Future of Learning 2030 ครูจะหายไป ปริญญาจะไร้ความหมาย? | Executive Espresso EP.281

  Рет қаралды 401,659

THE SECRET SAUCE

THE SECRET SAUCE

Күн бұрын

Пікірлер: 750
@TheSecretSauceTH
@TheSecretSauceTH 3 жыл бұрын
00:49 เกริ่นนำ 03:30 สถานการณ์ในปัจจุบัน Current Situations 15:54 สัญญาณการเปลี่ยนแปลง Signals of Change 28:44 ปัจจัยขับเคลื่อนสำคัญ Drivers of Change 29:51 ฉากทัศน์ในอนาคต Scenarios
@อนันต์เบญจสุหร่ง
@อนันต์เบญจสุหร่ง 3 жыл бұрын
ทุกภาคส่วน เวลาเขาคิดอะไร เจาไม่ได้คิดเพื่อการพัฒนา แต่เป็นการคิดเพื่อหาประโยชน์ใส่ตน
@อนันต์เบญจสุหร่ง
@อนันต์เบญจสุหร่ง 3 жыл бұрын
ภาคเอกชน ถ้าหยุดนิ่ง เขาจะถดถอยและแข่งขันหรือขายสินค้าไม่ได้
@flooringwaterproofing375
@flooringwaterproofing375 3 жыл бұрын
⁰0⁰pqql
@youth-chi25ag
@youth-chi25ag 3 жыл бұрын
ขอขอบคุณ...หัวข้อนี้ ทำให้ทราบ สถานะของเรา และหัวข้อสถานะที่อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ในการเรียน การศึกษา ที่มองข้ามไม่ได้เลยรวมข้อมูล ง่ายขึ้นมาก ครับ สิ่งแรก ค่าใช้จ่ายที่เข้าถึงได้ ความเท่าเทียมและการเข้าถึง/ ธุรกิจเป็นรอง ลดความเหลื่อมล้ำ
@boonruenpureesatian8690
@boonruenpureesatian8690 3 жыл бұрын
หากไม่ปฏิรูปการเมืองและระบบราชการคงเปลียนประเทศไทยยากเพราะผู้บริหารทั้งการเมืองและข้าราชการล้วนเห็นแก่ตัวหวงอำนาจ คนรุ่นใหม่ก็จ้องแต่จะไปล้มกษัตริย์ทั้งที่มันไม่ได้เกี่ยวข้องกับการพัฒนา ไม่ส่งเสริมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์รากเหง้าตัวเองดูถูกมิหนำซ้ำยังไปสร้างบทเรียนล้างสมองเด็กตัวน้อยๆให้คล้อยตามแบบผิดๆซึ่งหน้ากลัวมาก แผ่นดินไทยเหมือนถูกกระทำร้ายซ้ำจากคนรุ่นใหม่ที่ไร้ความคิดที่ดีต่อบ้านเมืองจึงหวังยากที่จะมีใครเปลี่ยนประเทศไทยได้เพราะแต่ละคนดีแต่พูดแต่มืดบอดในทัศนคติในความเป็นชาติ ขาดความรักชาติมีแต่ความเห็นแก่ตัวคิดแต่ประโยชน์ตน
@sunmoonsky6241
@sunmoonsky6241 3 жыл бұрын
ฟินแลนด์ประสบผลสำเร็จด้านการศึกษา เพราะส่งเสริมให้เรียนรู้ตามความถนัด และยกย่องทุกอาชีพ ไม่มีใครสูงใครต่ำ ใครด้อย ทุกคนเท่าเทียมกันเพราะทุกอาชีพล้วนสำคัญและมีส่วนในการขับเคลื่อนทางสังคมเช่นกัน
@ohmdhi.5080
@ohmdhi.5080 3 жыл бұрын
แล้วเด็กไทยแลนด์ การคิด ชอบวิเคราะห์เหตุผลมั๊ยครับ ... หลักสูตรก็มีผล เด็กเองก็มีผล ทุกวันนี้เด็กๆ เล่นแต่มือถือ เล่นแต่เกมส์ แล้วมันจะวิเคราะห์ คิดเป็นมั๊ย เหนื่อยแทน ประเทศชาติ
@เฉลาลักษณ์นารอต-ฎ7ญ
@เฉลาลักษณ์นารอต-ฎ7ญ 3 жыл бұрын
@@ohmdhi.5080 เท่าทีสอบถามบางคนเล่นไม่ยอมนอน สว่างเลยทีเดียว
@JohnWick-tc1xy
@JohnWick-tc1xy 3 жыл бұрын
@@เฉลาลักษณ์นารอต-ฎ7ญ ผมวัยทำงานแล้ว ยังเล่นยันสว่างเลยครับ
@thaweesakphanbubpha4873
@thaweesakphanbubpha4873 3 жыл бұрын
ไทยยกย่ิงแต่พวกหมอ
@น้องต่าย-ฅ1ร
@น้องต่าย-ฅ1ร 3 жыл бұрын
@@ohmdhi.5080 มั่วซั่ว
@pitchayach9480
@pitchayach9480 3 жыл бұрын
“ครูจะหายไป ปริญญาจะไร้ความหมาย” เป็นหัวข้อที่ดีนะคะ แต่ถ้าปรับเปลี่ยนเป็นอะไรที่ไปเป็น ทางเชิงพัฒนา เช่น “ครูจะเปลี่ยนไปเป็น….. ปริญญาจะกล้ายเป็น…. ?” แทน จะดูหน้ากดเข้ามาฟังมากกว่านี้เยอะเลยค่ะ เพราะคนรุ่นใหม่ทั้งอายุเยอะและน้อยอย่างเราๆชอบฟัง/อยากฟัง หัวข้อที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนามากกว่าอะไรที่เป็น หัวข้อเชิงปิดค่ะ
@เม็ดทรายสายลม-จ8ฝ
@เม็ดทรายสายลม-จ8ฝ 3 жыл бұрын
ขออนุญาตคิดต่างนะคะ สำหรับสิ่งที่คุณคิดยอมรับว่าคือภาพการศึกษาที่เด็กรุ่นใหม่หลายคนอยากเห็น แต่คุณก็ต้องยอมรับว่าเด็กรุ่นใหม่อีกหลายคนเข้าไม่ถึง จริงอยู่ที่ว่าความรู้หาได้รอบตัว แต่อย่าลืมว่าประสบการณ์การเผชิญสิ่งต่างๆ จะถูกสะสมมาจนสามารถคิด วิเคราะห์ แยกแยะได้แบบไม่บิดเบี้ยว สิ่งนี้ยังต้องมีคนนำทาง และอย่าลืมว่าข้อมูลต่างๆ ในเน็ตมีทั้งจริงและลวงจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลหรือประสบการณ์มาแยกแยะด้วย สิ่งที่นำเสนอคือปลายทางที่ทุกคนอยากเดิน แต่คุณลืมไปหรือเปล่าต้นทางมันเป็นคนละเส้น การจะปรับการศึกษาไม่ใช่การปรับที่ระบบเท่านั้น แต่ยังต้องปรับทัศนคติของครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง แล้วจึงจะนำไปสร้างทัศนคติปลูกฝังเด็กๆ ให้เขากล้าคิด กล้าค้นหา และนำไปสู่แนวทางที่จะปฏิบัติต่อไป เราเป็นคนหนึ่งที่ทำงานไม่ตรงสาย แต่วิชาความรู้ที่ได้รับจากสถาบันก็ยังสามารถนำมาคิดมาสร้างกระบวนการทำงานได้เหมือนกัน มันไม่มีผิดทั้งหมดหรือถูกทั้งหมดแต่มันอยู่ที่การรู้จักนำสิ่งที่รู้มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์กับตัวเอง ถ้าให้เห็นภาพง่ายๆ ก็อย่างโจทย์คณิตศาสตร์ที่เรียนในห้องเรียนกับโจทย์ที่ครูใช้สอบ หลายคนบ่นว่าไม่ตรงกับที่รู้ แต่คนบางกลุ่มกลับแก้โจทย์พวกนั้นได้ คำถามคือ...ทำไมเป็นแบบนั้น? การนั่งเรียนรู้ทฤษฎีเดิมๆ คือพื้นฐานให้เราได้คิดค้นสิ่งใหม่ๆ เอาจริงโจทย์พวกนั้นมันก็ต้องใช้สูตรแก้เดิมๆ ที่ครูสอน แต่สิ่งที่ครูอยากวัดคือการนำไปใช้ได้จริง(บอกก่อนว่าเราไม่ใช่ครู และไม่ได้อวยครูแบบไร้เหตุผล และจริงอยู่ว่าคนเป็นครูที่ไม่ได้มีจิตวิญญาณของการเป็นครูอาจจะมีอยู่ในสถาบันไหนสักที่) แต่ข้อเสียของระบบการศึกษาเดิมคือการไม่บอกอย่างตรงไปตรงมา ทำให้เด็กบางกลุ่มบางคนเข้าไม่ถึง หากปรับพื้นฐานการศึกษาให้ชัดเจนและเด็กๆ เข้าใจจุดประสงค์มากขึ้น สอนให้เขาเข้าหาข้อมูลอย่างถูกต้องมากกว่าป้อนข้อมูลเข้าหัว จะทำให้เกิดวิมานที่คุณพูดถึงในอนาคตได้มากกว่า อยากให้วิมานเกิดก็อย่าเอาแค่ปราสาทสวยงามมาหลอกล่อ แต่ต้องมอบเส้นทางที่จะให้เด็กๆ ได้เดินไปถึงวิมานที่เขามองเห็นนั่นด้วย
@Thanutheeratham
