก ขายหนังสือนวนิยายออนไลน์ สอนพิเศษ ลูกคนเล็กเพิ่งจบ ม.6 สอนพิเศษกำลังจะไปเรียนต่อวิศวะที่เยอรมัน ขยันมาก ขายหนังสือออนไลน์ และทำโปรเจ็กต์ต่างๆไปด้วย สองคนมีเงินเลี้ยงตัวเองตั้งแต่สมัยเรียน ม.ปลาย ส่วนหนึ่งมาจากการบ่มเพาะของครอบครัว ปลูกฝังให้ลูกๆคิดทำสิ่งต่างๆโดยไม่นั่งๆนอนๆ และที่สำคัญคือเราเป็นพ่อแม่ต้องแสดงให้ลูกเห็นถึงความอุตสาหะ ใฝ่หาความรู้และตื่นตัวกับการทำงานอยู่เสมอ ถึงแม้ระบบต่างๆรอบตัวจะไม่เอื้อ ตัวเราเองเท่านั้นที่จะนำพาชีวิตเราได้ ใฝ่เรียนรู้ ศึกษาสิ่งที่ชอบทำให้แตกฉาน อย่ารออาชีพเดียว ทำงานเป็นให้หลากหลาย งานจะให้ประสบการณ์ที่สร้าง soft skill ที่เราไม่มีวันได้จากห้องเรียน จะไม่ตกงานเลยค่ะ
@somyingrattanasookchit6208
@somyingrattanasookchit6208 2 жыл бұрын
จริงค่ะ.. นี้เริ่มทำงานพิเศษตั้งแต่เข้ามหาลัย.. นอกจากได้เงิน ยังได้ประสบการณ์ที่หลากหลายจากการทำงานด้วย.. เปิดโอกาสในอนาคตให้ตัวเองได้มากจริงๆ 😊
@สิริกาญจน์พงษ์ประเสริฐ์-ล3ร
@สิริกาญจน์พงษ์ประเสริฐ์-ล3ร 2 жыл бұрын
เห็นด้วยค่ะ
@orasaboo
@orasaboo 2 жыл бұрын
เก่งมากค่ะ นี่ไม่รู้เลยว่าตัวเองโง่ จนจบมหาลัย 😓 แต่ตอนนี้ขยันและทำงานเป็นแล้ว 😊
@nt2110
@nt2110 2 жыл бұрын
เห็นด้วยเลยครับ
@Thenextwillcome.
@Thenextwillcome. 2 жыл бұрын
ครอบครัวสำคัญ
@108channel
@108channel 2 жыл бұрын
เรียนไม่ตรงกับตลาดต้องการ เรียนเพื่อเป็นลูกจ้าง เรียนไม่ตรงกับงานที่มี ไม่ได้เรียนวิชาเพื่อสร้างงาน
@pattaracp518
@pattaracp518 2 жыл бұрын
สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะนิเทศศาสตร์ วารสารศาสตร์ ที่คุณเคนพูดในคลิปคือใช่เลย มันล้นตลาดมานานแล้ว และไม่จำเป็นต้องเรียนในมหาวิทยาลัยเลยตอนนี้ แทบทุกมหาลัยทั้งรัฐและเอกชนผลิตบัณฑิตด้านนี้เยอะมากเกินไป
@yutu8144
@yutu8144 2 жыл бұрын
พี่ทำงานในสาย มหาลัย ทางแก้คือ ต้องวางแผนการผลิต ปริมาณ คุณภาพ สอดคล้องความต้องการประเทศ ไม่ใช่ปล่อย มหาลัยเปิดอะไรก็ได้ตามใจชอบ / สาขาไหนขาด เกิน ความต้องการประเทศ ต้อง ปรับ ปิด เปิดเพิ่ม ตามความต้องการประเทศครับ
@taku_desu4915
@taku_desu4915 2 жыл бұрын
Nnmk
@taku_desu4915
@taku_desu4915 2 жыл бұрын
IIi iiiii
@txp158
@txp158 2 жыл бұрын
ปรับ ปิด เปิดเพิ่ม ตามความต้องการของตลาดครับ ไม่ใช่ประเทศ ตลาดจะครอบคลุมทั้งโลก
@sigmaboi1708
@sigmaboi1708 2 жыл бұрын
คันปาก อยากพูด แต่ไม่พูดดีกว่า เอาเป็นว่าทำใจและรอรับผลกระทบของ แรงงานใหม่ ไม่ตอบโจทย์ และ แรงงานเก่าปรับตัวไม่ไหวละกันครับ🙈
@poni7758
@poni7758 2 жыл бұрын
มหาลัยเปิดตามความต้องการของคนที่เรียนแหละครับ คณะไหนคนเรียนเยอะเค้าก็เปิดเยอะ คณะไหนคนเรียนน้อยเค้าก็เปิดน้อย จะบอกให้เปิดคณะตามความต้องการของตลาดงานในประเทศแต่ไม่มีนักศึกษาสนใจจะเรียนก็เท่านั้นครับ เค้าไม่ได้เปิด "ตามใจชอบ" ครับ
@HYPERPIXEL
@HYPERPIXEL 2 жыл бұрын
ผมทำโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ขนาดเล็ก ที่สร้างเพื่อตอบโจทย์ผู้ประกอบการทั้งในไทยและต่างประเทศ โดยเปิดโอกาสให้ผู้คนทั่วไปเข้าศึกษาสายอาชีพ เช่น การโรงแรมการบริการ การทำอาหาร และล่าสุด การถ่ายภาพอาชีพ โดยเรียนแบบเข้มข้น แบบที่ใช้งานจริง ไม่มีวิชาอื่นๆ ที่ไม่จำเป็นในการทำงาน และมี MOU กับเรือสำราญระดับโลกและโรงแรมระดับ 5 ดาว หลายแห่ง ที่เปิดโอกาสให้ไปฝึกงานจริงแบบเด็กมหาลัย และพร้อมรับเข้าทำงานทันที โดยเงินเดือนไม่แตกต่างกับ มหาวิทยาลัย เน้นความสามารถตามศักยภาพ ทำให้เด็กจบมาได้งานทำทันที 90 % ขึ้น และหลายคนได้งานตั้งแต่ยังฝึกงานไม่จบ เพราะเขาต้องการคนพร้อมทำงาน ทำให้แม้จะมีโควิดก็ยังได้งานกับ ยิ่งตอนนี้โควต้างานมาถามหาคนที่พร้อมมากจนไม่พอส่งไปทำงาน และเราก็ยังพัฒนาให้มีคุณภาพในการเรียน โดยยังใช้ หลักสูตรอาชีพพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นพื้นฐาน และเพิ่มเติมด้วยความรู้ใหม่ที่ต้องใช้งานจริง ผมมีโอกาส เป็นที่ปรึกษาคณะศึกษาศาสตร์ และได้เข้าไปร่วมวิเคราะห์หลักสูตรการเรียนระดับมหาวิทยาลัย ถึงได้เห็นความแตกต่างและความเข้าใจผิด ๆ ของคนในสังคม แต่ก็มีน้องๆ สมัยใหม่หลายคนมาเรียนทำให้จบไวมาก ไม่กี่เดือน และได้งานทำ และหลายคนได้ต่างประเทศ และพัฒนาไปไวกว่าหลายคนที่ยังเรียนไม่จบในระบบ เป็นโรงเรียนทางเลือกซึ่งในอนาคตคงมากขึ้นกว่าเดิม หากคุณสนใจอยากรู้ข้อมูล หรือมาดูงานที่โรงเรียนเรา เผื่อจะเอามาทำคอนเท้น ผมยินดีต้อนรับนะครับ เพราะผมก็ได้ประโยชน์จากคลิปของคุณมามากมายแล้วเช่นกัน ยินดีให้ข้อมูลครับ โรงเรียนไทยโฮเทล แอนด์ ครูซไลน์ -THCL academy ลองค้นหาดู อยู่ในห้าง เดอะเซ้นส์ ปิ่นเกล้าครับ คุณเคน
@envy9578
@envy9578 2 жыл бұрын
นั่งอ่านมาบอกอย่าเลือกงาน555555 มีอะไรให้เลือกก่อนวะตอนนี้ ละถึงเลือกได้ เรทขั้นต่ำแม่งยังไม่พอให้ใช้ชีวิตอยู่ในเมืองนี้เลยเหลือเงินเก็บไม่ถึงพัน คุณภาพชีวิตห่วยแตก ทำงานร่วมกันนะครับเด็กต้องปรับตัวตามองค์กรก็ถูกแต่ถ้าองค์กรยังล้าหลังทางความคิดก็ไม่แปลกหรอกครับที่เด็กจะไม่เอาว่าเด็กรักสบายหรือพวกคุณๆไม่รักสบายครับที่ทำงานมาจนถึงทุกวันนี้ก็ไม่ได้หาเงินไว้สบายตอนแก่หรอครับ ถ้าเลือกได้มีทางที่ดีกว่าแล้วทำไมเราถึงไม่มีโอกาสเลือกละครับ เด็กบางคนมีความสามารถ ขยัน ถูกตัดโอกาส (เส้นเล็ก) ระบบลูกๆหลานๆ หรือจะมองถึงสวัสดิการบางบริษัทไม่มีสวัสดิการเยอะนะครับของบางอย่างยังต้องเอาของส่วนตัวไปใช้ ค่าเสื่อมสภาพยังไม่ให้ ละที่บอกว่าค่าเดินทางติดหรูไม่มีรถไฟ คุณพี่ๆทั้งหลายเลิกขับรถส่วนตัวละมานั่งสิครับ ผมคิดว่าพวกพี่ๆก็น่าจะรู้นะครับว่ารถเมล์บ้านเรามันตรงเวลาขนาดไหน ตื่นเช้ายังเข้างานสาย บางคนต้องเดินทางหลายต่อ ค่าครองชีพที่สูงขึ้นกับเรทเงินเดือนที่คุณให้มัน balance ตรงไหนครับ บางคนต่อทั้งมอไซค์ รถเมล์ รถตู้ เรือ ก็ยังมี คิดในมุมที่เปลี่ยนไปด้วยนะครับก่อนจะบอกว่าเด็กสมัยใหม่ติดแพงเลือกงาน
@workhardplayharder4924
@workhardplayharder4924 2 жыл бұрын
ใช่ครับทุกคนมีสิทธิ์เลือก แต่สิทธิ์ที่ว่ามันคู่กับความสามารถด้วยนะ ^^ เบื่อเมืองไทย ลองมา SG ดูครับ แต่มันจะดุๆ หน่อยนะ อย่าง ของจะเอาผลขั้นต่ำค่า 10,800 หน่วย ทำ error ต่ำไป -10 ผลโดนสั่งรีเจคจร้า ฮ่าๆ
@envy9578
@envy9578 2 жыл бұрын
@@workhardplayharder4924 จริงครับอันนี้ผมเห็นด้วย มีปลาดีปลาไม่ดีปนๆกันไปครับ / เร็วๆนี้ผมก็ใกล้จะจบแล้วครับ หวังว่าจะมีโอกาสให้ได้ร่วมงานกันนะครับ ^^
@TOFFYHERO
@TOFFYHERO 2 жыл бұрын
จริงครับ กว่าจะได้งาน ต้นทุนชีวิตสูงมาก บางตำแหน่งต้องขับรถเป็น หรือมีรถขับ สนับสนุนให้เด็กรุ่นใหม่ทำธุรกิจใหม่ๆ ครับ อย่าวนกับธุรกิจเก่าๆเลยครับ
@futurechannel6999
@futurechannel6999 2 жыл бұрын
ค่าเดินทางเยอะกว่าค่าห้องอีก
@funnyhuman8545
@funnyhuman8545 2 жыл бұрын
สมัยนี้ ไม่เลือกงาน ยิ่งยากจน นี่คือความจริงครับ
@poppyyppop3050
@poppyyppop3050 2 жыл бұрын
เพิ่งสัมภาษณ์เด็กจบใหม่เกียรตินิยม ม.top2 ในไทย แต่น่าเศร้าที่ไม่ให้น้องผ่านครับ สิ่งที่เห็นได้ชัดคือความรู้พื้นฐานที่ใช้ในสายงานนั้นอ่อนมากๆ เนื่องจากการเรียนในระบบการศึกษาเน้นจับฉ่าย ให้เด็กทำเป็นทุกอย่างแบบพื้นฐานไม่แข็งแรงนะครับ ไม่ใช่เพราะเนื้อหาไม่แข็งแรงครับ แต่เพราะเนื้อหาลงลึกทุกเรื่อง และเรียนจบแล้วก็จบไป ไม่มีการต่อยอด ทบทวน
@ryujadai2
@ryujadai2 2 жыл бұрын
น่าเสียดายนะคับ แม้ว่าสิ่งที่เราต้องการ น้องอาจจะยังมีน้อย แต่คนที่มุ่งมั่นเรียนจนได้เกีรตินิยม เขาก็น่าจะไม่ใช่คนหาได้ทั่วไป คนที่อยู่ top 1-10 ของรุ่น เป็นวัตถุดิบที่มีคุณภาพสูงอยู่แล้ว ขึ้นกับว่า เราจะเจียรไนเขาได้ไหม
@tonysteelsome8095
@tonysteelsome8095 2 жыл бұрын
สาย STEM มันไม่ได้ต้องการทุกสายด้วยครับ จริง ๆ คณะวิทย์ วิศวะ คนเรียนเยอะมาก แต่จบมาก็ไปทำสายอื่นที่ไม่เกี่ยวกับ STEM เยอะมาก ก่อนหน้านี้ก็ไม่มี supply มารองรับ เช่น สาย Maths ก่อนจะมีเรื่อง data นี่จบมาแทบจะเป็นอาจารย์ได้อย่างเดียว ตอนนี้เงินเดือนเข้าเอกชนพอ ๆ หรือมากกว่าคนเรียนจบธรณี ทางปิโตร ที่แต่ก่อนบูมมาก ตอนนี้กระแสเป็นไง เชฟร่อน ปตท ให้ทุนด้านน้ำมันน้อยกว่าเดิม ไปลงอย่างอื่นแล้ว ยิ่งที่บอกเด็กมีทางเลือกไม่ต้องใช้ปริญญา สาย STEM อย่างน้อย ๆ ต้องเรียนตามกระบวนการถึงจะเข้ากับ standard ได้ครับ พวกช่าง KZbin คือมันไปลิงก์ต่อยาก พื้นฐานกระบวนการคิดมันต้องดี ขอยกกรณีคุณสมโภชน์ ถ้าแกไม่มีความรู้ด้านเคมีเลย จะมาจับธุรกิจพลังงานก็ต้องอาศัยความรู้คนอื่น ทางแก้หรอครับ ตลาดมันจะดันเองครับ ทุกวันนี้เด็กหันมาเรียน STEM เยอะมาก ตามกระแสแล้ว แต่ก่อนวิศวะเหมืองแร่นี่จบมาหางานยาก เดี๋ยวนี้จะขุด Li Cu Ni ทำแบต จะหนีจากสายนี้ยังไงได้ แต่ธุรกิจในไทยไม่รองรับเค้ามากกว่า ไป ตปท หมด
@tomorasungit2285
@tomorasungit2285 2 жыл бұрын
ผมมองว่าการศึกษาในช่วงปรับพื้นฐานความรู้เขาวางโครงสร้างมันดีแล้ว แต่การที่เด็กจบใหม่ว่างงาน มันมีปัจจัยอยู่ 2 ปัจจัยคือ 1.กำลังจ้างของตลาดแรงงาน 2.ตัวของเด็ก เพราะการทำธุรกิจ ด้านนึงข้างบน เขาจะต้องวัดผลประโยชน์ออกมาเป็นตัวเลขซึ่งจะให้ดีควร ตีไปในทางที่บวก และวิ่งขึ้นเสมอ ในปัจจุบันอย่าว่าแต่คนไม่มีงานทำเลยครับ แค่คนในองค์กรบางองค์กรตอนนี้ คนที่บรรจุอยู่ยังไม่มีงานจนว่างเองเลยรอจำหน่ายออกก็เยอะแยะ หลายทีมต้องถูกตัดออกไป แล้วเพิ่มงานให้ทีมที่เหลือเพื่อ save cost ในการจ้างก็มีอีกเยอะครับ
@ymith371
@ymith371 2 жыл бұрын
เคยต่อโท เหตุผลนึงคือเพื่อconnection เอาเข้าจริงเพื่อนร่วมห้องกว่าครึ่งเป็นเด็กจบใหม่ น้องๆน่ารักแต่ปสก.ทำงานแทบไม่มี เรียนจบไม่มีconnectionอะไรเลย ความรู้ได้มาแต่ก็ไม่ได้ใช้ประโยชน์ในการทำงาน
@mimpattaratientam9166
@mimpattaratientam9166 2 жыл бұрын
เข้าใจเลยคะ
@k.korakod4345
@k.korakod4345 2 жыл бұрын
ผมก็จบโทเหมือนกัน (ทางวิศวกรรม) ไม่ช่วยอะไรเลยหางานก็ยาก
@BIRDoBIRB
@BIRDoBIRB 2 жыл бұрын
เคยอ่านเจอว่า คนที่จบตรีแล้วต่อโทเลยคือรับความสภาพจริงที่ต้องเริ่มทำงานเลยไม่ได้ ยังไม่อยากหาเงินจ่ายเอง ติดการใช้เงินจากพ่อแม่อยู่ แต่พอจบโทมาดันหางานยากกว่าเดิมเพราะไม่มีประสบการณ์การทำงาน
@natthawutsaetia2511
@natthawutsaetia2511 2 жыл бұрын
บอกเลยว่า อย่าศึกษาในศาสตร์ที่ทำงานในประเทศ ควรมุ่งเน้นศึกษาศาสตร์ที่สามารถทำงานได้ในต่างประเทศ ถ้าคุณมุ่งเน้นการทำงานในประเทศ หากทำงานกับเอกชนคุณจะโดนกดค่าตอบแทนความสามารถด้วยวิธีบริหารของคนเอเซียที่ลดต้นทุนทุกอย่าง กดค่าแรงทุกคน หากมีเป้าหมายในงานราชการ คุณจะเจอพวกเด็กเส้น เด็กฝาก เด็กนาย สิ่งที่คนเก่งจะได้คือ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว ทำงานรับใช้พวกเด็กเส้นอีกที
@pppkaew4297
@pppkaew4297 2 жыл бұрын
พวกคนตะวันตก ที่ได้เงินเยอะเพราะเขาไม่กดเงินเดือนพนักงานใช่ไหมครับ มันต่างกันจริงๆใช่ไหมครับ
@pijittrapanyangam8549
@pijittrapanyangam8549 2 жыл бұрын
เจอแล้วเป็นจริงคะไม่ต้องหาคำตอบว่าทำไมไม่เจริญ​
@kijthanakonghakote4707
@kijthanakonghakote4707 2 жыл бұрын
เป็นหัวข้อที่น่าสนใจนะครับ และเป็นหัวข้อที่ได้ยินจากหลายๆฝ่ายและได้ยินมานานมากแล้ว ฝ่ายนายจ้างว่า "นศ.คุณสมบัติไม่ตรง" ฝ่าย นศ. ว่า "การศึกษาไม่ตอบโจรท์" ฝ่ายสถานการศึกษาเน้นหนักไปทางวิชาการ ในมุมมองของผมนะฝ่ายผู้ประกอบการไม่ผิด และทำถูกต้องแล้วที่จ้างรับเข้าในระดับค่าจ้างที่ต่ำเพราะรับเข้ามาแล้วต้องสอนงานอีกนานมากกว่าจะทำงานได้จริง ผมเคยรับผิดชอบให้สอนงาน นศ. ฝึกงานทั้งไทย (สถาบันชั้นนำ) และต่างชาติ (สอนมาแล้วหลายสิบ) เนื้อหาทางวิชาการเรียนมาเหมือนกันทั้งคู่ไม่ต่างกันเลย นศ.ไทยออกจะโชคดีมีโอกาสได้สัมผัสเทคโนโลยีที่ล้ำกว่าเสียด้วยซ้ำ แต่ในส่วนนี้ต่างประเทศกลับไม่ให้น้ำหนักซักเท่าไหร่ (อันนี้โดยส่วนตัวก็ทราบอยู่แล้ว) ส่วนนี้ นศ. ต่างชาติต้องหาความรู้เอาเอง นศ.ไทยไม่ตอบโจรท์ตรงไหน? นศ.ไทยรู้มากนะแต่นำมาใช้ไม่เป็น พื้นฐานไม่แน่น เน้นที่หาผลลัพธ์ปลายทางโดยไม่มีทฤษฎีเหตุผลมารองรับผลลัพธ์ที่ให้มา จุดนี้คือจุดตายที่แท้จริง น้องๆเค้ารู้นะไม่ใช่ไม่รู้ แต่ไม่เข้าใจอย่างถ่องแท้เลยนำไปสู่การนำไปใช้ที่ไม่ถูกต้องหรือข้ามขั้นตอนไปเลย มหาวิทยาลัยไม่ผิด มหาวิทยาลัยมีหน้าที่สอนวิชาการในเชิงลึกเพื่อการนำไปใช้ในระดับที่สูง ส่วนการศึกษาขั้นพื้นฐานต่างหากที่บกพร่องที่ไม่สามารถสอนให้เด็กเข้าใจเนื้อหาอย่างถ่องแท้จนสามารถนำไปใช้งานได้ เพราะอย่างนี้เราถึงได้ยินอยู่เรื่อย ตัวอย่างเช่น "เรียนแคลคูลัสไปเพื่ออะไรชีวิตประจำวันใช้แค่ บวก ลบ คูณ หาร" นี่เป็นตัวบ่งชี้เลยว่าการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่สามารถทำให้เด็กเข้าใจได้ว่าเรียนแล้วเอาไปใช้อะไรได้ วิทยาการสมัยใหม่ไม่จำเป็นต้องสอนอย่างมากแค่ไกด์ให้บ้างก็พอ นศ. ถ้าเค้ารักในงานที่จะทำจริง เค้าจะขวนขวายหาความรู้ด้วยตัวเองไม่ต้องบอกต้องสอนเค้่าหรอก สำคัญคือทฤษฎีหลักการที่ต้องสอนให้ลึกสอนให้เค้าเข้าใจสอนให้นำไปใช้เป็น นี่ต่างหากคือเครื่องมือที่ใช้ได้จริง คนที่เข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงจะเป็นที่ต้องการของตลาด ส่วนที่จบๆกันมามากมายจนล้นตลาด มาดูกันจริงๆก็มีเพียงส่วนน้อยที่คุณภาพตรงตามที่ตลาดต้องการ ส่วนที่เหลืออาจจะไม่ได้มีความสนใจในสายงานจริงๆด้วยซ้ำ แต่มาเรียนเพราะคิดว่าจะมีงานทำ ที่แย่กว่านั้นคือเรียนตามเพื่อน ส่วนเรื่องวิทยาการสมัยใหม่เนี่ยผมมองว่ามันเป็นเรื่องของทุกคนที่ต้องปรับตัวต้องศึกษาเพิ่มเติมด้วยกันทั้งนั้นไม่ใช่แค่ นศ. คนที่ไม่สนใจหรือรักในงานนั้นจริงๆป้อนให้ตายเค้าก็ไม่รับหรอกครับ อย่างมากก็แค่ผิวเผินนำไปใช้งานไม่ได้จริง ถือว่าเป็นการแลกเปลี่ยนทัศนคติกันนะครับ ถ้ากระทบใครก็ขออภัยมา ณ ที่นี้
@นักวิทสติดี
@นักวิทสติดี 2 жыл бұрын
เรียนมา 20 กว่าปี พบว่าแม่งไม่ได้ใช้ห่าอะไรเลย ความรู้ที่มีส่วนใหญ่ได้มาจาก internet กับ ที่เรียนพิเศษมากกว่า(สาย IT)
@kool1311
@kool1311 2 жыл бұрын
จริงครับ งานไอทีได้ความรู้จาก Google , KZbin มากกว่าถามคนในที่ทำงานอีก
@usrsdusrsd9642
@usrsdusrsd9642 2 жыл бұрын
แล้วปรับตัวยังไงครับ หรือเปลี่ยยสาย
@kyushu2479
@kyushu2479 2 жыл бұрын
จริงครับ ระบบการศึกษาไทย ทำให้ หลายๆคนเด็ก เราถึงผม ที่พยายามตั้งใจเรียนในระบบไปก็เท่านั้น ได้เกรดได้ แล้วไง ผมรู้สึกว่าอนาคตมันมืดมนอยู่ดีครับ
@kyushu2479
@kyushu2479 2 жыл бұрын
ผมเลือกที่จะลงมือทำอะไรซักอย่าง เผื่อตัวเองเก่ง Graphic design and English conversation
@mossimoj8663
@mossimoj8663 2 жыл бұрын
สาย IT ความรู้ update เร็วมากๆ lifecycle เร็วจัด ต้องเทรนนิ่งเฉพาะทาง สอบ cert ถึงจะทำมาหากินทันเค้า ภาษาอังกฤษสำคัญมากๆ
@JackInspireLight
@JackInspireLight 2 жыл бұрын
คำถามคือ สิ่งที่สอนในโรงเรียน หรือมหาลัย ยังจำเป็น หรือควรปรับปรุงหรือไม่ เมื่อวิชาที่สอน แทบจะเอามาใช้ในชีวิตการทำงานไม่ได้เลย
@Onehanded.tree.climbing
@Onehanded.tree.climbing 2 жыл бұрын
จำเป็นครับ เพราะเป็นพื้นฐานความรู้
@jjayindahra
@jjayindahra 2 жыл бұрын
@@Onehanded.tree.climbing ในที่นี้เขาน่าจะหมายถึงบางวิชาหรือบางกิจกรรมที่ดึงเอาเวลาของนักเรียนไป แต่กลับไม่เคยนำมาใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง ส่วนวิชาพื้นฐานและวิชาที่เน้นให้เชี่ยวชาญเฉพาะทางย่อมสำคัญอยู่แล้ว จึงควรละไว้ในฐานที่เข้าใจ ไม่จำเป็นต้องพูดถึงให้เสียเวลา
@ไอ่หาส้นดีน
@ไอ่หาส้นดีน 2 жыл бұрын
@@jjayindahra ทุกวิชามันสําคัญทั้งนั้นถ้าไม่ฉลาดมากเก็บเงินไว้ม.6พอ
@tomorasungit2285
@tomorasungit2285 2 жыл бұрын
@@jjayindahra บางวิชา ยังไงหรอครับ มันอยู่ที่ทัศนคติของผู้เรียนที่มองต่อการเรียน หรือป่าวครับ วิชาเรียนเขามีทั้ง นันทนาการและวิชาการ ส่วนมหาลัย ไม่มีวิชาไหนที่ไม่สำคัญนะครับ ป.ตรี คือใช้ทั้งหมด แล้วแต่ว่ามองสายงานออกหรือป่าวว่า คณะที่ตนเรียน มันจะไปสายไหนเราถนัดแบบไหน อย่าง บัญชีก็ยังแบ่งได้เป็น การเงิน การจัดการ การอุตสาหกรรม อื่นๆ ผมมองว่าทัศนคติคนต่อความสนใจต่างหากที่มีปัญหา สมัยผมเรียน เรียนหนักจะตายไม่เห็นออกมาโวยวายเรื่องเวลาเรียน เหมือนเด็กสมัยนี้้เลย แล้ววัยในการเตรียมพร้อมจะรีบไปไหนกันทำไมไม่ขัดเกลาทักษะตัวเองก่อน เด็กสมัยนี้เหมือนนับเวลาออกไปเล่นหลังจากที่ถูกบังคับให้นั่งอ่านหนังสือ 1 ชม. อ่า ไม่แปลกใจเลยทำไมเจอเด็กรุ่นๆ มาสมัครงานหรือรวมไปถึงคนที่ได้บรรจุแล้ว เรากลับต้องมานั่งสอนความรู้พื้นฐานใหม่เหมือนไม่ได้ถูกเรียนมาแทนที่เราจะเริ่มเข้าเนื้องานได้เลย
@fia-chanchannel
@fia-chanchannel 2 жыл бұрын
คณิตศาสตร์ไง พวกเบสิคใช้ในชีวิตประจำวันได้ แต่ว่าพวก พีตาโตกลัส แคลคูลัส การใช้สูตรคำนวณ คือเอาไปใช้จริงไม่ได้ถ้าไม่ใช่งานที่ต้องใช้จริงๆเช่นนักคณิตศาสตร์ นักสถิติ วิศวกร อะไรประมาณนี้
@TOFFYHERO
@TOFFYHERO 2 жыл бұрын
สมัยก่อน ผู้บริหารก็บอกต้องการคนมี multi skill ผมถามเชิงวิเคราะห์จริงว่าเป็นไปได้ไหม คำตอบน้อยมาก ได้แค่ 2 3 skill แค่นั้นละ ผมว่าเขาต้องการลดต้นทุน ไม่อยากจ้างคนเยอะ แต่ทุกอย่างล้วนมีข้อจำกัด ผู้บริหารที่มองโลกเป็นเขารู้ข้อจำกัดข้อนี้ดี อีกมุมหนึ่ง...หลานผมอยู่ ป.5 บอกว่าถ้าจบ ป.6 ผมจะไม่เรียนต่อ ผมจะไปหาขายของ ผมก็เลยบอกว่า...ดีครับ จะได้รวยก่อนเพื่อน เมื่อรวยแล้ว ค่อยกลับมาเรียนก็ได้
@Fisawl
@Fisawl 2 жыл бұрын
พี่แม่งสุดยอดเลยคับ
@puddingman2331
@puddingman2331 2 жыл бұрын
ดีครับ หลานมึงโตมาก็เป็นปัญหาสังคม
@rockza2553
@rockza2553 2 жыл бұрын
เด็กไม่ได้เป็นคนเลือกเรียน ระบบต่างหากที่เลือกคนเข้าไปเรียน มีหลายคนที่ไม่ได้เรียนในสิ่งที่ชอบ สิ่งที่อยากทำเพราะ คะแนนไม่ถึง
@NinjaCameraChannel703
@NinjaCameraChannel703 2 жыл бұрын
ได้ฟังแล้วก็คิดตามนะครับ ในฐานะพ่อที่มีลูก ในวันที่กำลังเรียน มองอนาคต การเรียนแบบ personalized learning แล้วมองว่าน่าจะเป็นทางที่อยากให้เกิดขึ้น
@jjayindahra
@jjayindahra 2 жыл бұрын
personalized learning เป็นเรื่องของคนที่อยู่ในระบบการศึกษา Level ที่ 99 แล้วครับ การศึกษาไทยยังอยู่ที่ Level 2 อยู่เลย คงคุยกันไม่รู้เรื่องหรอก แค่ขอให้ครูปรับทัศนคติเกี่ยวกับเรื่องการแต่งตัว ครูยังทำไม่ได้สักคน ถ้าให้ครูต้องมาสอนแบบนั้น เฮ้ออออเหนื่อยครับ
@neuro0555
@neuro0555 2 жыл бұрын
ค่านิยมเราผิด พ่อแม่อยากให้ลูกเรียนจบปริญญาอย่างน้อยได้ไปบอกเพื่อนบ้านได้ว่าลูกจบปริญญานะ โดยไม่สนใจว่าจบมาแล้วจะทำงานอะไร ส่วนใหญ่กลับไปทำอาชีพเดิมของพ่อแม่ เช่นค้าขาย เกษตร ซึ่งจริงๆไม่ต้องเรียนก็ได้ แต่สายอาชีพ เช่นช่างก่อสร้าง ช่างไฟฟ้า ช่างยนต์ กลับมีคนเรียนน้อย พ่อแม่ไม่สนับสนุนให้ลูกไปสายอาชีพ
@はなび-i2u
@はなび-i2u 2 жыл бұрын
สายอาชีพเมืองไทยต้องการมากแต่แต่ กดราคากันมากครับ​ เงินโคตรน้อย​เลยช่างหลายคนเลยไปต่อวิศวะกันหมด
@NTNTNT2577
@NTNTNT2577 2 жыл бұрын
มันคือค่านิ ถ้าคุยกันไม่ได้ ก็ออกจากบ้านไปหาเลี้ยงตัวเองเเบบเด็กฝรั่ง จะได้ไม่บ่นโทษพ่อเเม่
@wirotejitrungsri559
@wirotejitrungsri559 2 жыл бұрын
จบ ปวช. วุฒิเทียบเท่าจบ ม.6 จบ ปวส. เทียบเท่าเรียน ป.ตรี ถึงปี 2
@BIRDoBIRB
@BIRDoBIRB 2 жыл бұрын
@@はなび-i2u จริงโดนกดค่าแรงมาก สวัสดิการวันหยุดวันลา ด้อยกว่าคนจบปริญญาชัดเจน มีงานนอกอะไร รู้ไม่รู้สายอาชีพโดนหมด โอฟรีเจ้านายสั่งเสาร์อาทิตย์ ทำจนป่วยโดนด่า ถ้าทำได้คือเฉยๆ ทำไม่ได้คือแย่ แย่มากๆโดนกดดันถึงไล่ออก
@BIRDoBIRB
@BIRDoBIRB 2 жыл бұрын