@Thanutheeratham 3 жыл бұрын
เด็กไทยเก่งจริง พอหมดช่วงทารกเด็กน้อยที่ไม่รู้จักตัวหนังสือ ยังมีความสามารถอย่างอัศจรรย์ในการจับมือถือมาทำอะไรได้มากมายโดยเราไม่ได้สอน และทำอะไรได้อย่างชาญฉลาดในมือถือมากกว่าพ่อแม่เป็นร้อยๆๆเท่า ที่พ่อแม่ตามไม่ทันกันเลยที่เดียว ช่องทางการเรียนรู้เร็วมากในเด็กตัวเล็กๆ เด็กเก่งโซเชียลมากกว่าพ่อแม่มากมาย ปรับความฉลาดตัวนี้ไปสู่การค้นพบวิถีเรียนรู้อย่างทันสมัยได้
@เม็ดทรายสายลม-จ8ฝ
@เม็ดทรายสายลม-จ8ฝ 3 жыл бұрын
@@Thanutheeratham เพราะเขามีพื้นฐานค่ะ ถ้ามีพื้นฐานเขาก็นำไปปรับจูนได้ ยิ่งได้รับการสนับสนุนที่ดีก็ยิ่งไปได้ไกล แต่การพัฒนาควรเป็นภาพรวมมากกว่าเฉพาะเจาะจงที่บางกลุ่มหรือเปล่าคะ พ่อแม่ในยุคเก่าอาจจะตามไม่ทัน เพราะในสมัยนั่นๆ เทคโนโลยีถูกพัฒนาอย่างรวดเร็ว แต่เชื่อพ่อแม่ยุคใหม่ที่มี mindset ดีๆ จะพัฒนาเด็กรุ่นใหม่และเป็นกำลังสนับสนุนที่ดีได้ค่ะ เทคโนโลยีเปลี่ยนเร็วได้ แต่คนนี่แหละที่ต้องปรับตัวให้ทัน
@Thanutheeratham
@Thanutheeratham 3 жыл бұрын
@@เม็ดทรายสายลม-จ8ฝ ผมเห็นเด็กอายุน้อยมากต่างจังหวัดไม่มีพื้นฐานอะไรเลย ยังอ่านหนังสือไม่ได้ 2-3ขวบ ไม่มีต้นทุนความพร้อมอะไรเลย เขาเข้าถึงวิธีการใช้มือถืออย่างรวดเร็ว พ่อแม่ยังไม่รู้ว่าเล่นเกมส์อย่างไร แต่เด็กเหล่านั้นใช้ใือถืออย่างคล่อง นั่นแสดงว่า เด็กเล็กๆเข้าถึงความรู้ได้โดยไม่ต้องสอน การพัฒนาการศึกษาสามารถเริ่มได้เลยผ่านมือถือ โดยไม่ต้องปรับโครงสร้างการศึกษา ช่องทางนี้น่าจะเร็ว เพียงพอระดับหนึ่งต่อการพัฒนาฐานจากเด็ก2-3ขวบได้เลย แบบเด็ก
@เม็ดทรายสายลม-จ8ฝ
@เม็ดทรายสายลม-จ8ฝ 3 жыл бұрын
@@Thanutheeratham มองให้กว้างดีกว่าเจาะแค่เด็กบางคนดีกว่านะคะ ไม่งั้นคงไม่ข่าวคึกโครมตีกันมั้ง ฆ่ากันมั้ง ถ้าไม่ปูพื้นก็ใช่ว่าเด็กทุกคนมันจะเก็ต อย่างประเทศที่เขาพัฒนาแล้ว อย่าบอกว่าเขาจับยัดมือถือใส่มือเด็กให้เรียนรู้เองนะคะ เขาปูพื้นฐานกันไว้ตั้งแต่จิตสำนึก
@Thanutheeratham
@Thanutheeratham 3 жыл бұрын
@@เม็ดทรายสายลม-จ8ฝ ขอบคุณที่ได้คุยกันครับ
@aaba8614
@aaba8614 3 жыл бұрын
พื้นฐานการเรียนคือ ความจำ ขั้นกลางคือ ความคิด และ ขั้นสูงคือ การสร้างสรรค์
@makeiteasy8826
@makeiteasy8826 3 жыл бұрын
เป็นมุมมองของเอกชน​ หากเป็นมุมมองของราชการยังคงเป็นเเบบเดิม​ อยากเปลี่ยนแปลงนะ​ แต่อะไรจะทำให้พวกเขาเหล่านั้นเปลี่ยน​ ในเมื่อเงินป้อนเข้าระบบพวกเขาทุกปี​ แม้ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ​
@JohnKickboxing
@JohnKickboxing 3 жыл бұрын
ระบบราชการจะล่มสลายอีกในไม่ช้า อเมริกาจะใช้หุ่นยนต์ ai ผลิตสินค้าแทนมนุษย์ ราคาถูกลงมาก คนจะไม่หันมาผลิตสินค้ากับไทยอีกแล้ว ราชการก็จะล่มเพราะไม่มีเงินภาษีมาเลี้ยง โดนเลย์ออฟ
@buddyiamp7879
@buddyiamp7879 3 жыл бұрын
ยังไงก็ตามต้องมีการรับรองคุณภาพ แล้วเอาอะไรมาวัดกันดีล่ะทีนี้ จะวัดเองหรือมีหน่วยงานรับรองมาตรฐานที่น่าเชื่อถือ
@YHUFANG
@YHUFANG 3 жыл бұрын
หัวคิดของราชการกับเอกชนแตกต่างกันอย่างสื้นเชิงจริงๆค่ะ ขนาดเด็กรุ่นใหม่ที่ทำงานราชการก็ยังได้ความคิดแบบเดิม เน้นความมั่นคง เน้นสวัสดิการ ไม่เน้นออกมาสู้ชีวิตออกมาแข่งขันว่าใครจะไปได้ไกล ไปได้ไว ไม่สามารถรับแรงกดดันไม่รู้สึกถึงความที่ต้องเผชิญกับสภาวะเศรษฐกิจที่ส่งผลต่องานของเอกชนที่ทำให้ต้องดิ้นรนต้องพัฒนาตัวเองต่อไป
@thanadechwanasuk8431
@thanadechwanasuk8431 3 жыл бұрын
ใบปริญญาลดความสำคัญไปมากครับ คำถามคือคุณเรียนรู้ได้เอง และทำได้จริงไหม หากทำได้ ผมว่าใบปริญญาไม่ตำเป็น ตำราช้ากว่าของจริงเสมอ กระบวนการคิดเป็นเรื่องสำคัญมากกว่าครับ
@sudhirsumongkol8972
@sudhirsumongkol8972 3 жыл бұрын
เรียนรู้ได้เองและทำได้เองจริงครับ หากมีแรงจูงใจพอ
@maxax8848
@maxax8848 3 жыл бұрын
ผมแชร์ประสบการณ์ส่วนตัว ออกตัวว่า 'ไม่ได้อวด เพราะตัวจริงผมเป็นใคร ไม่มีใครรู้' ชีวิตนี้ ...จบสาขานิเทศศิลป แต่ถูกทาบทาม 2ครั่ง จาก 2มหาวิทยาลัยรัฐ Top10 ของกรุงเทพฯ ให้ไปสอนเศรษฐศาสตร์ เด็กชั้นปริญญาโท ....ซึ่งผมปฎิเสธทั้ง 2 ครั้ง ผมอายตัวเอง อายลูกศิษย์ ...ผมไม่เคยมีปริญญาเศรษฐศาสตร์เลย แม้แต่ใบเดียว ข้ามดราม่านะ เอาเป็นว่ามาตรฐานความรู้ผม ดันเข้าตา มหาวิทยาลัยรัฐ Top10 ของเมืองหลวงไทย คือ ผมเอาความรู้มาจากไหน 95% จากโลก Online ...ฟัง และ อ่าน .....85% ภาษาไทย ที่เหลือภาษาต่างชาติ ส่วนใหญ่ภาษาอังกฤษ ....ข่าว สัมนาเศรษฐกิจ บทความ มหาวิทยาลัยแรก ทาบทาม 20ปีกอน มหาวิทยาลัยล่าสุด ทาบทาม 5ปัก่อน ##### เด็กรุ่นใหม่ๆ เก่งกว่าผมอีก เรื่องหาความรู้ ...แต่ไทยน่าจะยังมีบรรยากาศ ถามหาปริญญา แบบเข้มข้น
@sudhirsumongkol8972
@sudhirsumongkol8972 3 жыл бұрын
เพื่อนผมจบการสอนภาษาอังกฤษมาจากออสเตรเลีย ถูกผู้บริหารให้สอนคอมพิวเตอร์ระดับปริญญาตรีในต่างจังหวัด ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อเพื่อนที่เรียนด้วยกันมาตั้งมัทธยมจนจบอนุปริญา ไม่มีอีเมล์จนเกษียณไปหลายปีแล้วก็ยังไม่มี
@maxax8848
@maxax8848 3 жыл бұрын
@@sudhirsumongkol8972 ทางผู้บริหารไม่ชอบขี้หน้า หรือว่า ...จังหวะมันไปทางนั้นพอดี คือ ยิ่งรุ่นอาวุโสเท่าไร ...มักต้องการสายตรง แล้วขอบถามหาปริญญาสาขานั้นๆ แต่เด็กรุ่นนี้ ...ข้ามสายง่ายขึ้นมาก ความรู้หลายสาขามาก เรียนเองก็ได้ ...บางสาขาวิชาผมเห็นเด็กรุ่นนี้แล้วตกใจ ##### ส่วนกรณีเพื่อนคุณ ถ้าเป็นเด็กรุ่นใหม่นะ แนะนำให้ดื้นรนเอง โอกาสมันเยอะมากๆ ##### ผมนี่ นิเทศศิลป แต่เคยคุมงานการตลาด ประชาสัมพันธ์ ....ความรู้การเงินก็เอามาเล่นหุ้นไง ...ปรับใช้เอา
@naruemonsungsuk9960
@naruemonsungsuk9960 3 жыл бұрын
@pieak4066
@pieak4066 3 жыл бұрын