@@wirotejitrungsri559 ปวช. ดีกว่า ม.6 นิดหน่อย แต่ ปวส. ดันแย่กว่า ป.ตรี เทียบกับเงินเดือนสวัสดิการ และการให้คุณค่าจากตำแหน่งปริญญา
@akaradechritmai586
@akaradechritmai586 2 жыл бұрын
ทำไมต้องรีบเรียนมหาลัย ในเมื่อเด็กส่วนใหญ่ยังหาตัวตนของตัวเองไม่เจอเลยว่าชีวิตต้องการอะไร ส่วนตัวอยากให้เด็กที่จบมัถยมต้นใช้เวลาค้นหาตัวตนของตนเองจะด้วยวิธีไหนก็ตามหรือจะใช้วิธีเรียนต่อก็ได้ไม่ผิดกติกา แล้วลงมือทำ ทำในสิ่งที่ตนหลงไหลค้นหาว่ามันใช่ตัวเราหรือไม่ ถ้ามันไม่ใช่ก็ถือเป็นประสบการณ์ชีวิตที่ดีแล้วค้นหาใหม่ ผมคิดว่าวันนึงผลของการกระทำมันจะเป็นตัวบอกเราเอง การเรียนรู้ในสิ่งที่อยากรู้ผมว่ามันสำคัญกว่าการเรียนในสิ่งที่เราไม่อยากเรียนแต่เราต้องเรียน เพราะสุดท้ายมนุษย์ทุกคนต้องการความสุขครับความสุขที่ทุกคนได้ทำในสิ่งที่ตนต้องการ
@Y_PALSCHS_ML
@Y_PALSCHS_ML 2 жыл бұрын
ระบบแนะแนวในโรงเรียนก็แย่ ปล่อยเด็กไปเผชิญชะตากรรมเอง ไม่ได้มีแนวทางที่ดีพอสำหรับเด็ก
@jjayindahra
@jjayindahra 2 жыл бұрын
การที่เด็กจะค้นหาตัวเองเจอหรือไม่เจอมันไม่ได้ขึ้นอยู่กับเด็กอย่างเดียวนะคุณ ฟังดูแล้วเหมือนว่าคุณกำลังโทษไปที่เด็ก ว่าสาเหตุที่เด็กไทยส่วนใหญ่จบ ม. 6แล้ว ยังไม่รู้ว่าอยากเรียนต่อคณะไหน หรืออยากมีอาชีพอะไร เกิดจากความบกพร่องของตัวเด็กเอง ล้วนๆ แค่เริ่ม คุณก็ผิดแล้ว จึงทำให้วิธีการและแนวคิดของคุณฟังดูทะแม่งๆไปด้วย เจอคำถามแรกของคุณเข้าไป ก็ต้องสะอึก "ทำไมต้องรีบเข้าเรียนมหาลัย?" ถ้าไม่เรียนตอนนี้ แล้วคุณจะให้ไปเรียนตอนไหน? อุตส่าห์เตรียมพื้นฐานมาตั้ง 12 ปี ประถม 6 ปี มันธยมอีก 6 ปี นี่คุณยังคิดว่ารีบเกินไปอีกเหรอ? เอ๊ะ? แต่ว่าระบบนี้ทางกระทรวงเขาจัดมาให้เองนี่นา ใช่ว่าเด็กเลือกเองได้ซะเมื่อไหร่ ต่อให้รีบแค่ไหนมันก็ต้องไปตามลำดับขั้นเหมือนกันทั้งโลก ถ้าคุณคิดว่ามันเร็วเกินไป ผมว่าคงต้องไปบอกให้กระทรวงเพิ่มมัธยมอีก 3 ปีจนถึงมัธยม 9 แต่ผมว่านะ ต่อให้เด็กเรียนถึงมัธยม 9 จบออกมามันก็ยังไม่รู้ว่าตัวเองชอบอะไรหรืออยากทำอาชีพอะไรอยู่เหมือนเดิมอีกนั่นแหละ เพราะอะไรรู้มั้ย??? เพราะระบบการเรียนการสอนมันห่วยไง ห่วยทั้งเนื้อหา ห่วยทั้งวิธีที่สอน ห่วยทั้งกฎระเบียบ ห่วยทั้งคนใช้กฎ โดยเฉพาะครูที่มีทัศนะคติแบบยุคโบราณ กลายเป็นข้อจำกัดไม่ให้เด็กมีจิตนาการ ไม่เปิดโอกาสให้เด็กมีความคิดเป็นของตัวเอง กลัวความผิดพลาดจนไม่กล้าแสดงความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ตัวเองจะเลือกให้กับตัวเอง เด็กๆใช้เวลาอยู่ในโรงเรียนถึง 12 ปี แต่โรงเรียนกลับไม่สามารถให้แนวทางอะไรใดๆสำหรับก้าวต่อไปของพวกเขาได้เลย ตกลงว่าเด็กที่เรียนอยู่ในระบบการศึกษาไทย ได้อะไรออกไปจากโรงเรียนบ้าง? แค่ช่วยให้เด็กรู้จักตัวเองยังทำไม่ได้ ก็สมควรแล้วที่เด็กจะไม่ให้ความเคารพนับถือบุคลากรในระบบการศึกษา
@peetirut
@peetirut 2 жыл бұрын
จบช้าก็เจอเรื่องอายุไง อายุมากมันไม่เอาอะบางงาน
@BIRDoBIRB
@BIRDoBIRB 2 жыл бұрын
@@Y_PALSCHS_ML แนะแนวคือคาบว่างอะ ครูก็กั๊กช่องทางเข้าโรงเรียนดีๆให้แค่เด็กมีแววไม่กี่คน นอกนั้นปล่อยทิ้ง
@มงกุฎสายสณะ
@มงกุฎสายสณะ 2 жыл бұрын
เมืองไทยมีการสอนที่ไม่บูรณาการต่อเนื่องเพราะบางวิชาที่ไม่สำคัญก็ยังเอามาสอนบางวิชาที่จำเป็นแต่ก็สอนมากเกินไปเช่นวิชาภาษาไทย เรียนตั้งแต่อนุบาลจนถึงปริญญา ระยะเวลาในการเรียนมากเกินไปรัฐพยายามอัดข้อมูลให้นักศึกษามากๆโดยที่บางวิชาแทบจะไม่ได้ใช้ในวิชาชีพ การเปลี่ยนแปลงจะยากเพราะกลุ่มที่หวงอำนาจเก่ากลัวความเปลี่ยนแปลง บางอาชีพที่สำคัญกับเปิดรับนักเรียนน้อย เช่น แพทย์ หมอ พยาบาล ประเทศไทยคงต้องรอต่อไป
@ชาญวุฒิหวานสนิท
@ชาญวุฒิหวานสนิท 2 жыл бұрын
ผมฟังผู้บรรยายแล้วประทับใจมากและมีหลายๆอย่างที่ผมคิดเหมือนท่านเลยแต่ไม่สามารถเกิดได้ในโรงเรียน เนื่องจากเขาไม่ยอมรับและหาว่าความคิดที่ดีกว่าเป็นตัวทำลายระบบประเพณีที่มีมาแต่เดิม แต่เขาไม่คิดว่ามันทำให้เกิดการพัฒนาและทำให้มันน่าอยู่ น่าเรียนยิ่งขึ้น โจทย์3ข้อนั้นผมเห็นด้วยกับผู้บรรยายนะครับ เป็น3โจทย์ใหญ่ระดับนานาชาติเลย ซึ่งนักการศึกษาไทยโดยเฉพาะที่อยู่ในกระทรวง ไม่สามารถคิดได้ให้มันตอบโจทย์กับแรงงานที่ภาคเอกชนต้องการ ผลิตออกมาเยอะแต่เขาไม่เอา ประมาณนั้น สถาบันการศึกษาต้องหาสถาบันที่แบบเป็นที่ยอมรับเข้ามาร่วมทำงานได้แล้ว แต่ก็มีอีก2ข้อที่ผมเชื่อว่าสถานศึกษาไทยแทบทุกสถาบันที่จะไม่ยอมคือ ผู้เรียน ผู้ปกครอง มีสิทธิ์ในการประเมินสถานศึกษา และ การที่สร้างความมั่นใจว่าจบแล้วมีงานทำหรือถ้าได้งานทำไม่ดีจะไม่คิดค่าเรียน 2 ข้อนี้พวกเขาคงรับไม่ได้แน่ๆ แต่ผมชอบนะที่ผู้บรรยายพูดว่าเขาออกแบบหลักสูตรมาให้ตรงโจทย์รัฐบาล ไม่ได้ออกแบบมาให้ตรงกับตลาดแรงงานหรือภาคเอกชน ชอบมากครับ มันตรงมาก ถูกใจอยากยกมือให้100นิ้วเลย
@Natthakit22
@Natthakit22 2 жыл бұрын
เก่งจริง ยังใงเขาก็รับเข้างาน เกรดเป็นแค่ส่วนประกอบการตัดสินใจของผู้ว่าจ้าง ที่สำคัญคือความสามารถและประสบการณ์ ที่ดีๆมีเยอะ แต่ต้องพยายามหาหน่อย อย่ารอให้เขามาหา เราต้องสร้างตัวเองให้พิเศษกว่าคนอื่น การศึกษาไม่ครอบคลุม ก็หาความรู้เพิ่มเติมเอง ใจรักงานไม้ขี้เลื่อย ใครๆก็อยากรับ.
@รัฐธนภูมิพึ่งความสุข
@รัฐธนภูมิพึ่งความสุข 2 жыл бұрын
งานมีอยู่เยอะแยะมากมาย ถ้าเรามีมุมคิดสร้างสรรค์มีความเพียรพยายาม ไม่อยู่ในวังวนของ ความคิด ว่าเราเป็นบัณฑิต สร้างตัวเองให้มีงาน สัมมาชีพย่อมมีแก่คนที่มีปัญญา ยิ่งเรียนมาก ปัญญาไม่เกิด นั่นแหละคือคนที่ว่างจากงาน ขอบคุณครับ
@แตงโมลูกโต๊โต-จ1อ
@แตงโมลูกโต๊โต-จ1อ 2 жыл бұрын
การศึกษาไทย เน้นให้เด็กท่องตำราเพื่อกาข้อที่กำหนดให้ถูกมา 16ปี หรือมากกว่านั้น สิ่งที่คุณบอกมันคือทักษะ แต่ใน รร. ไม่มีสอน เอาแค่วาดรูป ระบายสีออกนอกกรอบยังโดนหักคะแนน ซึ่งความคิดสร้างสรรค์ ความคิดนอกกรอบ มันคือทักษะต้องได้รับการฝึกฝน เมื่อเด็กไม่เคยฝึกมันจึงไม่มี เพร่ะงั้นเจ้าสัวจึงมีน้อยกว่าคนทำงานช่วงไหนอะไรขายดีก็ขายตามๆกันเพราะคิดเองไม่เป็น ระบบการศึกษาไทยล้าหลัง หลักสูตรก็ใช้ของเดิมเมื่อ50ปี ในขณะที่โลกเปลี่ยนไปแบบก้าวกระโดด และไม่กระจายให้ส่วนภูมิภาคแต่ใช้ระบบส่วนกลาง ซึ่งมันไม่เหมาะกับบางพื้นที่
@tata-zr8cd
@tata-zr8cd 2 жыл бұрын
การศึกษามันไม่ต้องไปตอบสนองตลาดเลย ถ้าคิดจะยึดตามตลาด การศึกษาในมหาลัยมันมีอีกหลายสาขาที่ไม่ได้เซิฟไปกะบระบบตลาด ละคุณจะให้ค่าตลาดกับการศึกษาไปหรอ เช่นสาขาปรัชญาที่เน้นการคิดวิพากษ์เเต่มันดันไม่รับกับตลาดเเรงงาน ตัววิชาก้ต่องหายไปหรอ มหาวิทยาลัยมันคือเเหล่งรวมความรู้รวมการวิจัยต่างๆไม่ใช่สถานที่เเสวงหากำไรในด้านการศึกษา เเล้วไอ้ที่บอกการศึกษาต้องยึดตามผู้เรียนเรียนเเล้วต้องไม่ตกงานนี่มันคือคำที่บอกว่าการเรียนไม่ได้รองรับกะผู้เรียนเลย การเรียนเเบบที่คุณเคนว่ามันรองรับนายจ้างรองรับธุรกิจที่รอเเรงงานเข้าไปทำชัดๆ คิดว่าจะปล่อยให้เเนวทางการศึกษาไปตามอย่างที่คุณว่าจริงๆหรอ การเรียนรู้ก็ตกกลายเป็นทาสของตลาดไปหมด
@mrjugh1446
@mrjugh1446 2 жыл бұрын
ประเด็นนี้น่าสนใจแฮ๊ะ
@burinwannajarung8996
@burinwannajarung8996 2 жыл бұрын
ใช่ มหาลัยควรเป็นแหล่งรวมความรู้ทุกศาสตร์ มากกว่าจะมาเซิร์ฟระบบใดระบบนึง บางทีคนเราโทษอะไรไม่ได้ก็โทษอย่างอื่นไว้ก่อน ระบบการศึกษาก็เป็นเหยื่ออีกตัวนึง
@แตงโมลูกโต๊โต-จ1อ
@แตงโมลูกโต๊โต-จ1อ 2 жыл бұрын
แล้วจะเรียนเพื่ออะไร เพราะเรียนจบก็อยากเอามาใช้ทำมาหากิน แต่เด็กเขาไม่รู้เพราะมีแต่รุ่นพี่ที่จบมาแนะแนว(บ้าง) ครูแนะแนวที่ไม่เคยแนะแนวอะไรเลย เรียนไปงั้นๆ ให้จบๆเอาวุฒิ แล้วไปเผชิญชะตาตอนหางาน หลายคนไม่รู้ด้วยซ้ำว่าชอบอะไรไม่ชอบอะไร มีให้เลือกวิทย์กับศิลป์
@รัชฏวรรณจาบลอนกา
@รัชฏวรรณจาบลอนกา 2 жыл бұрын
คนไทยเก่งค่ะ ปรับตัวเก่ง มีความสามารถหลากหลายในงานที่จะสร้างรายได้ แต่... ระบบราชการ และการบริหารการจัดการของเมืองไทยล้าหลังมาก จากการที่ทางรัฐบาลที่ผ่านมาตั้งแต่2500หกสิบปีแล้วค่ะ ในต่างจังหวัด ถนนหนทางไม่ดี การเดินทางลำบาก สาธารณะสุข และวิถีชีวิตแบบเดิมที่ยังไม่เกิดประโยชน์แก่ ธุรกิจ ที่จะขยายได้ นอกจากจะกระจุกแต่ในเมืองใหญ่..จนตอนนี้เสื่อมโทรม สภาพแทบจะอาเจียน ก็ชีวิตทุกคนต้องใช้ชีวิต และ ต้องทำงาน ไม่มีธุรกิจไม่มีงานจะใช้ชีวิตอย่างไรได้ค่ะ คิดบนพื้นฐาน และจำนวนประชากร หาส่วนแบ่งการตลาด ตอบโจทย์วิถีชีวิตตามกาลปัจจุบัน น่าสนุกนะคะ แต่ที่บริษัทมุ่งผลกำไรเกินควรคือ ปัญหาที่น่าเบื่อ ไม่ชอบคนรวยกับคนเลว
@omlet.layer8783
@omlet.layer8783 2 жыл бұрын
มหาลัยเสียเวลามาก 4-5ปีในบางสายงานไม่จำเป็นขนาดนั้น เอาจริงอัดมาเลย เน้นตรงประเด็นแล้วให้เด็กไปเน้นปฏิบัติจริงๆ ม.4-6เนี่ยให้ฝึกปสกเลย ให้ลองทำให้สิ่งตัวเองชอบเลย ป1-6 ม.1-3 ก็สอนพวกพื้นฐานการศึกษาด้วยตัวเอง แหล่งข้อมูลต่างๆให้เด็กรู้ว่าจะสามารถศึกษาเองยังไง แล้วก็ให้เด็กค้นหาตัวเองให้เจอ ถ้าเด็กเจอตัวเองนะ คุณไม่ต้องสอนอะไรมากเลยเดี๋ยวเด็กจะมุ่งไปเลยแล้วการเรียนรู้ของเด็กจะมีควาหมายมากขึ้นเพราะรู้จะเรียนไปทำไม ครูในยุคใหม่=ผู้เชี่ยวชาญในสาขาในศาสตร์นั้นๆ คอยให้คำแนะนำกับเด็กที่สนใจในศาสตร์นั้นๆ เป็นที่ปรึกษาครูไม่ใช่พระเจ้า แล้วก็ต่อไปมหาลัยต้องบังคับว่าถ้าจะเข้าสาขานั้นๆต้องมีประสบการณ์ในการปฏิบัติในสายนั้นๆมาก่อนก็คืออย่างที่ผมบอกไป ม.4-6ควรให้เริ่มฝึกปฏิบัติ ทดลองปฏิบัติจริงจากการค้นหาตัวเองในตั้งแต่ช่วงชั้นป.1-ม.3 พวกนนี้จะเป็นการกระตุ้นให้เด็กออกไปฏติบัติมากขึ้นกว่าการท่องจำหนังสือ พ่อแม่ต้องสอนเด็กให้กล้าที่จะลองทำกล้าที่จะผิดไม่ต้องทำให้perfectแค่ลองให้รู้ว่าชอบหรือไม่ชอบ จริงๆโรเรียนควรเปลี่ยนเป็นสนามทดลองส่วนพวกตำราความรู้นั้นอยู่นอกโรงเรียนอยู่รอบๆตัว ดั้งคำไอสไตน์ “Information is not knowledge. The only source of knowledge is experience.”
@WutipongWongsakuldej
@WutipongWongsakuldej 2 жыл бұрын
ผมเป็น Programmer เรียนจบ Computer Science มา สิ่งนึงที่พบคือในการทำงานจริง ในหลาย ๆ บริษัท เราไม่ได้ใช้วิชาเกินปีหนึ่ง (นั่นคือ วิชาเขียนโปรแกรมเบื้องต้น) ซึ่ง เด็กมัธยมมันก็ทำได้ (เห็นว่ามีการเรียน Python กันในมัธยมกันแล้ว) เราไม่ได้ใช้อะไรมากกว่านั้น เพราะวิชาที่เป็นวิชาขั้นสูงกว่านั้น เรียนลึกกว่านั้น เราไม่มีตำแหน่งงานมารองรับ เพราะเราใช้เทคโนโลยีนำเข้าทั้งหมด ผมก็เลยคิดว่าจริง ๆ แล้ว แรงงานที่สำคัญที่สุดในบ้านเราก็น่าจะเป็น แรงงานระดับล่าง แรงงานที่ไม่ต้องใช้ฝีมือ หรือเปล่า เพราะยังไงซะเราก็นำเข้าเทคโนโลยีขั้นสูงแทบจะ 100% พอมองแบบนี้ก็เริ่มสงสัยว่า สายงานอื่น ก็สามารถที่จะรับคนที่เรียนจบมัธยมมาทำงานได้เลย ไม่ต้องเรียนมหาวิทยาลัย ไม่ต้องไปเรียนบู้ทแคมป์ หรือเปล่า ? แน่นอนว่าบางสายงานก็คงทำไม่ได้ เช่นแพทย์ เป็นต้น แล้วถ้าเราไม่ได้จำเป็นต้องใช้วิชาชั้นสูงขนาดนั้น เราก็ลดปริมาณสถานศึกษาที่สอนความรู้ระดับสูงขนาดนั้นไป แล้วไปเน้นที่คุณภาพของสถานศึกษาแทนจะดีกว่าหรือเปล่า เพราะผมได้ยินมาว่าหลาย ๆ มหาวิทยาลัยก็เน้นปริมาณนักศึกษาที่เรียนจบไป มากกว่าจะมาดูว่าคนที่เรียนจบไปจะมีความสามารถอย่างที่ควรจะเป็นได้หรือเปล่า ส่วนวิชาที่สอนในมหาวิทยาลัย ผมรู้สึกว่าสายผมค่อนข้างโอเคนะครับ ถ้าเราจะปั้นคนไปทำงานที่ต้องการความรู้ระดับนั้น แต่งานที่ใช้ความรู้ความสามารถระดับนั้นในบ้านเรามันไม่มีเท่านั้นเอง
@kyushu2479
@kyushu2479 2 жыл бұрын
Human life in Thai and Thai education system คุณภาพการศึกษาไม่ดีเลยครับมองในเรื่องของ management ผมรู้สึกว่าทุกสิ่งอย่างมันรวมศูนย์มากไปและ ไม่เปิดกว้างไม่ตอบโจทย์ สำหรับ เด็กไทย และ คนรุ่นใหม่ที่มองว่า การศึกษาไทย ยังล้าหลังเมืองนอกครับ 😢
@tum8652
@tum8652 2 жыл бұрын
จากที่ผมสัมภาษณ์มา เลือกงาน Soft Sill ต่ำ ขอเงินเดือนเกิน Skill อันนี้ในส่วนงานทางด้านวิศวกรรมนะครับ ไม่ใช่ทุกสายงาน ที่แย่สุดยังไม่รู้เลยว่าตัวบริษัททำธุรกิจอะไร
@bommanable
@bommanable 2 жыл бұрын
ผมเจอไม่อดทน
@anchanchaiyanuwong4495
@anchanchaiyanuwong4495 2 жыл бұрын
เขาถึงมีคลิปนี้ออกมา คืออย่าโทษคน เพราะคนเป็นเพียง outputของระบบ ต้องไปแก้ที่input
@KritJirakosol
@KritJirakosol 2 жыл бұрын
โทษแต่ เด็กว่า ไม่มี สกิล ถามหน่อย รร มหาลัย สอน สกิล ที่งาน ต้องการไหม กูจบ ปเอก หางาน ที่ไทย แทบ ไม่มี นี่ทำงาน เมื่อนอกจ้ะ อย่าโทษ เด็กเลยครับ เค้าเรียนจบ = เค้าทำหน้าที่ของเค้าแล้ว ถ้าเค้าไม่ยังไม่มี สกิล โทษ ระบบการศึกษานะคับ
@workhardplayharder4924
@workhardplayharder4924 2 жыл бұрын
คนละสาขา ทำไมรู้สึกเดจาวูแบบไม่มีเหตุผล เมื่อก่อนจนปัจจุบันระบบมันไม่ได้ต่างกัน แต่ทำไมลักษณะคนถึงต่างกัน น่าสงสัย งานมันไม่ได้ไม่มีนะ ขาดคนตลอดตั้งแต่เมื่อก่อนยันตอนนี้ แต่หาคนมาทำงานได้จริงยากเฉย
@asia2see
@asia2see 2 жыл бұрын
ผมอยู่สายปิโตรเลียม คนรุ่นใหม่เข้ามาทำลายระบบหมด ไม่เห็นคุณค่าของความชำนาญงานของคนเก่าไม่ให้ค่า เอาใบปริญญามาวัดแย่งชิงอำนาจบริหารปกครองกัน สร้างแต่งานกระดาษโกหกเอาแต่ตัวชี้วัด ในที่สุดหน้างานทำงานลำบากและพ่ายแพ้เศรษฐกิจบริษัทล้มหายตายจาก พูดง่ายๆสร้างความยิ่งใหญ่ระดับชาติจริงเพื่อส่งออกไม่ได้
@nirubon3100
@nirubon3100 2 жыл бұрын
ส่วนตัวที่มองว่า stem น้อยเพราะการศึกษาตั้งแต่ปะถม มัธยม ที่เน้นท่องจำ วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่สอนกันแบบท่องจำอย่างเดียว ทำให้เด็กค้นหาตัวเองไม่เจอ สุดท้ายก็เลือกอันที่มันกลางๆ อย่างเช่น วิชาบริหาร แล้วก็มาพึ่งรู้ตัวว่าตนเองชอบด้านอื่นมากกว่า แล้วสุดท้ายในมหาวิทยาลัยก็สอนแบบท่องจำอย่างเดียวอีก พราะอาจารย์บางท่านไม่ได้มีประสบการณ์ตรง หรืออาจจะด้วยเหตุผลอื่นๆก็ตามที สุดท้ายเด็กใหม่ก็ต้องมาเริ่มใหม่ด้วยการตามหางานไปเรื่อยๆ...
@sherlynsweetie5620
@sherlynsweetie5620 2 жыл бұрын
+1
@SandaySan
@SandaySan 2 жыл бұрын
คนมีลูกเล็กอย่างผมนี่เหนื่อยใจแทนลูกเลย ผมเห็นหลานๆ ของลูกพี่ลูกน้องทะเลาะกับพ่อเเม่ของเค้าเรื่องการเลือกคณะเรียนระดับมหาวิทยาลัย หลานๆจะมักเลือกคณะที่ตัวเองชอบ หรือ อยากเรียน โดยให้เหตุผลว่าชีวิตนี้ขอเลือกเองบ้าง อีพ่ออีแม่ก็ไม่ยอมสิคุยกันไม่จบ ไม่รู้เรื่องสรุปความสัมพันธ์แย่ลงเรื่อยๆ จนในที่สุดพ่อแม่ก็ต้องยอมให้เลือกเรียนเอง พอจบมาตอนนี้กลายเป็นไม่มีงานทำ ว่างงาน เพราะคนมี่จบมาสายนี้มันเยอะเกิน ประกอบกับเศรษฐกิจซบเซาและภาวะโควิด พ่อแม่ได้ทีก็บ่นลูกว่า บอกแล้วว่าให้เรียนสายที่พ่อแม่บอก ทุกวันนี้ก็เลยอยู่บ้านไปวันๆ ขอเงินพ่อแม่ใช้ ไปวันๆ หนักใจแทนเลยครับ พอมีคนหางานให้ก็ไปทำได้ไม่ถึงเดือนลาออก. ถามว่าทำไมลาออก เจ้านายคุยไม่รู้เรื่อง งานหนัก งานเยอะ. อยู่บ้านก็ได้เงินใช้แถมได้มากกว่าเงินเดือน จบเลย ไปต่อไม่ถูก
@RusterZa
@RusterZa 2 жыл бұрын
ไม่ใช่ที่สาขาวิชาแล้วครับ อันนี้สบายจนเคยตัว
@bestygallery795
@bestygallery795 2 жыл бұрын
พูดในฐานะที่จบสายศิลปะนะคะ ลูกเจี๊ยบมักไม่เชื่อฟังคำเตือนของไก่ทอดค่ะ (^^;) เตือนมาไม่รู้กี่ปีแล้วว่าคณะศิลปะในมหาลัยไทยมันห่วย เด็กมันก็ไม่ฟังค่ะ ถึงเวลานั้นก็ได้แต่บอกว่า ‘พี่เตือนเธอแล้ว’
@manidapenglam845
@manidapenglam845 2 жыл бұрын
เราเคยมีเพื่อนที่เป็นแบบด้านบน ประมาณปีกว่า พ่อแม่ตัดใจบอกไม่ให้เงินแล้ว ในที่สุดเจ้าตัวก็ต้องทำงานค่ะ
@ronnachaiaramraks3336
@ronnachaiaramraks3336 2 жыл бұрын
@@RusterZa เพราะสบายเลยคิดว่า เรียนจบออกมาเดี๋ยวก็ทำได้เองน่ะครตบ
@sigmaboi1708
@sigmaboi1708 2 жыл бұрын
ความคิดเห็นส่วนตัวของผมนะต้องส่งเรียนอินเตอร์ครับได้สังคม และ คอนเนคชั่นกับภาษา และการศึกษาที่ทันยุคสมัย แต่ถ้าคุณพ่อ budgetจำกัด ลองศึกษาจากคอร์สของแอพการศึกษาของต่างประเทศด้วยกันไปกับลูกได้เลยครับ เรียนไปพร้อมๆกับลูกถือว่าเป็นความทรงจำที่อบอุ่นดีนะครับ และเรากับ ลูกก็ได้ทักษะและใช้เวลาร่วมกันด้วย เผลอๆ ผู้ปกครองเองก็ช่วยกันสร้างธุรกิจกับลูกเลยครับ คอยผลักดันสนับสนุนเขาก็ดีเหมือนกันนะครับ👍
@tonghsengsom
@tonghsengsom 2 жыл бұрын
After listening to the secret sauce every episodes and I found out the recipe how I want to make my secret sauce ( u will learn so many things from the Secret Sauce even school don't teach you ) Thanks to you all (the secret sauce team)now I m self trained myself learning more skills and prepare to jump in the near future (tech)job market.
@montisamai5134
@montisamai5134 2 жыл бұрын
@montisamai5134
@montisamai5134 2 жыл бұрын
ๅ++
@youarewho9876
@youarewho9876 2 жыл бұрын
Great idea!
@tonghsengsom
@tonghsengsom 2 жыл бұрын
@@montisamai5134 ဖဒ်ယွဆက်
@samyoubg8982
@samyoubg8982 2 жыл бұрын
I am the one self searching for better education as you guys knew internet is helping me loads and good luck guys
@wil2702
@wil2702 2 жыл бұрын
สมัยเด็กๆเมื่อสามสิบกว่าปีก่อน ใกล้จบม.3แล้ว แม่ถามว่าอยากเรียนอะไร บอกว่าอยากเรียนเฉพาะที่ได้ใช้ในงานจริงๆ ประมาณไม่อยากเปลืองสมองมาก ฮาาา สรุปว่าเรียนต่อสายพาณิชย์ เอกภาษาอังกฤษ ช่วงนั้นก่อนต้มยำกุ้งนิดหน่อย งานหาง่ายมาก เลือกทำบริษัทข้ามชาติ เงินเดือนเยอะดี ทำงานเป็นภาษาอังกฤษ ฐานเงินเดือนก็จะสูงหน่อย
@คนไทยมีกินมีใช้มีศักดิ์ศรีและ
@คนไทยมีกินมีใช้มีศักดิ์ศรีและ 2 жыл бұрын
ผมเข้าใจอีกแบบ คนที่สอน(ครู)ทั้งชีวิตเขามีหน้าที่แค่สอน จะผิดหรือถูกมันอีกเรื่อง อย่างไรเขาก็ได้เงินเดือน แต่ลูกศิษย์ที่ได้รับข้อมูลผิดๆมา แล้วไปทำงาน คนเป็นหัวหน้าคนเขามองออกว่าทำงานเป็นมั้ย
@aperireaugustus3090
@aperireaugustus3090 2 жыл бұрын
เอาเข้าจริงๆ บริษัท องค์กร ต่างๆ ไม่ได้อยากเข้าร่วมออกแบบหลักสูตร ไม่ได้ร่วมการันตีว่าจะรับเด็กเข้าทำงาน เพราะอัตราส่วนที่จะรับมีน้อยกว่าจำนวนที่เด็กจะเรียนจบ ค่อนข้างยาก ที่จะให้การันตีได้ว่าคนจบทุกคนจะมีงาน
@burinwannajarung8996
@burinwannajarung8996 2 жыл бұрын
พนักงานบริษัทมีเยอะกว่าบริษัท ต้องสร้างให้คนไทยมีความคิดแบบ ceo จะได้มีบริษัทผุดขึ้นมาขึ้นมารองรับแรงงาน ที่เพิ่มขึ้นทุกวัน
@popunjaja3343
@popunjaja3343 2 жыл бұрын
นอกจากความคิดได้ ต้องมีเงินด้วย ในการสร้างบริษัท
@burinwannajarung8996
@burinwannajarung8996 2 жыл бұрын
@@popunjaja3343 งั้นก็งมโข่งกันต่อไป 😆😆😆
@feelalive4374
@feelalive4374 2 жыл бұрын
ใช่เลย รัฐต้องส่งเสริม SMEs ไม่ใช่ไปอุ้มนายทุน ทุกคนจบมาต้องมีโอกาสในการสร้างงานของตัวเองได้ไม่ใช่รอแต่จะไปเป็นลูกจ้างเขา
@aodaddgaming
@aodaddgaming 2 жыл бұрын
ก็ถูกแล้วนิครับ พนักงานเยอะกว่าบริษัท เพราะ1บริษัทมีพนักงานหลายคน ถ้าพนักงานน้อยกว่าบริษัท บางบริษัทก็ต้องมีพนักงาน = 0 ใครทำงานครับบริษัทนี้ มันจะเกิดโปรดักได้ยังไง
@はなび-i2u
@はなび-i2u 2 жыл бұрын
@@aodaddgaming เอิ่มอันนี้แกล้งไม่รู้รึเปล่าครับ ผมว่าเขาหมายถึงอัตราส่วนรึเปล่าน้า
@beam1404
@beam1404 2 жыл бұрын
ตลาดไม่มีครับ การศึกษาจะแย่ยังไงก็ไม่มีผลมาก ถ้างานมีเยอะซะอย่างยังไงก็ไปเรียนรู้เพิ่มเติม แล้วสิ่งนี้ไม่ใช่หน้าที่ของเด็ก เพราะเด็กทำตามระบบแล้ว ผู้ใหญ่ในบ้านเมืองต้องสร้างงานมารองรับ
@อืซี่โมบาย-ฉ9ษ
@อืซี่โมบาย-ฉ9ษ Жыл бұрын