ผมว่าใบประกาศจากสถานศึกษายังมีประโยชน์นะในอนาคต แต่การให้อาจจะเปลี่ยนไป คือให้กับคนที่มีความสามารถแต่ล่ะด้าน คล้ายๆ ม. ราม แต่จะเข้มข้นกว่ากันมาก โจทย์ที่จะต้องสอบก็ไม่ใช่แค่มากากบาทเลือกช๊อย แต่จะเป็นการสร้างโปรเจคที่จะต้องมี impact กับสังคมถึงจะผ่านและได้รับปริญญา
@supatsornboonngam6666
@supatsornboonngam6666 3 жыл бұрын
เห็นด้วยนะคะ ส่วนตัวคิดว่าการที่จะเปลี่ยนระบบการศึกษาไทยต้องเกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้ 1.ปรับปรุงหลักสูตร 2.ปรับเปลี่ยนทัศนคติของครู 3.ปรับการบริการงบประมาณด้านการศึกษา โดยเฉพาะการทุจริตคอรัปชั่น ข้อนี้สำคัญสุด เพราะทำให้ใช้งบประมาณได้ไม่เต็มที่ เกิดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา และที่น่ากลัวคือผู้คนมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องปกติจนเคยชิน จนยากที่จะแก้ไข 4.เพิ่มแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน 5.สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตค่ะ เรามองจากประสบการณ์ที่ผ่านมานะคะ เรื่องที่จะปฏิรูปเป็นเรื่องดีมาก ๆ การปฏิรูปวัตถุนั้นทำได้ง่ายกว่าการปฏิรูปคน ถ้าทัศนคติของทุกคนเปลี่ยนไปในทิศทางเดียวกัน การศึกษาไทยจะดีขึ้น คุณภาพชีวิตก็จะดีขึ้นตามแน่นอนค่ะ
@TheSimonbirch
@TheSimonbirch 3 жыл бұрын
ใครเป็นคนทำข้อมูลให้พิธีกรคนนี้ ต่อไปควรรอบคอบมากขึ้น - พิพิธภัณฑ์ในไทย ส่วนมาก ห่วยจริงเพราะไม่ได้รับการสนใจ ดูแล ปรับปรุง ... แต่การจะเอาจำนวนไปเทียบกับประเทศอเมริกา ว่ามีน้อยกว่า แล้วสรุปว่าแหล่งเรียนรู้ของไทยมีน้อยกว่า อันนี้คงไม่ถูกต้อง เพราะจำนวนประชากรต่างกันมาก ขนาดพื้นที่ประเทศต่างกันมาก หากเราจะตำหนิเรื่องหลักสูตรเพียงอย่างเดียวคงไม่ได้ เพราะคตินิยมของประชาชนก็มีส่วนมาก ถ้าพ่อแม่ส่วนมากยังยึดติดกับคะแนนสอบ การเร่งเรียน ดีใจมากถ้าลูกท่องจำเก่ง หงุดหงิดเมื่อลูกแสดงเหตุผลของตัวเองที่ขัดใจพ่อแม่ ... ซึ่งสิ่งสำคัญ คือต้องเปลี่ยน mindset พ่อแม่เหล่านี้ก่อน แล้วจึงจะสามารถผลักดันภาพใหญ่ได้
@sudhirsumongkol8972
@sudhirsumongkol8972 3 жыл бұрын
ผมไม่ได้อ่านมากหรือฟังจนจบ อ่านเฉพาะหัวข้อ ขอการันตีว่า แหล่งการเรียนรู้ของไทยน้อยกว่าอเมริกามาก ไม่ว่าจะเทียบด้วยมาตรฐานใด ตำหนิหลักสูตรอย่างเดียวไม่ได้ก็จริง แต่ตำหนิได้มาก ต่างกันมาก ไม่ว่าระดับมัทธยมหรืออุดมศึกษา (แต่ไม่ใช่ทั้งหมดแน่นอน) ที่คุณพูดถึงความคิดของพ่อแม่ถูกต้องแล้วครับ ต้องเปลี่ยน ซึ่งคนที่มีการศึกษาเขาก็คงทำอยู่แล้ว สำหรับพิธีกรนั้น ผมว่าเป็นพิธีกรที่มีน้ำยา ไม่ว่าเนื้อหา ภาษาและการนำเสนอ
@monkeycoder7368
@monkeycoder7368 3 жыл бұрын
@@sudhirsumongkol8972 ห้องสมุดในไทย ห้ามเสียงดัง ห้องสมุดในออสเตรเลีย แบ่งอาณานิคม เงียบกริบ, เบามาก, แหกปากเต็มที่
@ธันวาพิมพ์ลาย
@ธันวาพิมพ์ลาย 3 жыл бұрын
สร้างมาก็เท่านั้นเพราะคนไทยไม่ใส่ใจเรียนรู้เสีย80% โดยเฉพาะห้องสมุดสร้างไว้ให้ฝุ่นจับ(ไม่นับรวมห้องสมุดตามสถานศึกษานะครับ)
@monkeycoder7368
@monkeycoder7368 3 жыл бұрын
@@ธันวาพิมพ์ลาย เพราะบรรณารักษ์ไม่มีกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ก็มาจากการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยของบรรณารักษ์อีกได้ทำกิจกรรมมั้ย ถ้าทำต้องใช้งบเท่าไหร่ในการรณรงค์การอ่านมากกว่า 7 บรรทัด หนังสือบางเล่มไม่จำเป็นต้องอ่าน บางเล่มอ่านแค่ 7 บรรทัดก็พอ ยิ่งหนังสือเรียนบางวิชาข้อมูลผิดเกินครึ่งเล่ม
@kritpasitp.776
@kritpasitp.776 3 жыл бұрын
การเปลี่ยน mindset ของพ่อแม่ ต้องมาจากการ pr จากภาครัฐ
@ruixu7246
@ruixu7246 3 жыл бұрын
หลายชาติศึกษาพระไตรปิฎกของเราจนแตกฉาน วิจัยสิ่งต่างได้ยอดเยี่ยมมาก หลายหลักสูตร คนไทยเอาพระไตรปิฎกขึ้นหิ้งกราบไหว้ แล้วบอกว่าเป็นชาวพุทธ
@somboonssb1019
@somboonssb1019 3 жыл бұрын
ใช่มากๆ
@พึงพิศศูนย์กลาง
@พึงพิศศูนย์กลาง 3 жыл бұрын
พระไตรปิฎกวัดจะเก็บไว้ในตู้อย่างดี บางทีโดนปลวกเอาไปกิน
@น้องต่าย-ฅ1ร
@น้องต่าย-ฅ1ร 3 жыл бұрын
ของเราที่ไหน 😆 ของโลกไม่ใช่ของใคร และเขาจะศึกษาศาสนาพุทธจริงๆเขาจะอิงของเนปาลเป็นหลักด้วย และการกำเนิดก็จากอินเดียอีก อะไรกันนะที่บอกว่าของเราของไทย
@buddyiamp7879
@buddyiamp7879 3 жыл бұрын
แล้วคุณเคยอ่านมั้ย
@ruixu7246
@ruixu7246 3 жыл бұрын
@@buddyiamp7879 sure
@panneeboonsiriya7349
@panneeboonsiriya7349 3 жыл бұрын
เป็นคุณครูค่ะ ติดตามฟังเดอะ สแตนดาร์ด และช่องอื่นๆในเครือ : RUOK, คำนี้ดี , Readery Podcast และฟังวิเคราะห์ของคุณเคน มาตลอด ดีมากๆ ทุก คลิป ทำให้หูตา สว่าง ทันยุคสมัย ขอบคุณสื่อน้ำดี แบบนี้ค่ะ 💖🙏🏻
@iampeople.1709
@iampeople.1709 3 жыл бұрын
ขอบคุณคุณครูที่เข้าใจ. แต่ผู้บริหารระดับสูงจะเอาด้วยมั้ย. เท่านั้นแหละ. เป็นกำลังใจให้ครูไทยครับ.
@panneeboonsiriya7349
@panneeboonsiriya7349 3 жыл бұрын
@@iampeople.1709 นี่ตั้งแต่มีโควิด มา ๒ ปี โดนดิสรัป ด้วยการเรียนออนไลน์ ก็ต้องพยามปรับการสอน ทุกอย่าง ใช้เทคโนโลยี และคอยหาข้อมูลว่า การเรียนไปตอบโจทย์ธุรกิจ การทำมาหากินอะไรได้บ้างค่ะ 😊
@monkeycoder7368
@monkeycoder7368 3 жыл бұрын
@@panneeboonsiriya7349 สอนonlineนักเรียนรู้เรื่องหรอ
@panneeboonsiriya7349
@panneeboonsiriya7349 3 жыл бұрын
@@monkeycoder7368 ไม่รู้เรื่อง แต่จะให้ทำไงได้_ เพราะตอนนั้น นักเรียนยังไม่ได้วัคซีน แต่ตอนนี้ นักเรียนได้ไฟเซอร์ ครบ ๒ เข็มแล้วส่วนครูน่ะเหรอ จ่ายค่าโมเดอน่า ไป 5 เดือนแล้ว ป่านนี้ยังไม่ได้ฉีดเลย แต่ 1 พ.ย ก็ต้องไปทำงาน ทำไงได้ ล่ะ ออกไปม้อบกับเยาวชนกลุ่มราษฎร ก็แล้ว รัฐ ทหารชุดนี้ ก็ยังไม่ ออกซะที ห่วยแตก !