ใช่ ครับ กับ การจับต้องนำมาสวมใส่ ต้องตรงตามแบบแผนของเป้าหมายครับ และ เรา ต้องแก้ไข แบบแผนงานการดำเนินการใหม่ กับ ผลลัพธ์ ของ เป้าหมายใหม่ ครับ เราต้องมีแผนงานดำเนินการในการจับเข้ามาใส่แผนการดำเนินการครับ
@pannatatjuthasmith239
@pannatatjuthasmith239 2 жыл бұрын
1. ปชช.ควรทราบเสียก่อนว่า รถไฟฟ้าที่มีใช้กันอยู่ มันมีอยู่ 5 ชนิด - รถไฮบริด HEV - รถไฮบริดเสียบปลั๊กได้ PHEV - รถเสียบปลั๊ก BEV หรือ ที่ชอบเรียกย่อๆว่า รถ Ev - รถแบบ E POWER หรือ รถ EV +เครื่องยนต์ +เครื่องปั่นไฟ - รถไฟฟ้าเซลล์เชื้อเพลิง หรือ Fuel cell หรือ FCEV 2. รถไฟฟ้าทั้ง 5 ชนิด 3 ชนิดหลัง จะมีชิ้นส่วนในระบบขับเคลื่อนที่น้อยลง การมีชิ้นส่วนที่น้อยลง เป็นผลดีต่อ บ.แม่เจ้าของแบรนด์ แต่ เป็นผลเสียร้ายแรงต่อ บ.Oem รับจ้างผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3. รถเสียบปลั๊ก แบบ EV ....จริงแล้ว นวัตรกรรมนี้ เป็นได้แค่ นวัตรกรรมย้ายที่ปล่อยมลพิษ จากรถ ไปเป็น รฟฟ.แทน เป็น รถที่ช่วยรักษาผลประโยชน์ จากภาคขนส่งให้ยังตกแก่กลุ่มทุนผูกขาดเดิมๆ คือ รฟฟ. บ.ถ่านหิน และ บ.ปิโตรเลียม และ นวัตรกรรมนี้ ยังช่วยยืดอายุ ระบบเปโตรดอลล่า ของ อเมรืกา ที่เอาเปรียบชาวโลกมานาน จากยุค ปธน.นิคสัน ให้ยังสามารถยืดยาวออกไปอีกได้ ( เปโตรดอลล่า คือ การใช้อำนาจ ของ อเมริกา บังคับชาวโลก ซื้อปิโตรเลียม เป็นดอลล่า เพื่อเพิ่มความสำคัญให้ดอลล่า ) ( และ พาลนำไปสู่ การพิมพ์แบงค์ดอลล่า ของ มอเมรืกา โดยไม่ต้องมี ทองคำต้ำในที่สุด ดังนั้นที่ผ่านมา ) ( กลุ่มทุนผูกขาดของอเมริกา ถึงชอบทุบราคาทองคำ มาลอด ) 4. ในรถไฟฟ้าทั้ง 5 ชนืด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น.....มีเพียงชนิดเดียว ....ที่สามารถจะตอบโจทย์จริง คือ รถไฟฟ้าแบบเซลล์เชื้อเพลิง หรือ FCEV เท่านั้น ....เพราะ - FCEV กำเนิดไฟฟ้าในตัวเองได้ จากปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี โดยไ ม่มีการสันดาปลุกไหม้เลย / รฟฟ.จะเสียผลประโยชน์ - FCEV ใช้เวลาเติมเชื้อเพลิงสั้น และ วิ่งได้ไกลเหมือน รถใช้น้ำมัน รถใข้แกส หรือ เครื่องสันดาปภายใน - FCEV ให้ประสิทธิภาพเชิงพลังงาน สูงกว่ารถรถเครื่องสันดาปภายใน แต่ มีชิ้นส่วนน้อยกว่า / บ.Oem ชิ้นส่วนยานยนต์ จะเสียผลประโยชน์ - เชลล์เชื้อเพลิง ณ ปัจจุบัน มีอยู่ 4 ชนิด แยกตามชนืดของเชื้อเพลิง คือ ไฮโดรเจน โปรเพน เมทานอล เอทานอล แต่ ที่นำมาพัฒนาใช้กับ รถยนต์ไฟฟ้า มีอยู่ 2ชนิด คือ ไฮโดรเจน กับ เอทานอล - เซลล์เชื้อเพลิง เกือบทุกชนิด จะปล่อยของเสีย หลังกระบวนการผลิตไฟฟ้า ออกมาเป็นไอน้ำบริสุทธิ์ - และ เชื้อเพลิง..ทั้ง 2 ชนิดนี้ ยังสามารถผลิตขึ้นมาได้ โดยอาศัยกระบวนการสะอาดใหม่ๆ ที่ไม่ต้อง พึงพา ปิโตรเลียม รฟฟ. และ ถ่านหิน / ธุรกิจพลังงานเดิม ผูกขาด จะเสียผลประโยชน์ ทั้งหมด 5 ปัญหาของพลังงานทางเลือก ที่ช้าในการพัฒนา และ ผลักดันให้ ปชช.ใช้งานจริง นั่นคือ เรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน. - ผลประโยชน์พวกนี้ ภายในประเทศไทย....เกิดจากการ แปรรูป ปตท. และ การเปืดช่องให้มี รฟฟ.เอกชนผลิคไฟ คู่ขนานกับ รฟฟ.รัฐ แล้วส่งมาขาย ปชช.ในสายส่งเดียวกัน - รูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อน คือ การเข้าไปถือหุ้นพลังงาน ของ นายทุน นกม. ต่างชาติ และ การอวยวาระให้ ขรก.ที่มีอำนาจกำกับดูแล เข้าไปนั่วกินเงินเดือนบอร์ด ในธุรกิจพลังงานเอกชน - และ ผลประโยชน์ทับซ้อน ยังเป็นต้นตอสำคัญ ของ ปัญหา แกส ไฟฟ้า น้ำมัน...ของไทยแพงในที่ผ่านมา และ แพงมาก่อนโควิตด้วย - จีน สามารถพัฒนา รถ EV และ รถ FCEV.......ได้ไกลกว่า ญี่ปุ่น ซึ่งเป็นประเทศต้นคิด รถยนต์แบบเซลล์เชื้ เพลิงไฮโดรเจน และ เอทานอล นั่นเพราะ การปกครอง แบบ คอมมิวนิสต์ยุคใหม่ 1 ประเทศ 2 ระบบ ของจีน ไม่มีปัญหาเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน แบบ ประเทศ ปชต.ทั้งหลาย.......จีนกำลังพยาม พัฒนารถขนส่งมวลชน รถบรรทุกของตน...ไปเป็นระบบ FCEV ไม่ใช่ Ev และ รวมถึงกำลังพัฒนา กระบวการกรีนไฮโดรเจน ให้มีต้นทุนที่ต่ำลง และ แยกผน่วยผลิตกระจายออกไป แบบไม่รวมศูนย์
@VARN24
@VARN24 2 жыл бұрын
ที่มีการจบปริญญากันเยอะเป็นเพราะว่า การได้ทำงานในวุฒินี้จะได้เงินเยอะ และบางทีมันก็เป็นแบบนั้นจริงๆถ้าทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม ป.ตรี จะเป็นหัวหน้าของ ปวส ปวช ทั้งที่สกิลการทำงานคนละแบบ แต่เงินเดือนกลับคนละอย่าง แค่เงินสตาร์ทก็คนละอย่าง โอกาสเติบโตมากกว่า ทำให้ผมที่เคยจบ ปวส ต้องไปเรียนต่อ วิศวะ ถ้าปรับให้เงินเดือนตามสกิล ไม่ใช่ตามวุฒิมันอาจจะดีกว่านี้
@vierty
@vierty 2 жыл бұрын
โชคดีแล้วที่ผ่าน ปวส. มีวิชาชีพที่ผ่านประสบการณ์ โฟร์แมนมาแล้วการบรรจุแข่งขันไม่ยากเลย ยกตัวอย่าง 1.งานราชการบรรจุง่ายแข่งน้อย บรรจุ กพ.ครู ราชการทุกกระทรวง 2.งานรัฐวิสาหกิจ ประปา ไฟฟ้า โทรคม..ปตท.ทางหลวง อบต.... 3.งานเอกชน ทุกบริษัท องค์กรระหว่างประเทศฑูต un....ถูกส่งไปอบรมฝึกงานเรียนต่อต่างประเทศ ป.ตรี โท เอก จำนวนมาก บ่อยครั้งทุกปี 4.เรียนเสริมอัพเกรด ได้ทุกสาขา...ถึง ป.โท-เอกเหมือน เยอรมันทุกคนมีทั้งความรู้ ประสบการณ์และอาวุโสทุกหน่วยงานถึง ผอ.มีบำเหน็จ บำนาญเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพมี licenseสำเร็จทุกคน
@Ton-sx2gh
@Ton-sx2gh 2 жыл бұрын
@@vierty งานราชการระดับ ป.ตรี ไม่ได้แข่งน้อยเลยครับ จะสอบ กพ. หรือ ครูผู้ช่วย เยอะหลักแสนทุกปี อัตราบรรจุก็น้อยลง เงื่อนไขเยอะขึ้น ต่อให้ขึ้นบัญชีแล้วใช่ว่าจะเรียกถึง จะวุฒิไหนถ้าขึ้นชื่อว่าเป็นงานราชการ ที่บรรจุเป็น ข้าราชการ แข่งเยอะทุกตำแหน่งครับ
@kittipongyuehcachain3300
@kittipongyuehcachain3300 2 жыл бұрын
การศึกษาเรียนไปใช้ไม่ได้สักอย่าง สอนแต่สิ่งที่ไม่มีในชีวิตจริง ไม่เคยสอนในสิ่งตลาดแรงงานต้องการ การศึกษายังให้ความสำคัญกับคำว่า เกรด จนลืม นึกถึงคุณภาพการศึกษาของเด็ก
@puddingman2331
@puddingman2331 2 жыл бұрын
ทำไมผมใช้ทุกอย่างที่เรียนมา ปัจจุบัน อายุ 32 ปี เงินเดือน 100,000++
@robebkk5873
@robebkk5873 2 жыл бұрын
จริง ๆ มหาวิทยาลัยก็ปรับตัวพอสมควร มีคอร์ส/หลักสูตรใหม่เยอะ แต่อิมแพคไม่ชัด ส่วนหนึ่งเพราะการปรับหลักสูตรยังต้องเอาอาจารย์อาวุโสเป็นศูนย์กลาง ถ้าผู้อาวุโสที่ใดมีวิชันก็รอดตัวไป
@sakdasaosa9746
@sakdasaosa9746 2 жыл бұрын
จ้างคนในภาคอุตสาหกรรมมาสอนเลยครับ
@nutpon_ss92
@nutpon_ss92 2 жыл бұрын
เป็นมุมมองที่ดีมาก เห็นภาพมากครับ อยากฟังการศึกษาภาคบังคับต่อด้วยครับ ว่ามุมมองความต้องการของโลกภายนอก มุมมองการตอบสนองต่อผู้เรียนเป็นอย่างไรบ้าง อนาคตจะเป็นอย่างไร ยังจำเป็นต้องภาคบังคับมั้ยหรือแค่ไหน ควรเน้นความต้องการด้านไหนบ้าง
@Freedom-xf7mb
@Freedom-xf7mb 2 жыл бұрын
การศึกษาเป็นสิ่งสำคัญ ส่วนมากจบแล้วตกงาน แล้วคนทำงานราชการปลดเกษียณช้าขึ้นแต่คนจะไปทำงานเข้าไม่ได้ สุดท้ายต้องขายของหรือไปทำธุระกิจเองทั่วโลกก็ประมาณนี้เหมือนกัน
@odinhub5733
@odinhub5733 2 жыл бұрын
ตำแหน่งภาครัฐมีน้อยมากครับ เมื่อเทียบสัดส่วนงานที่ทั้งหมดต้องการ
@陳光明-x4k
@陳光明-x4k 2 жыл бұрын
เขาต้องการ สาขาที่มีความชำนาญพิเศษ ไม่ใช่จบ การบริหาร บ้าๆบอๆ มีคณะชื่อประหลาดที่ได้ยินแล้วต้องถามว่า คณะไรวะ เรียนมาแล้วจะไปทำงานอะไรได้!!! หลานผมเรียนจบมาไม่ตกงานสักคน ถ้าจะมีก็คนที่เรียน สังคมสงเคราห์ธรรมศาสตร์ แต่คนนี้ ทำงาน กับแม่เขา แล้วก็เทรด เก็งกำไรราคาทองคำ
@mind2551
@mind2551 2 жыл бұрын
ฟังมากกว่า 5 รอบละ ก็ยังได้ประโยชน์และแนวคิดเพิ่มตลอด ขอบคุณมากๆครับ
@jjkungjj8635
@jjkungjj8635 2 жыл бұрын
กฎง่ายๆ สั้นๆ พึ่งใครไม่ได้ก็ต้องพึ่งตัวเอง สู้ต่อไป คนไทยไม่แพ้ใครในโลกอยู่แล้ว สู้ๆ
@blinkping5631
@blinkping5631 2 жыл бұрын
ถ้างั้นก็ไม่ควรเสียภาษีนะครับ กฎง่ายๆอะไร ตลก กะลา
@pt..5130
@pt..5130 2 жыл бұрын
555
@alexlo7708
@alexlo7708 2 жыл бұрын
ครู อาจารย์ คนสอน ยังมีสภาพเป็น พนักงานรับเงินเดือนไปวันๆ มันจะมีปัญญาความสามารถไปสอน คนรุ่นถัดไป ให้สร้างเนื้อสร้างตัวได้เช่นไร เมืองไทยการศึกษาเดินทางผิด ปล่อยให้เกิดการเรียนมักง่าย วิชาสายศิลป์ที่ไม่เกิดประโยชน์ ทำอะไรไม่เป็น คนเรียนใช้เวลา 4 ปีไปกับเรื่องไร้สาระ จบออกมาต้องเริ่มสร้างทักษะการเรียนรู้ อยู่รอดเอาเอง ไปเรียนทำเค๊ก ชงกาแฟขาย หนักกว่านั้นก็ไปขายตัว ขายคลิปสยิว ไม่มีการสร้างเทคโนโลยี เป็นของตนเองแม้แต่อย่างเดียว พวกเรียนสายวิทย์ ที่เรานึกว่า"เก่ง" แต่เก่งแค่ในบ้าน รับทุนไปเรียนเมืองนอก เจอคนเก่งจริงถึงมึนน กลับมาก็เอาปริญญามาเข้าทำงานสายสบาย เป็นอาจารย์สอนหนังสือไปวันๆ ไม่เกิดการพัฒนา เพราะมันรู้แล้วตอนเจออยู่ที่เมืองนอก ว่าเก่งจริง มันต้องขนาดไหน ถึงมีการสร้างเทคโน สร้างนวัตกรรมออกมาได้
@mr.patsomprathana4883
@mr.patsomprathana4883 2 жыл бұрын
คนไทยเก่งจริงๆก้มีค่ะ อต่ที่ต้องมาเปนอาจารย์เพราะไม่มีพื้นทีีรองรับอาชีพ งบวิจัยก้ถูกตัด ถามจริง นักวิทยาศาสตร์ในหทยมีจริงๆซักกี่คน
@alexlo7708
@alexlo7708 2 жыл бұрын
@@mr.patsomprathana4883 งบวิจัยไม่ไดถูกตัด แต่ไม่มีใครกล้ารับทำ จึงมีแต่การเขียนเปเปอร์เล่น เพราะรู้ว่ามันทำไม่ได้ มีเรื่องเล่าสนุกๆ ในยุคสมัยที่ ครุสเชฟเป็นผู้นำโซเวียต มีต้องการเครื่องบินทิ้งระเบิด ที่บินรวดเดียวจากแถวๆมอสโคว์ไปทิ้งระเบิดถึงอเมริกาได้ จึงจัดประชุมคอนเฟอรเร้นซ์ บรรดาหัวหน้า เฮดดีไซน์ของสถาบันการบินทั้งหลาย ด้วยเทคโนที่มีอยู่ตอนนั้น ไม่มีใครกล้าเสนอตัว แต่มีอยู่คนนึงออกมาเสนอหน้ารับงาน แกชื่อมิสซิเชฟ เวลาผ่านไปหลายปี กับงบประมาณจากรัฐบาลไปไม่น้อย เครื่องบินมิสซิเชฟ M4 ก็ปรากฎตัวขึ้น แต่คุณสมบัติทางการบินจริง ไปได้ไม่ถึงข้อกำหนดตามวัตถุประสงค์ ผลคือแกถูกย้ายออกจากเฮดดีไซน์บิวโร ไปเป็น ผอ.สถาบันทดสอบทางพลศาสตร์ เพื่อนนักวิทย์ เคยคุยกับแกว่า สหายนับว่าโชคดีมาก ถ้าอยู่ในยุคของสตาลิน ป่านนี้คงกลายเป็นปุ๋ยไปแล้ว อิๆ
@dnr-thailandmulti-platform6074
@dnr-thailandmulti-platform6074 4 ай бұрын
ครู อาจารย์ มีความรู้ตามไม่ทันเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงจากที่เคยเรียนรู้มา โดยเฉพาะสาย STEM ขาดคนสอนที่มีประสบการณ์ทำงานจริง คนที่อยากเรียน มีไม่มาก เพราะมันยาก คนไทย เกิดและถูกเลี้ยงมาให้ถนัดแต่ด้านศิลป์ สังคมศาสตร์ และพัฒนาด้าน ปากแจ๋ว คนไทยรุ่นพ่อ-แม่เด็กวัยรุ่นนี้ รักลูกมากให้เด็กเรียนรู้แบบสบายๆ ร้อง เต้น เล่น เกม ไม่อยากให้เด็กเครียด เด็กจึงไม่ชอบเรียนเรียนอะไรเครียด เลข วิทย์ มาต่อด้วย เรียน Code ก็ยากไป เด็กไทยวัยรุ่น จึงเก่งสร้าง CONTENT (แนวบันเทิง) เป็นผู้ใช้ social แต่น้อยมากที่จะเป็นผู้สร้าง ผู้พัฒนา ดังนั้น เด็กรุ่นต่อไป แทนที่จะเรียนสบายๆ คงต้องฝึกสอนเรียน เข้าใจภาษา code ตั้งแต่เล็ก ให้เหมือนเป็นภาษาพูด เขียนพื้นฐาน
@annopnod_person
@annopnod_person 2 жыл бұрын
ก็มีอยู่หลายสาเหตุนะ 1.ภาวะเศรษฐกิจ ทุนนิยมไม่จ้างค่าแรงแพงแต่จ้างค่าแรงถูกมีผลผลิตเยอะๆ การบริโภคของลูกค้าก็มีผลต่อการจ้างงาน 2.เทคโนโลยีโรบอททำให้ทดแทนการจ้างงานได้เมื่อไม่มีการจ้างงานเงินในระบบเศรษฐกิจก็ไม่หมุนเวียน 3.ระบบการศึกษาไม่ได้พัฒนาอย่างที่เคยเป็นเน้นการโฆษณาชวนเชื่อแต่ไม่ได้ปลูกฝังให้คิดต่างอย่างสร้างสรรค์ ปลูกฝังกฎระเบียบแต่มันก็มากเกินไปสำหรับความเป็นอยู่ขององค์กร หลักสูตรการศึกษาไม่ได้ตอบสนองต่อความสามารถของเด็ก
@mintuk6811
@mintuk6811 2 жыл бұрын
หลังจากมีโรคระบาดของไวรัสโควิดผู้คน Panic แล้ว คล้ายๆกับตอนที่ The Black Death ในปีคศ. 1665-1666 สถานการณ์ตอนนี้ที่อังกฤษขาดแรงงานเป็นอย่างมากค่ะ ค่าแรงปรับขึ้นค่ะ แรงงานที่อังกฤษไม่ไดัวัดผลจากวุฒิการศึกษาค่ะ แต่วัดกันที่ Skills ทักษะค่ะ
@บุญศรีไพจิตร์-บ8ฤ
@บุญศรีไพจิตร์-บ8ฤ 2 жыл бұрын
ระบบการศึกษาไทยต้องตอบโจทย์สังคมว่าแรงงานแบบไหนที่ไทยต้องการแล้วเขาจัดให้เหมาะสมรึไม่งานที่มีใบประกาศกับงานที่ที่มีประสบการณ์สำคัญและตรงประเด็นกว่ากันแล้วปรับตัวเเ็กเรียนจบให้เข้ากับงานได้รึยัง
@jasminemalicharoenthamsawa5303
@jasminemalicharoenthamsawa5303 2 жыл бұрын
โทษนะคะ แรงงานด้านไหนขาดแคลนเยอะสุด
@BIRDoBIRB
@BIRDoBIRB 2 жыл бұрын
ไทยเราไม่ได้เป็นประเทดผลิตและส่งออกคับ แรงงานชาวไทยเลยไม่จำเป็นต้องคิดค้นพัฒนาตัวเองอะไรมาก ทำตามคู่มือ บ.ต่างชาติอย่างเดียว เน้นปริมาณคุณภาพกลางๆพอ หรือไม่ก็นำเข้าสินค้าจากต่างประเทด รัดบาลก็ไม่ได้สนับสนุนอะไรอยู่แล้วแถมยังจะซ้ำเติมอีก ก็นั้นแหละ
@mintuk6811
@mintuk6811 2 жыл бұрын
@@jasminemalicharoenthamsawa5303 ขาดแคลน คนขับรถขนส่งสินค้าภายในประเทศค่ะ, ฝ่ายดูแลลูกค้าในซุปเปอร์มาเกตค่ะและอีกหลายๆงานค่ะ แต่พูดถึง การปรับตัวและรับมือกับสถานการณ์ทางอังกฤษเร็วมากๆๆค่ะ เดียวนี้เขาจะเก็บพนักงานไว้ไม่กี่คนค่ะ เอาแบบที่มือโปร พนักงาน 1 คนสามารถทำหลายๆอย่างได้ในเวลาเดียวกันค่ะ และมีเครื่องมืออำนวยความสะดวก มาช่วยทำงานค่ะเริ่มมี AI เข้ามาทดลองใช้ค่ะ ( ช่วยได้เยอะค่ะ และลดต้นทุนแรงงานจากคนค่ะ)
@mintuk6811
@mintuk6811 2 жыл бұрын
@@BIRDoBIRB โซนทางอังกฤษเอาตามที่เห็นๆนะค่ะ จริงๆแล้วทุกบริษัท เขาปรับทักษะ Skills ของพนักงานและการแข่งขันในการค้าเพื่อให้ Business running ทันต่อโลกในปัจจุบันค่ะ ไม่ได้รอรัฐบาลค่ะ เพราะเป็นคนละส่วนค่ะ รัฐบาลมีหน้าที่ปรับความสมดุลและความเป็นอยู่ของประชาชน เบสิคคือ เกี่ยวกับภาษีต่างๆค่ะ ที่อังกฤษก็ไม่ได้เป็นประเทศที่ส่งออกสินค้า แต่ผลิตเป็นบางอย่างที่ผลิตใช้เองในประเทศค่ะ แต่ที่โดดเด่นของเขาคือ เกี่ยวกับการเงินการธนาคารค่ะ
@wandererroam1529
@wandererroam1529 2 жыл бұрын
ยุค AI กำลังมาก็ต้องเน้นด้าน IT อย่างน้อยเด็กทุกคนต้องเก่งและใช้คอมพิวเตอร์คล่อง ประเทศไทยก็ต้องเอาการแพทย์นำค่ะ เพราะพ่อแม่คนไทยชอบบังคับลูกเรียนหมอเอาไว้ก่อน เน้นการวิจัย นวัตกรรมทางการแพทย์ ทุกคนเป็นหมอไม่ได้ก็ต้องเป็นธุรกิจบริการด้านการแพทย์ สุขภาพเพื่อรองรับคนต่างชาติ และสังคมผู้สูงอายุ ตอนนี้ประเทศรอบบ้านเริ่มพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เราก็พอจะมีความสามารถด้านวิศวะกรรม ก็ต้องการช่างฝีมือ วิศกร เราก็ส่งออกธุรกิจสร้างโครงสร้างพื้นฐานไปเพื่อนบ้านก็ได้ หมอ พยาบาล วิศวะ งานช่าง ต้องผลิตมาเยอะๆค่ะ สำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม อาจจะชลอไปก่อนเพราะตอนนี้การท่องเที่ยวแย่
@sigmaboi1708
@sigmaboi1708 2 жыл бұрын
ผมขอพูดสั้นๆนะครับ ไหนกองทุนสตาร์ทอัพ ไหนนโยบายภาครัฐในการวางโครงสร้างพื้นฐานของระบบเทคโนโลยีข้อมูล แล้วทำมาคุ้มกับการลงทุนหรือเปล่า ได้กำไรไหม แล้วกฎหมายรองรับหล่ะมีหรือเปล่า สิทธิบัตรหล่ะ
@はなび-i2u
@はなび-i2u 2 жыл бұрын
@Kazuki Niki014 สวัสดีครับ ขอinboxส่วนตัวเรื่อง​ จปได้ไหมครับ
@prapassorn648
@prapassorn648 2 жыл бұрын
บางคนแบบเข้าคณะที่แบบเรียนไป ไม่รู้สึกสนุกไปกับคณะที่เรียน เขาก็จะหนีในสิ่งที่เรียน พ่อแม่อาจารย์ ก็พยายามยื้อ ว่าฝืนให้เรียนจบทั้งที่เขาไม่โอเคกับสิ่งนั้น พอจบมาก็รู้สึกเคว้ง ไม่อยากจะทำงานตรงสายที่เรียน ไม่เชื่อมั่นในสกิลที่ตัวเองมี เลยกลายเป็นว่าไม่พยายามหางาน ลองสัมภาษณ์ก็รู้สึกรน ไม่มีสกิลอะไรเกี่ยวกับงาน กลายเป็นคนว่างงานในที่สุด
@srrk3500
@srrk3500 2 жыл бұрын
เราว่าค่านิยมนี่แหละตัวดี ประเทศไทยไม่ได้ต้องการคนจบปริญญาตรีมากขนาดนั้นแต่ผู้คนก็อยากเรียนปริญญาตรีเพื่อให้ได้วุฒิ สูงๆ จะได้ไม่ต้องทำงานที่เป็นแรงงาน (แต่ประเทศไทยต้องการคนที่ทำงานแรงงานมากกว่า คนไทยดูถูกอาชีพที่ใช้แรงงานทั้งๆที่เป็นอาชีพที่ขับเคลื่อนประเทศเป็นหลัก) และในเมื่อผู้คนต่างอยากเรียนปริญญาตรี ก็มีมหาวิทยาลัยผุดขึ้นเพื่อตอบสนองค่านิยม ไม่ได้ตอบสนองความต้องการแรงงานของประเทศ การคัดคนเข้าเรียนปริญญาตรีก็หละหลวมเพราะใครๆก็อยากได้นักศึกษามาเป็นลูกค้า เข้ามาเหอะ มหาลัยอยากได้ตังค์ สุดท้ายคนที่จบออกไปก็จะคละคละกันแบบที่รับเข้ามานั่นแหละ และก็มีปริมาณมากเกินความต้องการของตลาด แล้วใครล่ะในจำนวนนั้น ที่จะได้งาน ก็ต้องเป็นคนที่เก่งเป็นอันดับต้นๆ
@nawasitrakbamrung9453
@nawasitrakbamrung9453 2 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับรายการดีๆ ครับ ส่วนตัวเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยที่กำลังปรับตัวกันอย่างหนักครับ แต่ก็มีความท้าทายในการทำงานซ่อนอยู่ครับ
@youarewho9876
@youarewho9876 2 жыл бұрын
วิชาพื้นฐาน ก็สำคัญ ใช้ได้หมด เช่น ภาษาไทย อังกฤษ วิทย์ คณิต (เรขาคณิตระดับมัธยมต้น) สุขศึกษา พลศึกษา การอาชีพ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น ผมเห็นว่าสำคัญหมด ควรเรียน แม้กระทั่งงานบ้าน การทำกับข้าว ประปา ไฟฟ้า ช่างไม้ การขี่จักรยาน ขับมอเตอร์ไซค์ ขับรถ การว่ายน้ำ สิ่งเหล่านี้ คนต้องเรียนรู้ ฝึกฝนในระดับพื้นฐาน ให้ได้
@japanpewstory1736
@japanpewstory1736 2 жыл бұрын
น้องชายเรา จบปวส..ตอนแรกถามเราว่าจะจบปวสแล้วต่อตรีวิศวะเลย..รึมาทำงานก่อนดี..เราแนะนำให้มาทำงานก่อน ก็หางานให้ทำเสร็จสรรพ เด็ก20กำลังร้อนวิชา จบช่างอิเล็กทรอนิกส์..โชคดีงานน้องเกี่ยวพันกับพวกโปรแกรมเมอร์ด้วย คนไฝ่รู้ด้วยเลยสามารถทำงานที่แก้ระบบโปรแกรมได้ในขณะที่งานช่างก็ทำได้..ทำสายงานเดิม5ปี..พอทำที่ไหม่..บริษัทใหม่เลยกล้าจ่าย..เพราะน้องชายทำงานได้ค่อนข้างครอบคลุมทั้งงานที่โปรแกรมเมอร์ต้องทำและแก้ปัญหางานช่าง..ส่วนคนจบป.ตรีมาใหม่เลย ทักษะช่างจะไม่มี..ปฎิบัติไม่แน่นเท่าพวกจบช่างมา อันนี้ความคิดเรานะ
@user-solog
@user-solog 2 жыл бұрын
สายวิชาชีพหากินได้อยู่แล้วครับ
@mockreading5340
@mockreading5340 2 жыл бұрын
มองในมุมมองเจ้าของกิจการ อยากได้คนทำงานเป็นครับ แก้ปัญหาให้เราเลย ไม่ได้อยากเอาแค่วุฒิ แต่ทำงานไม่เป็น แต่ต้องจ่ายแพง
@japanpewstory1736
@japanpewstory1736 2 жыл бұрын
@@mockreading5340 ช่ายเลยค่ะ..น้องบอกว่าตอนสัมภาษณ์เขาให้โจทย์มาแล้วให้น้องแก้โจทย์ให้ดู..น้องไม่คิดเยอะเลยเพราะเคยทำมาแล้ว..พอแก้โจทย์เสร็จเขาถามเลย คุณจะเอาเงินเดือนเท่าไร??..พอตอบไปเขาไม่ต่อสักคำ..ทุกวันนี้อายุน้อยกว่าแต่เป็นหัวหน้าเขาแล้ว..เราคิดไม่ผิดที่วางแผนให้น้องดี..โดยมีตัวเองเป็นคนลองผิดลองถูกและรู้แล้วว่าควรทำอะไรถึงจะรอด..
@แตงโมลูกโต๊โต-จ1อ
@แตงโมลูกโต๊โต-จ1อ 2 жыл бұрын
การเรียนมันอยู่นอกห้องเรียนทั้งหมด ยิ่งตอนนี้ข้อมูลอยู่ในฝ่ามือ แต่ทักษะต่างๆมันต้องไปเจอของจริง ไม่ว่าจะเรื่องแก้ปัญหา การวางตัว เข้าสังคมกับเพื่อนกับหัวหน้า การคุยกับลูกค้า ... ลูกเจ้าสัวหลายคน ไม่ได้ให้ลูกสบาย แต่ให้ไปลำบากไปเป็นลูกจ้าง ไปทำงาน การส่งไปเรียนตปท. เพราะอยากให้ลูกดูแลตัวเองเป็น ทำงานพาททามล้างห้องน้ำเสริฟอาหาร เพราะเด็กฝรั่งทำกันทุกคน กรือส่งไปเรียน รร. ประจำเพราะไม่มีแม่บ้านดูแล อยู่ในกฎระเบียบ อยู่กับคนอื่นเป็น เพราะก่อนที่เราจะเป็นหัวหน้าเป็นนายจ้าง เราต้องเข้าใจพนักงายตัวเองก่อน มองภาพกว้างออก
@Y_PALSCHS_ML
@Y_PALSCHS_ML 2 жыл бұрын
สายวิชาชีพ เน้นการปฏิบัติให้ได้จริงอยู่แล้ว
@Lunacry_palworld
@Lunacry_palworld 2 жыл бұрын