@gaiamagna9156
@gaiamagna9156 3 жыл бұрын
ปัญหาการศึกษา(ไทย) 1. รากเหง้าคือ พ่อแม่ผู้ปกครอง ซึ่งส่วนใหญ่ไม่มีศักยภาพความพร้อมที่จะเป็นผู้ปกครองเด็กๆ ส่วนใหญ่มีเพศสัมพันธ์ตามธรรมชาติต้องการ แล้วมีลูก แต่ไม่มีองค์ความรู้ที่ดีพอจะเป็นผู้ปกครอง เป็นแบบอย่างแก่ลูกได้ 2. ครู อาจารย์ในปัจจุบัน ยังคงเป็นผลผลิตจากยุคที่ล้าสมัยแล้ว และส่วนใหญ่แค่ต้องคิดว่าจะหาเงินใช้หนี้ของตัวเองยังไง เวลา 24/7 ก็หมดแล้วจะเอาเวลาที่ไหนมาคิดเรื่องสอน แค่สอนตามที่ตัวเองได้เรียนมาจากยุคก่อนๆ ยังสอนไม่ทันตามกำหนดเวลาที่มีเลย ดังนั้นการจะแก้ปัญหาแบบยั่งยืน คือต้องแก้ที่ต้นเหตุเลย คือเพิ่มสมรรถนะ(Health, Wealth, Wisdom)ให้กับผู้ปกครองและครูก่อนอันดับแรก เพราะถ้ารากเหง้าของต้นไม้ไม่ดี คุณจะหวังให้มันมีดอกผลที่สวยงามได้อย่างไร 3. ผู้กำหนดทิศทางของวิถีชีวิตมนุษย์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันคือชาวตะวันตก และชาวตะวันตกส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษ( franca English) ดังนั้นถ้าคนไทยอยากเรียนรู้เท่าทันผู้กำหนดวิถีชีวิต ก็ต้องรู้ภาษาอังกฤษ 4. ปัญหาอีกอย่างคือ คนไทยส่วนใหญ่ ถ้าเป็นความสามารถแบบปัจเจก เก่งไม่แพ้ชนชาติใดในโลก แต่เป็นทีมเวิร์คที่แย่มากๆ คนไทยเด่นมากเรื่องความอิจฉาริษยากันเอง มัวแต่ทะเลาะกันกับเรื่องไร้สาระ จนงานการพังหมด 5. สาธารณูปโภคพื้นฐานยังมีไม่ทั่วถึงความเจริญยังกระจุกอยู่แค่เฉพาะในเมือง พอออกนอกเมืองอย่าว่าแต่จะหาที่ทิ้งขยะยังไม่เจอเลย บางที่ถนนจะไปยังไม่มี ไฟฟ้า ฯลฯ 5. ถ้าคนส่วนใหญ่ของประเทศยังหิว และยังกลัวว่าจะอดตาย พวกเขาไม่มีเวลาไปคิดเรื่องอื่นหรอก แม้กระทั่งเรื่องการศึกษา ถึงแม้จะรู้ดีว่ามันจะทำให้ชีวิตดีขึ้นก็ตาม ดังนั้นอย่างแรกที่ต้องทำเลย คือทำยังไงก็ได้ให้คนส่วนใหญ่ของประเทศอิ่มท้อง และไม่ต้องกลัวว่าตัวเองและครอบครัวจะอดตายให้ได้ก่อน
@มือดีดี-ษ4ฬ
@มือดีดี-ษ4ฬ 3 жыл бұрын
เราว่าอยากให้ทุกคนอิ่มท้องก็แค่ขยันทำมาหากินไม่เกียจคร้าน อย่าขายไร่นา ขุดสระเลี้ยงปลาปลูกข้าวปลูกทุกอย่างที่กินแค่นี้ก็ไม่อด เราไม่รวยแต่ไม่เคยทุกยากเพราะเราขยัน
@NTNTNT2577
@NTNTNT2577 3 жыл бұрын
จริงต้องเน้นสถาบันครอบครัว พ่อเเม่ต้องมีความรู้ เเละเวลา เเละต้องปูมาเเต่อนุบาล ขึ้นมาเรื่อยๆ ช่วงหลังชาวตะวันตกไม่ได้เรียนสูงก็มีเยอะขึ้นจริงนะ เเต่ลองไปดูจริงๆ คนที่เรียนสูงๆในโลกตะวันตกช่วงหลัง กลับเป็นพวกลูกหลานอพยพรุ่น 2 หรือ 3 เช่น จีน อินเดียที่เพิ่มมากขึ้นในยูดังๆ เมกาคงหวั่นลึกๆ เหมือนกันนะ
@Dharma_is_Dharma
@Dharma_is_Dharma 3 жыл бұрын
สาธารณูปโภคที่ท่านว่า หลายพื้นที่ไม่มีจริงๆ แต่มันขึ้นกับผู้นำชุมชน อบต.จังหวัด, สส. ของท่าน ทำงบผูกพันแล้วส่งขึ้นไปตั้งงบซะ แต่ที่เห็นเป็นแบบทุกวันนี้ เพราะไม่ทำเอง พอจะทำ ดันมีหลายที่ งบเยอะ โดนตัดอีก อ้อ..ส่วนไฟฟ้าไม่มี ก็แจ้งการไฟฟ้าฯ นะ ขอขยายเขต ยิ่งบางบ้านอยู่ไกลมากๆ ทางการไฟฟ้าฯไม่ไปปักเสาพาดสายไฟฟ้าให้ เพราะมันไม่คุ้มกับเขา ก็เลยไม่ทำ
@gaiamagna9156
@gaiamagna9156 3 жыл бұрын
@@NTNTNT2577 ก็คงเหมือนจีนเจนในเมืองไทยนั่นแหละ แต่คุณก็ไม่ต้องไปคิดมากเกี่ยวกับเรื่องเชื้อชาติหรือสัญชาติหรอก เพราะคนฉลาดและเก่งจริงๆในอนาคตจะกลายเป็น world citizens ทำงานกับบริษัท multinational ที่มีสาขาอยู่ทั่วโลก สามารถไปทำงานได้ทุกที่ในโลก ยิ่งการคมนาคมที่จะรวดเร็วสะดวกสบายยิ่งขึ้นคุณจะไปเช้าเย็นกลับสิงคโปร์-เมืองไทยก็น่าจะได้ ( ถ้าพวกโง่และบ้าอำนาจไม่ก่อสงครามทำลายล้างความเจริญของมนุษยชาติขึ้นเสียก่อน อยู่กับพวกคนบ้าต้องทำใจ พวกนี้แยกแยะดีชั่วไม่ออก เพราะบ้าน่ะ และถ้ามหาภูเขาไฟไม่ปะทุขึ้นเสียก่อนนะ)
@gaiamagna9156
@gaiamagna9156 3 жыл бұрын
@@Dharma_is_Dharma "ที่เป็นแบบนี้เพราะไม่ทำ แต่พอคิดทำก็ดันผิดเวลา มันก็เลยยังคงเป็นอยู่แบบนี้"(ก็หวังว่ามันคงไม่"เป็นแบบนี้"ตลอดไป) ถึงจะฟังย้อนแย้ง ก็จะพยายามเข้าใจก็แล้วกัน ทุกพื้นที่ของประเทศ เหมือนชิ้นส่วนจิ๊กซอว์ที่รวมกันเข้าเป็นภาพประเทศ ขาดส่วนหนึ่งส่วนใดไปภาพก็คงไม่สมบูรณ์ ถ้าต้องการความเจริญรวดเร็วก็ทุ่มงบความเจริญใส่แค่บางจุด(แต่ปัญหามากมายจะตามมา เมื่อคนหมู่มากมาอยู่รวมกันเพราะต้องการความเจริญอันเดียวกัน เช่นพื้นที่อยู่อาศัยเป็นต้น เรื่องนี้ชุมชนทางรถไฟ หรือชุมชนแออัดต่างๆคงเป็นตัวอย่างได้ดี รถติด และอื่นๆ เพราะมันขาดช่องว่างที่เหมาะสม) แต่ถ้าต้องการความเจริญแบบก้าวไกลและมั่นคง จำเป็นต้องทำทุกที่ไปพร้อมเพรียงกัน (If you want to go fast, go alone. If you want to go far, go together.)
@nachayanatphithakwarapakon4033
@nachayanatphithakwarapakon4033 3 жыл бұрын
เป็นความจริงทุกประการที่ท่านพูดคะ ถึงแม้ว่าเราจะปฏิรูปการศึกษาอย่างไรก็ไม่ประสบความสำเร็จสักที พี่เคยพูดในที่ประชุมครูเมื่อ ปี 57 แล้วว่าการศึกษาจะเปลี่ยนไป แต่สู้ครูเก่าๆ ไม่ได้เพราะมักจะสอนแบบเดิมๆ คิดว่าตัวเองเก่งเป็นศูนย์กลางของความรู้ ขอบคุณมากนะคะที่ช่วยเป็นกระบอกเสียง พี่ขออนุญาตแชร์ ให้ลูกศิษย์ที่เป็นครู และผู้ปกครองได้ทราบนะคะ
@NTNTNT2577
@NTNTNT2577 3 жыл бұрын
ในระดับมหาวิทยาลัยหลักสูตรอินเตอร์ ขอไม่บอกว่าที่ไหน สอนเเบบใหม่สอนได้ เเต่เด็กไทยเงียบ ไม่ตอบ ไม่กล้า ไม่รู้ก็ไม่ตอบ รู้ก็ไม่ตอบ บอกเลย สู้เด็กอินโดนีเซียที่เรียนด้วยกัน ตอบฉะฉานกว่า กัมพูชายังตอบเลยเเม้ความรู้เค้าไม่เเน่น เด็กไทยยังไม่ได้ไม่พร้อมจะเป็นเซ็นเตอร์ (ในภาพรวมนะ ไม่นับเด็กไทยที่เก่ง) เเนะนำถ้าต้องปรับเเละปูมาตั้งเเต่อนุบาล ประถมขึ้นมา จะมาเเก้ในมหาวิทยาลัยนี้ยากมากๆ ไม่มีทางทำได้ เพราะเด็กติดเเบบนั้นไปแล้วจริงๆ นี่ก็เจอก๊อปงานการบ้านส่งครึ่งห้อง ปวดหัวมาก
@nachayanatphithakwarapakon4033
@nachayanatphithakwarapakon4033 3 жыл бұрын
@@NTNTNT2577 ใช่คะเป็นเช่นั้นจริงๆ
@สมพงษ์สาบุบผา
@สมพงษ์สาบุบผา 3 жыл бұрын
@@NTNTNT2577 มันเป็นเหมือนสภาพแวดล้อม​ของสังคมสร้างมาแบบนี้มังครับ​ จริงๆเป็นตั้งแต่เด็กยันผู้ใหญ่​ ใครตอบหน่อยโดนสังคมเขม่น​เอาด้วยนะ
@user-kh8yx5km6e
@user-kh8yx5km6e 3 жыл бұрын
@@NTNTNT2577 มันเป็นด้วยสังคมครูด้วยครับที่เด็กไม่อยากพูดไม่อยากเสนอความเห็น...สังคม ข้าราชการ...พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียนายให้สองขั้นครับผม..และครูก็จะถ่ายทอดมาสู่ ลูกศิษย์แบบธรรมชาติเนียนๆครับผม
@ตั้งใจรัก-ฝ2ฃ
@ตั้งใจรัก-ฝ2ฃ 3 жыл бұрын
ตอนนี้ก็เริ่มสอนหลานแล้วว่าเรียนไปตามสเต๊ป ชอบอะไรค่อยไปหาความรู้เพิ่มเอาเอง ไม่เน้นปริญญา ตรี โท เอก แล้วคะ เน้นประสบการณ์เลย ง่ายดี ไม่ต้องไปสมัครงานนั่งทำที่โต๊ะแล้ว ้ริ่มให้เขาปรับตัวแล้วคะ
@poshmasterpiece888
@poshmasterpiece888 3 жыл бұрын
รัฐมนตรี​การศึกษา​ต้องการคนแบบนี้ครับแอดฯ..แบบคุณ​ผู้บรยายนี้เลยครับเพราะปัจจุบัน​คนในหาทางออกจากกรงขัง​ กับดักการศึกษา​ไม่ได้.. คนระดับการศึกษาจบมาหลุดกรงขังมา.. ก็ต้องมาผจญ​กับ.. "กับดักความสพเร็จอีก" เพราะการศึกษา​ไทยคือวงจรหลักของการพัฒนากับดักความสำเร็จ​ตัวเขื่อง
@mujalinkerdsak5283
@mujalinkerdsak5283 3 жыл бұрын
ยิ่งฟังยิ่งห่วงอนาคตเด็กไทย ภายใต้ชนชั้นปกครองในยุคปัจจุบัน
@nittayasutavimol4861
@nittayasutavimol4861 3 жыл бұрын
ความคิดนี้เห็นด้วย หมดคำพูด
@monkeycoder7368
@monkeycoder7368 3 жыл бұрын
@@nittayasutavimol4861 สวดมนต์ไล่ลุง
@uthensuwan7528
@uthensuwan7528 3 жыл бұрын
ตระกูล นั้น...ต้องการให้เป็นแบบนี้
@nittayasutavimol4861
@nittayasutavimol4861 3 жыл бұрын
@@uthensuwan7528ยายคิด พวกมันมีกรรมหนักรวยล้นแทนที่จะเสวยสุขตายก็เอาไปไม่ได้ จะทำให้คนสาบแช่งหัวโขนที่แบกไว้จนหนักอึ้งทำไม
@นกยูงอันดามัน-ฉ1ต
@นกยูงอันดามัน-ฉ1ต 3 жыл бұрын
ศึกษาข้อมูลให้รอบด้านก่อนมั้ย ก่อนกล่าวหาใครเป็นผู้ร้าย ทุกองคพายพในสังคมไทยล้วนก่อเกื้อค้ำจุนสิ่งที่เป็นอยู่ คุณเองก็ไม่ใช่ข้อยกเว้น วิธีคิดแบบป้ายอุจจาระให้ใครคนใดคนหนึ่ง สถาบันใดสถาบันหนึ่ง คือพวกทาสคัมภีร์ ชอบกล่าวหาอย่างสุดโต่ง หล่อเลี้ยงความเชื่อด้วยความเกลียดชัง หาประโยชน์อันใดต่อสังคมไม่ได้หรอก เพราะมุ่งแต่ทำลายล้างกำจัดคนที่ไม่ใช่พวก เชื่อและท่องจำตามๆกันมาจากกระแสที่ปั่นในsocial คุณก็ทำตัวไม่ต่างจากระบบการศึกษาที่คุณวิพากษ์นั่นแหละ ชอบท่องจำ มากกว่า ค้นคว้าข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ และ สังเคราะห์เป็นชุดความคิดของตนเอง อย่าเพิ่งไปห่วงเด็กไทยในอนาคตเลย ห่วงตัวเองก่อนมั้ย ท่องคัมภีร์ปฏิวัติอายุร่วมร้อยปีมาฟาดแบบเหวี่ยงแห ไม่ดูบริบทปัจจุบันเล้ยยยย
@nonglak_koonmee7350
@nonglak_koonmee7350 3 жыл бұрын
เด็กมีความหลากหลายคะ บ้านเมืองเราคนพูดมีไม่น้อย และต้องการคนลงมือทำเพิ่มขึ้นอึดเยอะ อยากให้มีคนที่อยากจะเปลี่ยนแปลงการศึกษาทุกคนหากมีโอกาสได้ลองมาสอนดูสักครั้ง จะรู้ว่าการศึกษาต้องร่วมมือหลายฝ่ายแค่เงิน และคิด อาจยังไม่พอ แต่ก็ดีใจที่มีคนสนใจในคอนเทนต์การศึกษาคะจะได้มีหลายแง่มุม
@ronnachaipaoto5211
@ronnachaipaoto5211 3 жыл бұрын
ผมเชื่อมั่นในคนไทยเด็กไทยว่าสามารถพัฒนาสติปัญญา…คุณธรรมจริยธรรมได้แน่นอนในทุกๆศาตร์…ทำคอนเทนท์ดีๆให้สังคมไทยเรื่อยๆนะครับ…เป็นกำลังใจให้นะครับ
@SAMMotoring
@SAMMotoring 3 жыл бұрын
ถูกต้องแค่ 50% .. บางสาขายังต้องพึ่งพาระบบเก่าอยู่ ยกตัวอย่าง วิศวกร .. กฎระเบียบการได้มาซึ่งใบประกอบวิชาชีพ ระบุชัด จะต้องผ่านการศึกษาระดับ ปริญญาตรี จากสถาบันการศึกษาที่ผ่านการรับรองของ สภาวิศวกร ฯลฯ .
@taram.3578
@taram.3578 3 жыл бұрын
หนูสงสัยค่ะในเชิงอัตรา การเอาจำนวนพิพิธภัณฑ์ทั้งหมดของไทยและของสหรัฐมาเปรียบเทียบกันเลยแบบนี้ได้หรอคะ เพราะว่าสหรัฐก็ใหญ่กว่าเราเยอะคนก็เยอะมากๆ
@sitthipornjuntorn7887
@sitthipornjuntorn7887 3 жыл бұрын
อยากให้ภาคการเรียนรู้เปลี่ยน เริ่มจากให้คนเร่ยนในสถาบันการศึกษาในพื้นที่ของตัวเองครับ อย่างน้อยจนจบในระดับภาคบังคับครับ มันจะทำให้เกิดการดูแลกันของคนในสังคมนั้นได้ดีกว่า เกิดความรักในเพื่อนบ้าน ในถิ่นฐานตัวเองได้มากกว่าครับ และทำให้ลดความเหลื่อมล้ำของการพัฒนาสถาบันการศึกษาแต่ละที่อย่างสุดโต้งกับด้อยพัฒนาไปเลยครับ บันไดขั้นอื่นมันส่งเสริม ต่อยอดได้ในภายหลังครับ ต่อจากเรื่องการเรียนใกล้บ้านแล้ว ก็ควรเป็นเรื่องระบบการเรียนรู้ด้วยตัวเอง หมายถึงแม้จะมีการให้ความรู้ ให้การศึกษาจากผู้รู้แล้ว ยังต้องฝึกให้เกิดการเรียนรู้ ตั้งคำถามและหาคำตอบด้วยตัวเองด้วย เด็กสามารถตั้งคำถามเองได้จากเรื่องที่เขาสนใจ เริ่มจากรายงานง่ายๆ แบบใครสนใจเรื่องอะไรลองเอามาคุยจากสิ่งที่พบเห็น สงสัยอะไรไหม ลองกลับไปถามคนที่บ้าน คนแถวบ้านเพื่อหาข้อมูลมาเล่าต่อ ในวัยโตขึ้นมาก็เป็นการเขียนบันทึกสิ่งที่สนใจ หรือทำเป็นรายงานสั้น จะเกิดการเรียนรู้ที่จะมองหาสิ่งที่เขาสนใจ เกิดการถ่ายทอด เกิดกระบวนการพัฒนาการถ่ายทอด เกิดกาคหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงสิ่งที่ยังเข้าใจไม่ถูก หรือปัญหาที่มีจากเนื้อหาในบันทึกหรือรายงาน เพื่อให้สามารถสรุปเรื่องราวได้ ถ้ามีพื้นฐาน2สิ่งนี้ จะต่อยอดเรื่องอื่น ก็ไม่ยากแล้วครับ
@justsaynan6866
@justsaynan6866 3 жыл бұрын
ผมจะเล่าอะไรให้ฟัง ที่ผ่านมา พ่อแม่ส่งเรียนลูกจนจบป.ตรี จนเป็นหนี้ท่วมหัว พอลูกจบมา ไปทำงานโรงงาน(ไม่ได้ว่าโรงงานเป็นงานที่ไม่ดีนะครับ)บางคนกลับบ้านไปค้าขาย บางคนกลับไปทำนา ผมถามว่าคุณให้พ่อแม่ส่งเรียนสูงเพื่ออะไร ป.6ก็ทำได้ นี่แหละคือการศึกษาไทย
@justsaynan6866
@justsaynan6866 3 жыл бұрын
@@Samsam33-i5n สงสัยจะกินปูนร้อนท้อง ใครบอกว่าพ่อแม่บัวคับลูกเรียนไม่มีหรอกครับ มีแต่ลูกต่างหากอยากเรียนเอง กลัวน้อยหน้าเพื่อนฝุง ตบมาไม่มีคุณภาพ คนที่ต้องรับกรรมคือพ่อแม่เป็นหนี้ ลูกเคยส่งเงินให้พ่อแม่บ้าวหรือเปล่าผมว่าคนส่วนนึ้ ไม่ได้ว่าคนที่เขาสำเร็จ น้องผมเองคนหนึ่งเรียนจบป.ตรีหมดเงินตั้งหลายแสน ตอนนี้เปิดร้านขายของชำ(ไม่ได้ว่าขายของชำไม่ดี)เพียงแต่ว่าถ้าไม่มีเป้าหม่นไม่ต้องไปเรียนให้พ่อแม่ต้องลำบากคุณว่าจริงเปล่าล่ะ ผมไม่เห็นต้องจบป.ตรี ผมเองจบแค่ปวส.ชีวิตผมดีเพราะผมก็มีธุระกิจเป็นของตัวเอง ผมไม่ได้อวดรวยเพราะผมก็ไม่ได้รวย ผมมีร้านแอร์เป็นของตัวเอง ผมมีรถเจาะบาดาลเป็นของผมเอง ผมมีรถกระบะ2คัน มีบ้านเป็นของตัวเอง มีไร่นาเป็นของตัวเอง ผมจบแค่ปวส.อยากถามคนที่เรียนสูงๆแล้วกลับมาทำงานแบยนี้ทำไม คุณมีเป้าหมายกรือไม่ ควรไปต่อยอดสิ่งที่เรียนมา ปล่อยให้คนพ่อแม่เป็นหนี้สินเพราะต้องส่งควายเรียน
@ชานนท์-ฑ8ฃ
@ชานนท์-ฑ8ฃ 3 жыл бұрын
ลูกผมไม่ใด้เรียนเลย ทั้งสองคน คนเล๋ก จบแค่ป.3 คนโต ม.4 อยู่กับแม่เขา เขาอิสระเสรี มากเกินไป จนไร้ระเบียบวินัย นี่คือข้อเสียหลัก..แต่ข้อดีกลับมีเยอะกว่า ..เช่น ไม่เสี่ยงเกินไปในทางอบายมุข ..จริงๆ ผมไม่ชอบระบบที่มนุษย์ออกแบบมาเลย แต่เลยเลือก ที่จะพึ่งพิง อิงกับ ระบบให้น้อยที่สุด พยายามสอนลูก ถึง การดำเนินชีวิต จริงๆเลย คนเล๋ก จบแค่ป.3 แต่ไม่มีปัญหา เรื่องการอ่านออก เขียน ใช้พิมพ์ส่วนใหญ่ ภาษาอังกฤษใด้ คนโต ใช้คอมหาเงิน ใด้ จากเกม ...ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้วจริงๆ ...ผมเองมาเรียน รู้ ตอน44จาก ยูทูป ไม่ว่าจะภาษาอะไรก็เรียนได้หมด อันนี้เป็นการเรียนทางโลก ส่วน การเรียนที่แท้จริง มีทั้งทางโลก ...และปรัชญาชีวิตขั้นสูง.... และควรใส่ใจ เรื่องมลพิษทางอากาศ มากกว่า ...การปลูกฝั่งให้รักษ์ โลก....สมุต อีก 1700000ปี เกิด สภาวะ ขั้นรุนแรง เรื่องทรัพยากรมลพิษ อากาศ ดาวโลก เริ่มมีปัญหา ตลาดหุ้น สกุลเงิน ศาสนา เพลงชาติ ภาษา มันจึงไม่จำเป็นอีกต่อไป ....เพราะ คนรุ่นนั้น ต้องแก้ไข โลกยังไงให้กลับมาเหมือนเดิม....มนุษย์ ...เป็นเผ่าพันธุ์ที่ฉลาด ที่สุด ...แต่ก็ ไม่ฉลาด ....เมื่อเจาะลึก เข้าไปภายใน จิตใจ.....ถ้าอธิบาย คงยาวมาก เกินไป...ขอแค่นี้.. ...เรียนจำเป็น ...เพราะระบบมันถูกออกแบบมา ...มันเหมาะสำหรับ ชนชั้นการปกครอง ..แต่ถ้าสลัดเรื่องนี้ทิ้งไป .การเอาตัวรอดบนโลกนี้ มีช่องทาง มากกว่า ในโรงเรียน.....