ฟังแล้วก็เฮ้อออ... ก็แค่เปลี่ยนจากมหาวิทยาลัยที่คนจบมาทำงานไม่เป็น มาเป็นหลักสูตรสอนคนเป็นหุ่นยนต์ ผูกติดกับเทคโนโลยีตามยุคสมัย ทำกันแบบนี้ อีก 20 ปีก็ตามโลกไม่ทัน จริงๆแล้วมหาวิทยาลัยมีความสำคัญมาก แต่ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่สร้างคนที่สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆได้ สร้างนวัตกรรมใหม่ๆได้ มันถึงจะเวิร์ค พูดง่ายๆคือคุณต้องมีความ unique ทางใดทางหนึ่ง ยกตัวอย่างผมเองเกรดจบมา 2.7 แต่เวลาไปสมัครงาน เอาผลงานสมัยเรียนไปให้ดู ไม่เคยโดนปฏิเสธรับเข้าทำงาน เข้าทำงานก็เอาโปรเจกต์สมัยเรียนมาต่อยอดสร้างผลงานนวัตกรรมให้บริษัท เป็นระบบเกี่ยวกับ Machine Learning กับภาษาไทย ยุคปี 2004 ทำไปสักพักก็มีเฮดฮันเตอร์มาทาบทาม สกิลที่ใช้ทำงานส่วนใหญ่ก็ศึกษาเองสะสมความรู้มาตั้งแต่มัธยม แต่สังคมไทยแม่งบ้าใบปริญญา ก็เลยต้องไปเรียนเป็นใบผ่านทาง บอกเลยว่าระบบการศึกษาไทย คือตัวถ่วง
@jpgoldgroup835
@jpgoldgroup835 2 жыл бұрын
ในสายงานของผมคนขับรถส่งของหายากมาก​ ขนาดวันนึง​ 600 บาท​ ยังไม่มีใครเอา​ อยากให้ประเทศไทยเปิดให้ต่างด้าว​ทำใบขับขี่​ได้และขับรถขนส่งได้มากๆ
@youarewho9876
@youarewho9876 2 жыл бұрын
ถ้าทุกวิชา เน้นภาคปฏิบัติด้วย จะทำให้เราเข้าใจดี และเห็นความสำคัญแต่ละวิชามากขึ้น โดยส่วนตัวชอบ วิทย์ คณิต อังกฤษ สุขศึกษา พลศึกษา การปลูก และพลังงานทางเลือก
@kuroneko3198
@kuroneko3198 2 жыл бұрын
เอาจริงๆอาจจะฟังดูรุนแรงไปบ้างแต่ความเห็นส่วนตัวเลยคือถ้าผู้ปกครองไม่ได้ซีเรียสว่าต้องมีใบจบก็ไม่ต่อมหาลัยต่อแล้ว เรียนเองศึกษาเองดีกว่าถนัดกว่าไม่เสียเงินเสียเวลา4ปีด้วย ยิ่งวิชาตัวนอกยิ่งแล้วใหญ่เลยหลายวิชาคือไม่ต้องการไม่ได้ใช้แต่ต้องลงเพื่อหน่วยกิตทั้งๆที่เราก็เลือกศึกษาเอกที่เราจะเอาไปใช้จริงแล้ว จะบอกว่าเรียนเผื่อคนอื่นอยากเปลี่ยนไปเอะตอนปี3-4ก็ให้เขารับผิดชอบไปขนขวายเองสิ การศึกษาที่ดีคือมาจากความชอบแล้วมันจะผลักดันให้เรียนรู้ได้ไวกว่าอยู่แล้ว ทำไมต้องมาเรียนรวมให้เครียดกว่าเดิมเสียเงินค่าหน่วยกิตเสียเวลาเรียนแทนที่เอาไปฝึกตัวเองทำผลงานทำงานหาประสบการณ์ที่บางคนเรียนเองไวกว่า? ทุกวันนี้ขนาดเรียนมหาลัยเรียนพิเศษข้างนอกยังถูกกว่าแล้วคุ้มกว่ามากๆด้วย เรียนมหาลัยเพียงเพราะอยู่ประเทศนี้และครอบครัวที่มองว่าใบจบมันยิ่งใหญ่มาก จริงอยู่ไปต่อต่างประเทศต้องมีใบค้ำประกัน แต่ก็อยากให้มันน่าเรียนกว่านี้ วิชานอกไม่ต้องลงดิให้ลงแต่วิชาในก็ยอม ถ้าไม่ติดที่กล่าวมาคือไม่เรียนแล้วมหาลัย อึกอัดเสียเวลาไม่ตอบโจทย์อย่างแรง จนคิดขึ้นมาว่า ใบจบแพงเนอะ ที่ไม่ได้ซื้อโดยตรงแต่มันแลกมาทั้งเงิน(ที่จ่ายค่าหน่วยกิตกับบำรุงมอ)เวลาที่เราน่าจะไปเอาประสบการณ์จริงๆ คือพอไม่ใช่สายวิชาการแล้วมันก็มีวิธีเรียนหลายทาง ทางนี้ผ่านสายสามัญมาครับก่อนจะเข้าอินเตอร์ รู้สึกต่างกันจริงๆ อยากตะโกนดังๆว่าถ้าเราไม่ได้มีข้อจำกัดที่ต้องใช้ใบจบ อย่าหวังว่าเราจะง้อ ส่งเสริมให้เด็กๆฝึกศึกษาเองดีกว่าครับ สิ่งที่ชอบเอาไปต่อยอดดีกว่าเยอะ
@อหิงสากามาสันติ
@อหิงสากามาสันติ 2 жыл бұрын
องค์กร​ต้องการMulti task และให้คนในองค์กร​ไปเรียนเพิ่ม แทนการจ้างคนเพิ่ม บางคนรับผิดชอบ3-4งานในที่ทำงานเดียว
@Nutthaishaapy
@Nutthaishaapy 2 жыл бұрын
คุ้มเลย
@sigmaboi1708
@sigmaboi1708 2 жыл бұрын
เรียกได้ว่ากดขี่แรงงานสุดๆ ทำงานเกินเวลาไม่ได้ OTไม่พอ โบนัสก็ไม่ได้ แถมยังใช้เกินหน้าที่อีกเนาะ แย่จัง โลกสากลแบนเรื่องสิทธิแรงงานไทยไปสิ😜
@อหิงสากามาสันติ
@อหิงสากามาสันติ 2 жыл бұрын
@Kazuki Nik098 ประเด็นไม่ได้อยู่ที่จบอะไรมา หรืออะไรขาดตลาดครับ นึกภาพตามนะครับ จบ จป.แต่องค์กร​อยากได้ช่างประปาเพิ่มเขาให้ จป.ไปเรียนเพิ่มแทนการจ้างช่างประปา​มันสมควรแล้วหรอครับ ปล.ถึงแม้ไม่มีใครเอาจป.มาทำประปาก็เหอะ แค่ยกตัวอย่างให้เห็นภาพ
@hptimef4
@hptimef4 2 жыл бұрын
อันนี้เรื่องจริง ที่ทำงานได้มอบหมายงานให้ทุกคนต้องทำงานได้เหมือนๆกัน ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำในคนๆเดียว บางคนทำได้ แต่บางคนก็ทำไม่ได้ บางคนชอบ บางคนก็ไม่ชอบ ใครอึดอัดไม่ไหวก็ทยอยลาออกไป คนออกก็ไม่รับคนเพิ่ม งานก็เลยไปตกกับคนที่ยังอยู่
@saonbunames8970
@saonbunames8970 2 жыл бұрын
การศึกษามีปัญหา หลักสูตรช้ากว่าความต้องการของตลาดแรงงาน 20 ปี ตัวปัญหาใหญ่ของการศึกษาไทย คือ กระทรวงศึกษาฯ
@karlladplakao8899
@karlladplakao8899 7 ай бұрын
ปลูกฝังค่านิยมเรียนตามใจตัว ไม่มองนายจ้างว่าเขาอยากได้ไหม และไม่ขยันเรียนให้เก่งพอ อีกทั้งหลายสถาบันก็ไม่ได้คุณภาพแต่ก็ยังไปเรียน เลยยิ่งซ้ำเติมปัญหาไปอีก ต้องมองที่ตัวบุคคลก่อนระบบถึงจะเข้าใจปัญหาจริง
@สุไอดาสายรัตน์
@สุไอดาสายรัตน์ 2 жыл бұрын
นักศึกษาจะเรียนต่อด้านไหน ควรเรียนรู้ว่า ในอนาคตงานอะไรที่จะหายาก/ง่าย. อยากสนับสนุนให้คนที่บิดามารดามีที่ดินเป็นของตนเอง มีอาชีพทำการเกษตรอยู่แล้ว ให้สนใจเรียนด้านเกษตรมากและดีสุด. หรือ ใครคิดว่าจะไปเรียนต่อที่ประเทศไหนในโลก ก็ต้อง ดูรายละเอียดค่าใช้จ่ายล่วงหน้า และควรมีวิทยายุทธ ติดตัวไว้ เช่น การทำอาหารไทย นวดแผนโบราณ ตัดผม เสริมสวย ตกแต่งทำเล็บ ทำบัญชี อะไรแบบนี้เป็นต้น เพื่อที่จะได้มีรายได้ช่วงเนียนต่อในต่างประเทศ.
@xixv2655
@xixv2655 2 жыл бұрын
ที่แย่ก็คือมันไม่มีข้อมูลสถิติอะไรพวกนี้ให้นักเรียนได้ตัดสินใจไง
@chalitsuparpuk6276
@chalitsuparpuk6276 2 жыл бұрын
หลายๆคนกลัวไม่มีงานทำ เลยพยายามเรียนมหาลัย แต่กลับบางคนไม่ได้เรียนมหาลัย แล้วเริ่มทำงานตั้งแต่อายุ18 ผ่านไป 4ปี คนไม่ได้เรียนมีงานทำ ส่วนคนเรียนเพิ่งจบกลับตกงานสูง มันสท้อนอะไร ถ้าไม่มั่นใจว่าเรียนจบไปแล้วจะได้งานทำไหมก็เรียนแค่ปวช แล้วมาทำงานดู เกิดทำงานแล้วไม่ชอบก็กลับไปเรียน เรียนจบตอนอายุ 24-25 ก็มีประสบการณ์พร้อมทำงานสูงแล้ว
@Maymemedicine
@Maymemedicine Жыл бұрын
เราเป็นวัยที่อยู่ในช่วงที่เห็นทุกอย่าง ตั้งแต่ยุคที่ถ้าใครๆอยากมีชีวิตที่ดี ก็ต้องจบปริญญาตรี จนมาถึงช่วงที่คนจบออกมามากพอกับความต้องการ อ่อถ้าอยากมีชีวิตที่ดีขึ้นอีก ก็ต้องต่อโท ต่อเอก จนผ่านมาอีกในยุคปัจจุบันที่ป.ตรีล้น หางานยาก จบโท จบเอก ก็โดนกดเงินเดือนสุดๆ เราว่าสาเหตุหลักๆคือการที่ผลิตคนเยอะเกินกว่า demand หรือไม่ตรงกับ demand ยุคนี้ถ้าอยากมีงานทำดีๆ เลยต้องเน้นพวกวิชาชีพเฉพาะ ที่ต้องมีใบอนุญาตเฉพาะวิชาชีพนั้นๆจึงจะทำงานได้ สถานศึกษาควรต้องปรับตัวอย่างมากๆ และที่สำคัญยังมี AI เข้ามาอีก เราจะทำอย่างไรดี เมื่องานยิ่งต้องการกำลังคนน้อยเข้าไปอีก🤔
@relaxvoicestudio
@relaxvoicestudio Жыл бұрын
อย่าว่าแต่เด็กจบใหม่เลย คนที่มีประสบการณ์ตรงสาย ออกจากตลาดแรงงาน จะกลับเข้าตลาดทำงาน สมัครไปตรงสายยังไม่โดนเรียกเลย มีแจ้งว่าคุณสมบัติไม่ตรง แต่เพื่อนที่ยังทำงานอยู่ในตลาดแรงงานโดนแย่งตัว เรีกสัมภาษณ์ง่ายดายมากครับ
@tawantawan717
@tawantawan717 Жыл бұрын
ไปเจอ วุฒิ​ปวส-ป.ตรี ประสบการณ์​0-10ปี พอโทรไปถามบอกรับคนมีประสบการณ์​ตรงด้านนี้มาก่อน เเล้ว0-10ปี คืออะไร555
@piengumponkraison8279
@piengumponkraison8279 2 жыл бұрын
เท่าที่รู้มา ประเทศจีนจะมีนโยบายสนับสนุนบริษัท หน่วยงานธุรกิจต่างๆ และมีข้อบังคับให้บริษัทหรือหน่วยงานธุรกิจสนับสนุนนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฯ คล้ายๆกึ่งบังคับให้รับเข้าทำงาน
@buggyman6122
@buggyman6122 2 жыл бұрын
วิชาชีพ สำคัญสุดในยุคนี้และตลอดไป
@ณัฎฐ์นักปราชญ์
@ณัฎฐ์นักปราชญ์ 2 жыл бұрын
ไปสู้ตลาดต่างประเทศลาวตอนนี้ต้องการพนักงานจำนวนมากทำไมไม่พูดถึงการให้นักศึกษาไทยมองการทำงานต่างประเทศบ้าง.. การศึกษา​ที่ถูกกลุ่มมุสลิมข้าราชการกระทรวงศึกษาธิการ​เป็นตัวสร้างนโยบายใก้เด็กไทยสมองกลวง.. ช่วยมองไปที่นโยบายกระทรวงที่มีนักวิบากการหัวกลวงก่อนที่จะวิจารณ์​และวืเคราะห์ผิดๆๆ
@pattamaanusarn
@pattamaanusarn 2 жыл бұрын
มันก็เป็นแบบนี้มานานแล้วอายุจะ50แล้ว ก็ต้องอดทน จะมาเพ้อเจ้อบ่นการศึกษา บ่นสังคม แต่ควรหาความรู้ใส่ตัวให้มาก หาประสบการณ์ คนในสังคมนี้มีนิสัยหลากหลายปรับตัวให้ได้
@567ahrens
@567ahrens 2 жыл бұрын
เพราะมหาลัยกลายเป็นค่านิยมไม่ต่างกับใสของเเบรนเนมไงครับ ใครๆก็ขอจบมหาลัยเก่งไม่เก่งหรือมีทักษะตรงสายจริงไมไม่สำคัญ ขอเเค่มีใบประดับอ้วดเพื่อนบ้านพอ มันเลยล้นตลาดแรงงานครับ
@boon208
@boon208 2 жыл бұрын
คหสต ว่า ปัญหาการศึกษาเวลานี้ส่วนหนึ่งของปัญหาคือ ผู้บริหารหน่วยงานการศึกษานั้น ๆ ไม่มีวิสัยทัศน์ในการบริหารจัดการด้าน STEM จะมีความสามารถเพียงบริหารจัดการงานของโรงเรียนที่วัดกันด้วยรางวัล เด็กสอบเรียนต่อ ซึ่งประชากรของเด็กที่ได้รางวัลกับเด็กที่ได้เรียนต่อมีจำนวนน้อยนิด เมื่อเทียบกับจำนวนประชากรทั้งหมดของหน่วยงานการศึกษานั้น ๆ การถูกเลือกปฏิบัตินี้เองจึงเป็นการขาดความท้าทายของบุคลากร(ครู และพนักงาน)ที่เกี่ยวข้องที่ไม่ได้ถูกเลือก และอีกประเด็นที่น่าสนใจคือ วิสัยทัศน์ของผู้สอนในปัจจุบันมองเรื่องรายค่าตอบแทนกับหนี้สินของตน แต่ไม่ได้มองคุณภาพของตนต่อหน้าที่การงานที่เป็นเรื่องหลัก รวมทั้งระบบเส้นสาย เด็กของใคร ซึ่งระยะหลัง ๆ มานี้มีกรณีของการออกมาแฉพฤติกรรมของการบริหารจัดการในหน่วยงานการซศึกษามากขึ้นกับความไม่มีธรรมาภิบาลเหล่านี้เป็นต้น แต่ภาพรวมคือจัดการครูและคณะบริหารก่อน(ด้าน workshop/short course, corporate training) เพื่อปรับวิสัยทัศน์และการปรับรูปแบบให้เข้าใจระบบ ความยืดหยุ่นทางการศึกษาแห่งอนาคต ไม่งั้นระบบการศึกษาไทยก็ไม่มีการพัฒนา .......