@kusumasupap9700
@kusumasupap9700 3 жыл бұрын
ลูกของคุณเองหรอคะ?.. ทำไมดูเหมือนไม่พอใจมากจัง
@hks-vf6pb
@hks-vf6pb Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ ในการฟังครั้งนี้เกิดสิ่งดีๆในความคิด การพูดเรียงลำดับเข้าใจ สามารถนำไปใช้ในชีวิตได้
@Kawin0060
@Kawin0060 3 жыл бұрын
ครูสอนเด็กดอย นี่รีบเข้ามากดกระดิ่งรอเลยครับ content topic คือสะดุ้งสุดๆ
@ton6099
@ton6099 3 жыл бұрын
นั่นสิครับ เด็กดอยจะมีโอกาศเข่าถึงภูมิกลางไหม?
@mkwneobrain
@mkwneobrain 3 жыл бұрын
@@ton6099 มันก็จะค่อยๆมาอย่างเชื่องช้า มาจริงแต่คอยนาน เมื่อปี2527ผมเคยสอนเด็กดอยเทอดไทย(เชียงราย) สิ้นสุดการทำสงครามขุนส่ารัฐบาลเริ่มเปิดทำการสอนโรงเรียนภาษาไทย พวกเราเป็นครูรุ่นที่สองยังใหม่ไฟแรง มองเห็นทุกอย่างลางเลือนการเดินทางลำบากกันดาร แต่พอมาถึงปัจจุบันนี้บริบทแวดล้อมเปลี่ยนเกือบทุกสิ่งเข้าถึง
@อีกาพยายม-ฝ2น
@อีกาพยายม-ฝ2น 3 жыл бұрын
บางคนได้ผลประโยชน์ บางคนเสียผลประโยชน์ ใครไหวตัวทันเหตุการณ์และพึ่งพาตัวเองได้มากที่สุดก็รอด
@idingdong
@idingdong 3 жыл бұрын
ระบบการศึกษาบ้านเรา ยังมีความเป็นอำนาจนิยมตามระบบที่เราปกครองอยู่ ถูกตีกรอบความคิด การทำงาน ค่อนข้างมากด้วยระบบราชการที่ล้าหลัง อย่าหวังว่าครูจะเปิดให้เด็กมีอิสระทางด้านความคิด ถ้าระบบยังเป็นแบบนี้อยู่ คนรุ่นใหม่ต้องช่วยกัน reengineering ระบบให้ทันโลก ทันเทคโนโลยี
@ไม่ทราบไม่รุ้-ส6ฅ
@ไม่ทราบไม่รุ้-ส6ฅ 3 жыл бұрын
บ้านเรายังเน้นท่องจำเป็นหลักครับ ตั้งแต่ประถมยันมหาลัย ปฏิบัติถือว่าน้อยมาก
@pensocheata3935
@pensocheata3935 3 жыл бұрын
Hello there. I have known this for quite sometime now, and I have learnt a lot from the platform on various topics. I, myself understand Thai. Therefore, it is okay for me to get most of the essence of your podcast. I think many things here are worth learning and sharing. It would be great if you also enable English subtitle version as well. Overall, thanks the team for your great work to deliver all these. Stay safe and take care.
@ponyhaly6131
@ponyhaly6131 3 жыл бұрын
I agree with that. Thai people will get to learn English through this various topics as well.
@choksartvate3825
@choksartvate3825 3 жыл бұрын
ความสำเร็จอันยอดเยี่ยม ย่อมได้มาจากคำตอบที่ยอดเยี่ยม คำตอบที่ยอดเยี่ยม ย่อมได้มาจากคำถามที่ยอดเยี่ยม คำถามที่ยอดเยี่ยม ย่อมได้มาจากมันสมองอันยอดเยี่ยม. การศึกษาคือคำตอบ.
@kovision
@kovision 3 жыл бұрын
อยากฟังเรื่อง Trend ภาษาทางการ ที่เริ่มไม่ทางการมากขึ้น เพราะคนติดต่อทาง Chat มากกว่า Email ลดความเป็นทางการลง เพิ่มความเร็วการสื่อสารทำงานด้วย ภาษาพื้นๆที่กำลังแพร่ไปทุกสายอาชีพครับ
@สมพงษ์สาบุบผา
@สมพงษ์สาบุบผา 3 жыл бұрын
เห็นด้วยครับ​ มันสื่อสารได้รวดเร็วกว่า
@PPoo-qx4tu
@PPoo-qx4tu 3 жыл бұрын
คุยสนุก น่าฟังมาก เพิ่งมาฟังครั้งแรก ขนาดอายุ 55 แล้ว ทีแรกตั้งใจฟังไปเล่าให้ลูกฟังนิดๆหน่อยๆ แต่ฟังๆไปเพลินดี สื่อสารชัดเจน เข้าใจ ภาษาดี ทักษะการสื่อสารเข้าใจง่าย เก่งค่ะ เก่งกว่าคนจบนิเทศน์ วารสารฯ โดยตรงด้วย แต่เสียดายวุฒิเภสัชนะ
@mic3989
@mic3989 3 жыл бұрын
เรื่องเด็กชอบวัดความรู้ครู มีมานานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งมัธยมศึกษาตอนปลาย เพราะช่วงนี้เป็นช่วงที่ติวเตอร์สอนมากและก็พูดเยาะเย้ยติวเตอร์หรือครูจากสถาบันอื่น จึงเป็นต้นแบบให้เด็กคิดเห็นตามติวเตอร์ที่ตนชอบ และชอบมักจะวัดความสามารถครูว่ารู้เท่าที่ตนได้ติวเพิ่มมาไหม หากรู้ก็ดีไป แต่หากไม่รู้ก็เกิดการไม่เคารพ ไม่รับฟังเพราะถือว่าตนรู้แล้ว ในขณะที่ครูที่สอนบางส่วนก็มักจะไม่ได้ผ่านระบบการติวเตอร์แบบสมัยปัจจุบัน นั้นละธรรมดาเมื่อครูรู้แล้วพยายามแก้โดยให้ไปศึกษาเพิ่มแต่ก็ไม่สามารถจะทันทุกความรู้ไปได้อยู่ดี คิดดูเด็กสี่สิบคนความสนใจจะเหมือนกันเหรอมีแต่จะทำให้ครูกลายเป็นขี้ข้าเด็กแทนถ้าจะทำแบบนั้น จึงเกิดการวางแผนการศึกษาพื้นฐาน ครูก็สอนตามนี้ได้ชื่อว่าทำถูกตามระบบไม่ได้เกี่ยวกับลูกใคร อยากรู้อยากเห็นเรื่องอะไร เพราะสอนตามใจมันควบคุมได้ลำบากกว่าตามระบบอยู่ดี นี้จึงเป็นเรื่องธรรมดาที่ติวเตอร์จะสอนได้ดีเพราะเขาก็ตามระบบเขาคือเพื่อเข้ามหาลัย ส่วนที่โรงเรียนก็สร้างความรู้แบบกว้างๆ คือ รวมๆ เหมารวมไม่เจาะลึก นั่นเอง แต่นั่นละคนสมัยใหม่ก็จะบ่นว่าโรงเรียนทำไม่สอนโน้นนี้นั่น กลายเป็นปัญหาโลกก้าวหน้า ปัญหาการเมือง ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาการแบ่งแยกความรู้ การแก้ปัญหาที่ทำได้จริง ไม่ใช่พูดแล้วทำไม่ได้
@MrOneung
@MrOneung 3 жыл бұрын
ปัจจุบันนี้กรมพัฒนาฝีมือแรงงานยังไม่ยอมรับรองหลักสูตรที่เป็น softskill สักเท่าไหร่เลย ทั้งที่เป็นสกิลที่จำเป็นในอนาคต รัฐไม่วิ่งตาม
@kawinpersvivatana9899
@kawinpersvivatana9899 3 жыл бұрын
เค้าจะเก็บเงินจากบริษัทให้ได้ไงครับ ไม่งั้นจะหารายได้เข้ารัฐให้กระทรวงแรงงานได้ไง 5555
@MrOneung
@MrOneung 3 жыл бұрын
@@kawinpersvivatana9899 ความจริงยิ่งเศร้ากว่าเดิมโดยไม่ต้องทำนายอนาคต 5555555
@dontreekhrutdilakanan8548
@dontreekhrutdilakanan8548 3 жыл бұрын
ใครจะรับรองละครับเพราะเขาไม่มีคนที่รู้ เอกชนอยากได้ต้องทำทดสอบฝีมือเองไม่ผ่านก็เลิก. ขนาดสาขามึ่รู้ๆกันยังมีระยะทดลองงานเลย
@sweatpea4315
@sweatpea4315 3 жыл бұрын
จริงค่ะ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ความคิดและกฏระเบียบล้าหลังมาก
@HereTeecoffee
@HereTeecoffee 3 жыл бұрын
ไม่มีผลประโยชน์เจ้าหน้าที่ไม่ค่อยทำหรอกครับ
@nattarikaautthakang4599
@nattarikaautthakang4599 3 жыл бұрын
ช่องนี้ให้ความรู้ได้มากๆ แนะนำแนวทางการใช้ชีวิตในยุคใหม่ การปรับตัวในยุคใหม่สู่อนาคต ซึ่งได้มากกว่าห้องเรียน หรือ มหาลัยด้วยซ้ำ อย่างที่หลายคนๆรู้ บางทีผู้สอนตามสถานศึกษายึดตัวเองเป็นหลักและไม่ยอมปรับตัว อีโก้กับตำแหน่งและเชื่อมั่นว่าตัวเองถูกเสมอ การศึกษาในบ้านเราคงจะเปลี่ยนได้ยากมากๆ และคนไทยที่เก่งๆ จึงออกไปทำงานต่างประเทศกันมาก เพราะบางทีระบบการทำงานในไทยไม่สนับสนุนความสามารถของเขา ขัดขวาง อิจฉา กลัวคนอื่นเก่งกว่า
@tidanary8291
@tidanary8291 3 жыл бұрын
น่าสนใจ สำหรับประเทศไทยแล้ว เหล่าคน gen Z คุ้นเคยกับสถานกวดวิชาเป็นอย่างดี เวลาเด็กๆ มีความฝันหรือเป้าหมายว่าในอนาคตอยากเป็นอะไร พวกเขาไปสมัครเรียนพิเศษด้วยตัวเอง (เป็นปกติ) เช่น อยากเข้าสถาปัตย์ แต่ใน ร.ร. มัธยมไม่มีหลักสูตร จึงต้องดิ้นรนขอร้องอ้อนวอนผู้ปกครองให้จ่ายค่าเรียนพิเศษ เพื่อจะติวเข้าสถาปัตย์หลังเลิกเรียน หรือ ช่วงเสาร์ - อาทิตย์ (จุดสังเกต เราจ่ายค่าเทอมให้การศึกษาในระบบไปทำไมก็ไม่รู้ เพราะ ท้ายที่สุดก็ต้องไปหาความรู้จากนอกรั้ว ร.ร. เอาเอง) หรือ ไปสมัครแคมป์ต่างๆ ทำกิจกรรมกับเพจค่ายติววิชาการ (เราเอง ก็เคยดิ้นรนและผ่านจุดนี้มา จึงรู้ว่าความรู้นอกห้องเรียน+ได้เจอเพื่อนใหม่ๆ ในแคมป์ มันสนุกมากแค่ไหน และ ครูในห้องเรียนไม่เคยให้ประสบการณ์แบบนี้กับเราได้เลย) แต่นั่นคือช่องว่างระหว่าง สิทธิพิเศษของเด็กที่ครอบครัวมีฐานะ สามารถทำได้ กับ เด็กที่ครอบครัวไม่สามารถเอื้อให้เขาไปแคมป์ได้ เพราะ มีปัญหาการเงิน นี่แหละ จุดที่รัฐบาลต้องยื่นมือเข้ามาช่วย เด็กที่ใฝ่เรียนรู้ พวกเขาควรมีโอกาสอย่างเท่าเทียม ไม่ใช่ให้ผู้ปกครองควักเนื้อตัวเอง หรือ ปล่อยปละครอบครัวที่ต้องดิ้นรนหาเช้ากินค่ำ คิดดูสิ ถ้ารัฐบาลให้โอกาสอย่างเท่าเทียม เราจะมีประชากรคุณภาพเพิ่มขึ้นมากมายขนาดไหน หรือ ถ้ารัฐบาลยังละเลยจุดนี้อยู่ เราจะสูญเสียประชากรคุณภาพไปจำนวนเท่าไหร่ เด็กที่ใฝ่ดีจริงๆ แต่ยากจน ปัจจุบันดิ้นรนสอบชิงทุนไปซบไหล่รัฐบาล ตปท. กันหมดแล้ว นับวันยิ่งจำนวนหายไปทุกปี เรามีคนเก่งมาตลอดแหละ แต่เรารักษาพวกเขาไว้ไม่ได้
@พึงพิศศูนย์กลาง
@พึงพิศศูนย์กลาง 3 жыл бұрын
เด็กต่างจังหวัดก็โอกาสน้อยค่ะ
@mylollipop537
@mylollipop537 3 жыл бұрын
จริงค่ะ เพื่อนเราหลายคนรวมทั้งเราที่บ้านไม่ได้รวย จะเลือกเรียนคณะอะไรก็ต้องคิดว่าจบงานมามีงานทำไหมทั้งๆที่เรารู้นะว่าตัวเองถนัดอะไร คือตัดโอกาสการพัฒนาความสามารถเรามากๆ อย่างเรามีความสนใจหลายอย่างมาก งานอดิเรกเรามีหลายอย่างเพราะเป็นคนเบื่อง่ายหน่ายเร็ว ชอบแต่งนิยาย เรียนภาษาเกาหลี ปลูกต้นไม้ วาดรูป อยากเรียนนวดแผนไทย ที่บ้านไม่สนับสนุนจ้า บอกไร้สาระ เเต่เราคิดว่ามันเปิดโลกเปิดมุมมองใหม่ๆ😢
@atcharapornsaowanit5031
@atcharapornsaowanit5031 Жыл бұрын
นี่ก็กำลังจะส่งลูกๆไปเรียนมัธยมปลาย-ป.ตรี-ป.โท พร้อมยื่นขอสัญชาติที่ฟินแลนด์ หลังใช้ชีวิตผ่านไปซัก 5 ปี เราจำเป็นต้องเสียสละลูกๆไปเป็นพลเมืองชาติที่พัฒนาและมีสวัสดิการที่ดีเยี่ยม ไม่อยากให้มาทนตกระกำลำบากในการเรียนแบบท่องจำและเรียนหนักเกินความจำเป็น ล้าหลังเอามากๆ หลักสูตรแทบไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงจากตอนที่เราเป็นเด็ก จบไปก็ไม่ค่อยตรงกับความต้องการของตลาดงานที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไม่ส่งเสริมให้สามารถรับมือกับอาชีพใหม่ๆในโลก แม้จำใจต้องปล่อยลูกๆให้ห่างออกไปอีกซีกโลกนึง แต่ก็ยินดีเพื่ออนาคตที่ดีของลูกหลานในอนาคต
@nanisastudio5559
@nanisastudio5559 3 жыл бұрын
ขอชมว่าคุณ เป็นเด็กรุ่นใหม่ ที่ยอดเยี่ยมมากๆ พูดภาษาไทย ชัดถ้อยชัดคำ มากๆ เยี่ยมๆ ๆ จริงๆ
@EA69XX
@EA69XX 3 жыл бұрын
ผมฟังคลิป ดูคลิป จากไม่ใช่ช่าง ตอนนี้ผมเปิดอู่ (ฟัง ดูมาหลายปี) ผมมองว่า ต้องแยกคำว่า สถานศึกษา ออกจากคำว่า ศึกษา เท่านั้นแหละครับ
@MrPrinting24
@MrPrinting24 10 ай бұрын
ขอบคุณมาก ทีมงาน standard จัดรายการ ดีมาก ช่วย เสริม แรงจูงใจ ในการ พัฒนาคุณภาพชีวิต❤
@parameskitikanchana1574
@parameskitikanchana1574 3 жыл бұрын
ต้องยอมรับกันว่าประเทศไทยส่งเสริมด้านนิเทศกันมาก คือการแสดงแบบว่า ร้องเพลง เต้น 9ล9 เราไม่ได้จัดหลักสูตรการเรียนที่เป็นแบบอนาคต คือ การปรับแนวหลักสูตรที่เป็นการเรียนรู้ของประเทศก้าวหน้า จัดการเรียนการสอน เราไม่เคยปรับปรุงความคิดของคนเขียนหลักสูตรเลย…,,. ทำได้โดยการจะวิ่งตามความก้าวหน้าของการเรียนรู้ในอนาคต ต้องจัดหลักสูตรแบบ STEML S - science T- fechnology E- engineering M-mathematic L- language
@arthitworrarutkul6540
@arthitworrarutkul6540 3 жыл бұрын
ความรู้ความสามารถอยู่ที่ตัวเราเอง ไม่ใช่ สภาพแวดล้อม อย่าโทษคนอื่น ทุกคนต้องพัฒนาตัวเองบ้าง ไม่ใช่รอให้คนอื่นป้อน มันต้องมีผิดมีถูก ทำถูกก็พัฒนา ทำผิดแก้ไขปรับปรุง อย่ายึดติดปริญญา ปริญญาไม่ใช่ความสามารถ มีความสุขในแต่ละวันดีกว่า อยู่ขึ้นว่าใครจะเจอ
@sudhirsumongkol8972
@sudhirsumongkol8972 3 жыл бұрын
ถูกส่วนหลัง แต่ความรู้อยู่ที่สภาพสิ่งแวดล้อมมากมาย การจัดให้เด็กเรียนส่วนสำคัญคือการจัดสภาพแวดล้อมให้
@sophatongprasert809
@sophatongprasert809 3 жыл бұрын
เคนวิเคราะห์ข้อมูลได้ชัดเจนมาก ขอบคุณมากนะคะ
@nonygal
@nonygal 3 жыл бұрын
เป็นคนชอบเข้าห้องสมุด แต่ห้องสมุดที่ประเทศไทย(ที่ครบครัน)เข้าถึงได้ยากเหลือเกิน แค่เดินทางก็ลำบากละ ขนส่งสาธารณะไปไม่ถึง จะขับรถไปก็ไม่มีที่จอดรถ ห้องสมุดออนไลน์ก็ยังไม่สมบูรณ์ จะเป็นสังคมเรียนรู้ สังคมอาจต้องเอื้อให้เข้าถึงการเรียนรู้ที่สะดวกและง่ายดายให้มากขึ้นด้วย ที่สำคัญแหล่งข้อมูลต้องถูกต้องและรอบด้านด้วย
@HereTeecoffee
@HereTeecoffee 3 жыл бұрын
มีที่จอดรถไว้สำหรับเจ้าหน้าที่เท่านั้น
@monkeycoder7368
@monkeycoder7368 3 жыл бұрын
@@HereTeecoffee ห้องสมุดหลายแห่งเก็บค่าเข้า