@cicadarangs6026
@cicadarangs6026 2 жыл бұрын
มหาวิทยาลัยในแคนาดา บางแห่ง เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี โดยร่วมกับ บริษัทเอกชน นศ สามารถเรียนและฝึกงานไปด้วย ใช้เวลามากกว่าปริญญาตรีทั่วไป แต่โอกาสได้งานที่ตรงกับความสามารถมากกว่า
@Pongthai_Gritsanasub
@Pongthai_Gritsanasub 2 жыл бұрын
ต้อง ให้ความรู้เด็กว่า จบ ม.6 ก็หางานทำได้เลยนะ งานโรงงานรับ ม.6 เยอะแยะ หาประสบการ ปวช ปวส ก็เรียนได้ มหาลัยถ้าอยากเรียนจริง เรียนตอนไหนก็ได้ เอาไว้มีอะไรที่อยากเรียนค่อยเรียน ในไทยมีภาคพิเศษอะไรเยอะแยะ เอกชนถูกๆก็มี คือควรแนะนำอะถ้าเห็นว่าเด็กเรียนไม่น่าไหว ให้ผู้ปกครองมาคุยด้วยเลยคุยให้ผู้ปกครองเข้าใจ ทำงานกับสอบมันต่างกัน ทำงาน ทำไม่เป็นไม่รู้ ลืมมาถามคนอื่นได้ google ได้ ดูที่จดได้ แต่สอบอะ ทำไม่ได้ทำไม่เป็นลืม ก็จบเลย ภาษาหาเรียนในยูทูปจะดีกว่า จำศัพท์ให้ได้เยอะๆ หรือเอาให้พอเล่นเกมรู้เรื่องก็โอเคแล้ว
@exphox
@exphox 2 жыл бұрын
ทุกวันนี้ใครๆก็เรียนจบได้ ปริญญาตรี มันง่ายครับขอแค่มีเงิน ในอดีต คนที่จะได้เรียนแม้กระทั่งสมัยมัธยมนะ ตอนสอบเข้าเรียน โรงเรียนประกาศรับ 400 คน ก็คือ 400 คน ใครสอบไม่ได้คือต้องไปสถานบันอื่น มหาวิทยาลัยก็เช่นกัน ดังนั้นคนที่ได้เรียนคือคนที่เก่งมีคุณภาพ มีความตั้งใจที่จะเรียนจริงๆ แต่ทุกวันนี้ลองมองดูความเป็นจริงดิ เกรดสูงก็จริง แต่ไม่รู้ว่าได้มาอย่างไร คะแนนจิตพิสัยบ้าง ส่งงานบ้าง คะแนนสอบจริงๆทำไม่ได้ พอทำไม่ได้ ก็ตัดเกรดอิงกลุ่ม อันที่จริงใครเรียนไม่ได้หรือไม่เก่งก็ควรเลือกตามความสามารถตนเอง สอบไม่ได้ก็มาทำอาชีพอื่นตามศักยภาพของตน นักศึกษาจะได้ไม่ล้นตลาด และได้คนเก่งจริงๆ และรัฐบาลเองก็ไม่ต้องไปเน้นแล้วคนจบปริญญา เพราะจบมาก็ไม่ได้เก่งทุกคน บางคนเรียนจบเอกภาษาอังกฤษ ยังพูดไม่ได้ ไวยากรณ์ง่ายๆก็ยังไม่รู้ เห็นมากับตา (ไม่ได้ว่าทุกคนนะ)
@redranger666
@redranger666 2 жыл бұрын
บางสาขาจบมามันไม่มีตลาดรองรับ อย่างนิเทศคนส่วนใหญ่บอกว่างานเยอะแยะแต่เอาเข้าจริงๆแล้ว ไปสมัครงานดู9ใน10จะบอกรับคนมีประสบการณ์ จบใหม่จะหาจากไหนละแล้วทุกๆปีก็มีคนจบเรื่อยๆ ทับถมขึ้นทุกปีจนไม่มีตำแหน่งงานคนจบใหม่นอกซะจากเก่งจริงๆหรือมีผลงานที่ดีตั้งแต่เรียน
@titiphumesayasonthi3372
@titiphumesayasonthi3372 2 жыл бұрын
น้องชาย เรียนจบมาใหม่ แต่มีงานทำ แต่ตอนนี้ช่วยผมดูแลพ่อแม่ได้สบาย ๆ เพราะ เราสองพี่น้อง มีทักษะหลายด้าน ที่ระบบการศึกษไม่ได้สอน
@infinitylogic1164
@infinitylogic1164 2 жыл бұрын
อัจฉริยะทำอะไรก็ได้ดี แตกต่างจากคนธรรมดา ที่ต้องดิ้นหาทางไปมั่วๆสุดท้ายก็เสียเวลาชีวิตไปโดยใช่เหตุ
@pickynicky
@pickynicky 2 жыл бұрын
สัมภาษณ์พนักงานใหม่พบปัญหาเด็กขาดทักษะพื้นฐานในสาขาที่เรียน ซึ่งการต่อยอดจากความรู้จะทำได้ยาก
@อานนท์รัตนเบญจกาญจน์
@อานนท์รัตนเบญจกาญจน์ 2 жыл бұрын
ความมั่งคงจะทำให้คนอยากมีลูก ความลำบากไม่ใช่ประเด็นหลักที่ทำให้คนไม่อยากมีลูก แต่ถ้าหากลำบากแล้ว ยังไม่เห็นอนาคต เรียนหนัก ทำงานหนัก เงินเฟ้อไวและมากกว่าค่าครองชีพ ทำมากกว่า 1 อาชีพ ยังไม่พอเลี้ยงดูครอบครัว จบมาเป็นร้อย เอาแค่ไม่ถึง 10% ที่เหลือตกเกรดคัดทิ้ง มันก็ไม่ใช่แล้ว จุดประสงค์หลักของการเรียนรู้คือทำให้คนมีความสามารถมากขึ้น เอาไปใช่ได้จริงพึ่งพาตัวเองได้ ประกอบอาชีพเลี้ยงดูตัวเองและครอบครัวได้ พอมีลูกก็จะป้อนกลับระบบ ถ้าระบบมันดีก็จะได้ไปต่อ ในเมื่อไม่เห็นค่าของ 90% ที่เหลือ ระบบการศึกษาแบบนี้ จะลดน้อยถอยลง ก็ไม่ใช่เรื่องแปลก ไปศึกษาสายอาชีพ ไม่ก็หลักสูตรระยะสั้น เพราะเวลาทำงานสมัยใหม่ เขาวัดกันที่ฝีมือเป็นหลัก ชอบตรงเรียนก่อน ฟรี แล้วไปเก็บ 10% จากรายได้ เป็นเวลา 10ปี เพราะหลักสูตรไม่แน่จริง ทำไม่ได้แน่นอน เป็นการการันตี บีบบังคับหลักสูตรการสอนให้ดีขึ้น ตอบโจทย์ใช้งานได้จริง ถ้าทำไม่ได้ ก็เจ้งปิดตัวไป ดีต่อตัวเด็ก และทำให้สังคมมีคนเก่งมากขึ้น เพราะเรียนไปต้องใช้งานได้จริง ไม่ใช่เรียนแค่รู้ มีแต่น้ำ ไม่มีเนื้อ ระบบการศึกษาที่ไม่คำนึงถึงคุณภาพของเด็กก็ไม่ควรได้ไปต่อ ส่วนเด็กก็ต้องตั้งใจเรียน เคารพครู เพราะสอนให้ฟรี เงินค่าจ้างที่ได้มาจากเด็กที่จบไปแล้วมีคุณภาพ ไม่ใช่เด็กไร้คุณภาพที่โดนบังคับให้มาเรียนหรือพ่อแม่เด็กที่ชอบตามใจเด็กจนมีปัญหา ถ้ามีปัญหาระหว่างเรียน คุยไม่รู้เรื่องเกินเยียวยา ก็มีสิทธิพิจารณาให้ออกได้ ไม่ต้องไปเกรงใจ
@hishitecnicgame.7389
@hishitecnicgame.7389 2 жыл бұрын
คือ คนเก่าๆที่เคยอยู่ในที่ทำงานบางคน เขาไม่ยอมรับความคิดเห็นหรือไอเดียใหม่ของคนรุ่นใหม่ๆ และคนรุ่นใหม่ที่ ไปสมัครงาน ก็โดนบุลลี่ว่า ทำอะไรไม่เหมือน บ้านเหมือนเมือง ทั้งๆที่คนเก่าๆเขาก็ทำมาแบบนี้ตั้งนาน แต่ก็ถูกของเขา แต่ปัจจุบัน อย่างระบบโทรศัพท์มือถือ จะมี 5 G เข้ามา แต่คนเก่าๆที่ทำงาน เขายังใช้หลักผลิตโทรศัพท์แบบ 3-4 G อยู่ มันก็เลยเกิเปัญหา ถกเถียงกัน
@infinitylogic1164
@infinitylogic1164 2 жыл бұрын
วิธีเดิมๆตามสมัยเขาก็งี้แหละ ยุครอดจากสงครามอยู่ในช่วงฟื้นฟู มันคิดได้แค่ว่าทำๆไป พอมีการมีงานดีๆทำก็ดีแล้วมีเงินกินเงนใช้ไม่ขาดก็พอแล้ว จึงชอบมองคนรุ่นใหม่ที่มีความพยายามตามฝันว่า เป็นพวกเพ้อเจ้อ ไม่เอาไหน ทำไร้สาระไปวันๆ (มันน่าฆ่าให้ตายเหมือนการสังหารหมู่นาซีเยอร์มันให้แม้งไม่ต้องมีชีวิตมาบ่นแล้วถ่วงความเจริญ)
@thaimusicstation3016
@thaimusicstation3016 2 жыл бұрын
ชอบครับคอนเทนต์เกี่ยวกับการศึกษา
@SundayDead
@SundayDead 2 жыл бұрын
ลูกหลานเกษตรกร​จบแล้วอยากกลับไปพัฒนา​ต่อยอดผลิตผลของครอบครัวตัวเอง​ แต่เจอกฎหมายอุ้มนายทุนขว้างเอาไว้​ สุดท้ายก็ได้แต่ปลูกขายให้พ่อค้าคนกลางมันกดราคา​ ไม่ก็ต้องทิ้ง​
@Y_PALSCHS_ML
@Y_PALSCHS_ML 2 жыл бұрын
ที่เคยศึกษาระบบการจัดการศึกษามา คือมันผิดพลาดมานานมากๆๆๆๆ หลายสิบปีแล้ว ที่ค่านิยมของคนเรียนสนใจเรียนสายอาชีพน้อยลง ซึ่งตรงข้ามกับตลาดแรงงาน ... ดูเอาตามพวกข่าวเลย พ่อแม่ต่อให้จนแค่ไหน มักพูดว่าอยากส่งลูกให้เรียนสูงที่สุด โดยทั้งครอบครัวก็ไม่รู้ชะตากรรมว่า ลูกจบมาจะได้ทำงานอย่างที่เรียนไหม เรื่องน่าเศร้าเคยมีพ่อเป็น รปภ ส่งลูกเรียนจบ ปริญญาตรี Food Science ด้วยนะ เหมือนจะหางานง่ายตามความเจริญของธุรกิจอาหาร โดยเฉพาะสายโรงงาน แต่แล้วลูกก็ตกงาน ปํญหาหนี้สิน พ่อเครียดมาก ฆ่าตัวตายเลย...ผลกระทบรุนแรงเหลือเกิน
@chinchinruang7701
@chinchinruang7701 2 жыл бұрын
การศึกษาในสถานศึกษาในปัจจุบันทำให้ใบปริญญามีค่าไม่เท่ากันและ สวัสดิการก็ไม่เท่ากัน พนักงานบางคนทำงานมา 10 ปี เงินเดือนยังไม่เท่ากับนิสิตที่เพิ่งจบมาใหม่ๆ และที่เมืองไทย ค่าของคนอยู่ที่คนของใคร ยังคงใช้ได้เสมอ !!
@bommanable
@bommanable 2 жыл бұрын
ไม่ใช่ทุกที่ครับ
@naihuatuadee956
@naihuatuadee956 2 жыл бұрын
ยืนยัน สังคมประเทศนี้ ค่าของคน อยู่ที่คนของใคร ทั้งภาคเอกชน และรัฐ ผลลัพธ์คือ ด้อยพัฒนา
@poni7758
@poni7758 2 жыл бұрын
ทำงานมา 10 ปี ยังไม่ไปไหน ทำงานยังไงอะครับ?
@chinchinruang7701
@chinchinruang7701 2 жыл бұрын
@@poni7758 ลองทำงานที่เดิมให้ได้สัก 10 ปี แล้วจะพบคำตอบที่ต้องการ เพราะสถานการณ์ในบริษัท สถานการณ์ของเศรษฐกิจจะเป็นตัวบ่งบอกว่าทำงานอย่างไรทำไมไม่ไปไหนสักที.
@anupongmokkaranurak3320
@anupongmokkaranurak3320 2 жыл бұрын
ใช้ได้ส่วนใหญ่เลยกับภาครัฐ แต่เอกชน ถ้าไม่สามารถสร้างผลสัมฤทธิ์ได้ ก็อยู่ลำบากครับ
@BKRisako
@BKRisako 2 жыл бұрын
สรุปคือตลาดต้องการสายอาชีพ...........(จะไม่ขยายตลาดไทยให้มันรองรับคุณวุฒิ ตรี โท เอก???????) แต่เราผลิตป.ตรี.. แล้วป.ตรี ก็..ผลิตโดยมหาลัย ถ้าไปผลิตสายอาชีพ จะทับกับพวกเทคนิค เทคโน? (ตีว่าปวส. ปวช.) แล้วเทคนิคเทคโน ในกทม. ก็.............อย่าไปพูดเยอะ ........ ขอท็อป 5 สถาบันสายอาชีพไทย ทีครับ แล้วส่งลูกไป จะรอดมาทำงานไหมก่อน...(ที่ขอ..จะได้เป็นทางเลือกสำหรับคนมีลูกน่ะ ว่าส่งไปเรียนแล้วจะรอดตาย ทำงานได้จริง) แต่สายใบ Cer อันนี้เห็นด้วยครับ ส่วนค่าตอบแทน ตีในไทยก็..................หันดูค่าครองชีพด้วยนะ (ป.ตรีลงทุนเรียนก็แพงเด้อ....สายอาชีพไปนี่แทบจะบอกว่า ทิ้งชีวิต)
@supornsoubie5119
@supornsoubie5119 2 жыл бұрын
ประเทศที่ระบบการศึกษาดี นักศึกษาจะถูกป้อนให้มีวิชาความรู้ตามที่ตลาดงานของชาติต้องการ ทำให้ได้งานทันทีที่เรียนจบ ประเทศเจริญ
@teeranatthaplum7380
@teeranatthaplum7380 3 ай бұрын
เอกชนไม่ได้ลงทุนกับการศึกษาไทยมาก มาคอยคัดคนเก่งตอนเค้าจบ รัฐควรส่งเสริมโรงเรียนวิชาชีพให้เยอะ หลักสูตรภาษาอังกฤษควรให้เรียนตั้งแต่อนุบาล เอานักศึกษามาช่วยสอนก็ยังดี
@Paiza_456
@Paiza_456 9 ай бұрын
ผมอยากรู้ว่า ถ้าผมเรียนไม่จบ ม.6 เป็นอะไรไหมครับ ช่วยตอบหน่อยครับ ผมต้องคำตอบอยากเร่งด่วน
@taravilla
@taravilla 2 жыл бұрын
รัฐ ไม่กำหนดนโยบาย เพื่อสร้างวาน ต้องวางแผน ประเทศจะเน้นอะไร เดินไปอย่างไร จะเดินไปอย่าง จะเน้นให้ความรู้ให้สอดคล้องอย่างไร อย่าทำการศึกษาเป็นธุรกิจ บางสาขาวิชาไม่ต้องเรียนในระบบ เน้นประสบการณ์การตรง ใช้เวลา3-6-12เดือน ทำงานได้ ให้ทำงานระหว่างเรียน ใช้เทคโนโลยี่มาสอน การสอบความรู้ ไม่เน้นท่องจำ ที่สำคัญ ผู้นำต้องมีวิสัยทัศน์ แต่ ปัจจุบัน หามีใม่ ตกยุค มีอัตตาสูง เน้นนโยบาย เลี้ยงไม่ให้โตแต่ ไม่ให้โต ปชช ฉลาด ปกครองยาก เด่วเสียอำนาจ
@jintanajintana1554
@jintanajintana1554 5 ай бұрын
พอเสนอความคิดให้เด็กฝึกทำงานสัปดาห์ละ 2/3 วัน.กลับถูกด่าว่า..เป็นภาระเด็ก..งง..มากๆกับความคิดผู้ใหญ่บ้านเรา...ที่ไม่อยากฝึกให้เด็กเข็มแข็ง...พึ่งตัวเองได้😢
@maliyok_fun
@maliyok_fun 2 жыл бұрын
ขอบคุณทีมงาน The Secret Source และคุณเคน มากครับ ท้ายที่สุดก็ การแก้ปัญหาเดียวกัน ประเทศไทยต้องเน้นการกระจายอำนาจ ปรับโครงสร้าง ผ่านมาจะ 10 ปี เราพัฒนาการศึกษาจาก 2555 ไหม หรือเป็น Thailand lost decade
@varadechengineering
@varadechengineering 2 жыл бұрын
ผมดีใจ นะ ที่อย่างน้อย ก็ยังมีคนไทยอีกหลายคน ที่มีใจจะให้ เมืองไทย ดีขึ้น ไปอีกขั้น และนะสังคมยุคนี้ คือช่วงที่ยาก ที่สุด คือ ช่วงเปลี่ยนผ่าน ช่วงของการส่งต่อ เพราะถ้าคนก่อนหน้า แอสซิสต์ มาดี คนรับช่วงต่อ ืก็สามารถ ทำมันให้ประสบผลสำเร็จ ได้ เหมือนๆ กับการเล่นฟุตบอล ขอบคุณครับ
@lionking-sq4vl
@lionking-sq4vl 2 жыл бұрын
เรียนสายอาชีพจบมา ปริญญา+ประสบการณ์ได้แน่ๆๆ ผมเรียนจบได้งานทำเลย ตรงสายที่เรียนมาครับ
@บุษมาลีเสนาะคํา-ว1ม
@บุษมาลีเสนาะคํา-ว1ม 2 жыл бұрын
กัปดักการมีการศึกษา.. ใบปริญญา (แรงงานใหม่)เวลาเปลี่ยน..สถานะการเปลี่ยน" ภาพกว้างหลากหลายอาชีพ " มีเกิดมีดับ.. คนเกินพอดี..มหาวิทยาลัยมีมากเกินพอดี " เรียนแล้วมองภาพกว้างที่ขยับเปลี่ยนไม่เป็นไม่ทันการดำเนินไปของจริง ไม่เป็น "หัวๆ ผู้สอนไปไม่เป็น..เด็กจะไปเป็นได้อย่างไร?" สุดท้ายเฝ้ารร.เฝ้าไม่ให้ครูอาจารย์ไม่ให้ตกงาน" เด็กยอมตกงานแทน ! ขำๆ อำนาจนิยมในรร.มหาวิทยาลัย มันหน้าภาคภูมิใจตรงไหน ?
@siwaphan1
@siwaphan1 2 жыл бұрын
ประเด็นทุกมุมมัตเกี่ยวหมดเลย เศรษฐกิจไม่ดี อัตราการจ้างงานน้อยลง บริษัท ยังคงอยากได้คนมีประสบการณ์แล้คาดหวังงาน การรับสมัครน้อยอัตราลง การแข่งขันสูงขึ้น มหาวิทยาลัย หลักสูตรไม่ตอบโจทย์ จำนวนผู้เรียนก็น้อยลง แต่งานน้อยกว่า เด็กจบใหม่คาดหวังผลตอบแทนที่สูง ซึ่งบริษัทให้ผลตอบแทนสูงก็ยิ่งน้อยไปใหญ่
@SakolThassawang-mn9kn
@SakolThassawang-mn9kn Жыл бұрын
จบมาใหม่ๆยังไม่มีงานและประสบการณ์และถ้าไม่มองค่างานที่ต่ำแนะนำไปทำงานที่สมุทรสาครไปสมัครงานทำประมงคัดปลาแยกปลากับพวกลาวเขมร พม่ารับรองได้งานทำได้ประสบการณ์ขอให้มีความอดทนต่องาน ว่าครั้งหนึ่งเราได้ทำงานมีงานมีเงินใช้ด้วยตัวเองพยายามถีบตัวเองออกไปโลกกว้างงานมันมีถ้ามีความตั้งใจ ไม่ใช่เรียนจบมาดีแต่เลือกงาน ก้อคงจะต้องคอยอีกนานปากท้องมันต้องกิน ไม่เอามานั่งๆนอนอยู่กับบ้าน ค่อยไต่เต้าจนได้งานที่ดีในภายหลัง งานรปภ.ก้อมี งานทำความสะอาดก้อมีรับทั้งชายหญิงขออย่างเดียวไม่มองค่าของงานมันต่ำเท่านั้น
@agachaichoowate3163
@agachaichoowate3163 3 ай бұрын
การศึกษาดีครับ ลองไปศึกษาดูครับ จบป.ตรีไม่จำเป็นต้องเป็นลูกน้องคนอื่นไปเสียหมด มันขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยหลายอย่างครับ ทั้งทางสังคม และระบบเศรษฐกิจ
Mom had to stand up for the whole family!❤️😍😁
00:39
MY HEIGHT vs MrBEAST CREW 🙈📏
00:22
Celine Dept
Рет қаралды 102 МЛН
UFC 308 : Уиттакер VS Чимаев
01:54
Setanta Sports UFC
Рет қаралды 899 М.
Mom had to stand up for the whole family!❤️😍😁
00:39