@สมพงษ์สาบุบผา
@สมพงษ์สาบุบผา 3 жыл бұрын
เห็นด้วยครับ​ และห้องสมุดควรจะต้องคัดหนังสือดีๆไว้ด้วยนะครับ​ หนังสือที่ข้อมูลผิดๆตกๆหล่นๆต้องคัดออก
@สมพงษ์สาบุบผา
@สมพงษ์สาบุบผา 3 жыл бұрын
ควรเน้นห้องสมุด​ออนไลน์​มากกว่าด้วยครับเพื่อลดข้อจำกัดในการเดินทาง
@monkeycoder7368
@monkeycoder7368 3 жыл бұрын
@@สมพงษ์สาบุบผา ข้อมูลผิดๆตกๆหล่นๆ มาจากกรมศิลปากรบ้าง กระทรวงศึกษาธิการบ้าง ททท ขาประจำเชียว
@kimhansaengla1340
@kimhansaengla1340 3 жыл бұрын
เนื้อหาแน่นมากๆครับ ฟังจนจบ ขอเป็นกำลังใจให้ทำคลิปต่อไปนะครับ
@ภควดีชิวชรัตน์
@ภควดีชิวชรัตน์ 3 жыл бұрын
คือเราต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต ไม่ได้จบแค่มหาวิทยาลัยค่ะ
@manatrotniam8398
@manatrotniam8398 3 жыл бұрын
อยากให้พัฒนามากๆครับ แต่ประเทศเราต้องติดกับระบบราชการอีกนานเท่าไหร่
@ongchai1880
@ongchai1880 3 жыл бұрын
ผมอยู่ต่างจังหวัด ผมก็ไม่เชื่อมั่นในระบบการศึกษาไทยในตอนนี้เหมือนกัน.ตอนนี้ผมวางแผนการเรียนการสอนให้ลูกผมเองอยู่ เพื่อให้ตามทันสถานการณ์ของโลกในปัจจุบันและ อนาคตของพวกเขา
@MeowMuscleTv
@MeowMuscleTv 3 жыл бұрын
ผมเกลียดหลักสูตรการสอนของมัธยมมาก ส่วนใหญ่สอนให้ท่องจำเพื่อสอบ และบางความรู้เสียเวลาเรียนมากแถมหลักสูตรเก่าไม่อัพเดท ควรเปลี่ยนการสอนหลักสูตรเน้นการวิเคราะห์การคิดอย่างอิสระ,การกล้าตั้งคำถาม,การทำความเข้าใจหลักการมากกว่าท่องจำ และหาวิธีที่ทำให้เด็กมีโอกาสสัมผัสอาชีพหรือแนวทางต่างๆให้เด็กรู้ว่าอนาคตอยากทำอาชีพอะไร หลายคนจะจบมัธยมไม่รู้ด้วยซ้ำจบไปจะทำอะไร ผมมองว่าการศึกษายังให้เด็กเข้าถึงแนวทางการหาตัวตนของตัวเองไม่มากพอ
@bananaapple9698
@bananaapple9698 3 жыл бұрын
เห็นแบบเดียวกับผมเลยครับจริงๆ ระดับมัธยมต้นก็น่าจะเจาะไปได้แล้ว ว่าจะไปทางไหน พอขึ้นมอปลายก็เรียนไปเพื่อประกอบอาชีพได้เลยครับ อันนั้นก็จะคล้ายๆกับหลักสูตร ปวช นั่นเอง จริงๆก็น่าจะเรียนไปเลยสี่ปีแล้วได้ปริญญาตรีไปเลยครับ หลังจากจบมอต้นครับ ผมรู้สึกว่าหลักสูตรมอปลายนี่มันเสียเวลามาก เผื่อเราจะได้หมอกับวิศวะก่อนมาทำงานได้เร็วขึ้นครับ การเรียนช้าประกอบอาชีพช้าทำให้โลกเราขาดผลผลิตไป อีกเยอะเลยครับ
@tunitiht
@tunitiht 3 жыл бұрын
ท่องจำง่ายกับครูและคนตรวจ เช่นวิชาภาษา เทียบต่างชาติ วิชาทราบซึ้งในวรรณคดี​วรรณกรรม แต่ของไทยใช้ท่องจำแล้วตอบไม่คิดว่าคนรุ่นเก่าต้องการสื่ออะไร
@ภควดีชิวชรัตน์
@ภควดีชิวชรัตน์ 3 жыл бұрын
หลักสูตรก็กำลังจะเปลี่ยนค่ะ ในปีหน้า กระทรวงกำลังเปลี่ยนหลักสูตรใหม่ค่ะ
@MeowMuscleTv
@MeowMuscleTv 3 жыл бұрын
หลักสูตรก็เห็นเปลี่ยนตลอดอะครับ แต่ไม่เห็นจะเปลี่ยนจริงๆตรงไหนตอนผมเรียนก็เปลี่ยนแค่เอาวิชานู้นมาเพิ่มแล้วก็เอาออกไป ถ้าจะเปลี่ยนจริงๆต้องเปลี่บนโครงสร้างเลยปฏิรูปการศึกษาระบบมีปัญหามากครูบางคนอยากสอนให้ดีกว่านี้แต่โดนตีกรอบ+งานนอกเหนือการสอน ปล.ส่วนเรื่องอ่านหนังสือผมอ่านทุกวันอยู่แล้วครับเดือนละเล่มน้อยไปครับ ปล2.ที่ผมเล่าเอาจากประสบการณ์ตัวเอง+รุ่นพี่+รุ่นน้อง ไม่ได้มโนขึ้นมาครับ
@dhpth
@dhpth 3 жыл бұрын
เพราะว่า 1. ง่ายสำหรับคนสอน 2. ครูเข้าใจลึกซึ้งมีน้อย เพราะว่าครูก็จบแบบท่องจำมา 3. เขาวางยุทธศาสตร์ให้เราเป็นแค่แรงงาน ไม่ใช่นักต่อยอดหรือวิจัยพัฒนา
@paerwasster
@paerwasster 2 жыл бұрын
ชอบการมองถึง driver และ signal ไปพร้อมๆกันค่ะ ทำให้เห็นภาพกว้างขึ้น
@พูลชนะสายเทพ
@พูลชนะสายเทพ 3 жыл бұрын
ข้อมูลดีมากเลยครับ ขอบคุณครับ
@booachara4454
@booachara4454 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากๆสำหรับคลิปนี้ ความรู้สุดๆเลย
@manasapornvitoonmetha9032
@manasapornvitoonmetha9032 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะคุณเคน เป็นคลิปที่ดีมากๆของการเรียนรู้ ในอนาคต ทำให้เตรียมพร้อมตั้งแต่บัดนี้ เพื่ออยู่ในอนาคตได้อย่างมีความสุขตามจริง
@น.ส.สุดารัตน์บุตตะวัน
@น.ส.สุดารัตน์บุตตะวัน 3 жыл бұрын
เนื้อหาดีมากค่ะ และเป็นประโยชน์มากค่ะ ขอบคุณค่ะ
@mossimoj8663
@mossimoj8663 3 жыл бұрын
ปัจจุบันประเทศไทยน่าจะเป็นแบบ scenerio 4 คือ "Learning Decomposed" คือล้มเหลวในระบบการศึกษา และ (อาจจะ) ในอนาคตด้วยหากยังไม่ปรับเปลี่ยนปฏิรูปในส่วนของระบบซึ่งรู้กันว่ายากเหลือเกิน
@diarymylife8
@diarymylife8 3 жыл бұрын
โว้ น่าตื่นตาตืนใจ กับความเปลี่ยนแปลง
@yutu8144
@yutu8144 3 жыл бұрын
สาขาวิชาทักษะวิชาชีพ บางอย่าง เรียนเองจนชาติหน้า ถ้าไม่มีคนสอน มีประสบการณ์สอนให้ก็ไปไม่เป็นครับ หรือจะเรียนรู้เองก็ยาก เสียเวลามากจนเกินไป เช่น กอลฟ์ /งานขายตรง/ศัลยแพทย์ ...
@joetaveechokekul6357
@joetaveechokekul6357 3 жыл бұрын
เข้าใกล้จะเป็นจริงแล้ว ยุคล้ำสมัยอนาคต การเป็นอยู่ การทำงาน การเรียน ใช้สัมผัสทั้งนั้น โดยมีเสียงจากผู้รู้ Ai data ทุกๆเรื่อง แม้กระทั่งหุ่นยนต์เป็นตำรวจ เหมือนหนังเลยครับ 2029
@bs7971
@bs7971 3 жыл бұрын
เรามีความเห็นว่า การเรียนรู้ไม่ได้อยู่แค่ในห้องเรียนอย่างเดียวอีกต่อไปแล้ว คนรุ่นใหม่สามารถมีความรู้ ทักษะในด้านต่างๆเทียบเท่าคนมีประสบการณ์เยอะได้ในทันที เพียงแค่ไม่กี่คลิก ศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนได้ แต่เรื่องอื่นๆที่เป็นความรู้ใหม่ พวกเราหาเองได้ ไม่ต้องรอมหาลัยหรือโรงเรียนป้อนอีกแล้ว และอีกเรื่อง การวัดผลการเรียนในปัจจุบันมันตัดสินคนไม่ได้แล้วจริงๆ เขาอาจจะเก่งเรื่องอื่น แต่ไม่ถนัดสิ่งที่โรงเรียนกำลังประเมินเขา พอโรงเรียนตัดสินว่าต้องเป็นแบบนั้นแบบนี้ มันก็คือ การตัดโอกาสคนเก่งดีๆนี่เอง เรามีสิทธิ์ออกแบบการเรียนรู้ของเรา การเรียนแบบที่เป็นอยู่มันคือ ยุคอุตสาหกรรมซึ่งใช้ไม่ได้กับโลกใหม่ในอนาคตอีกแล้ว ต้องปรับเปลี่ยน ไม่แปลกที่ต่างประเทศนำหน้าเราแบบไม่เห็นฝุ่น นี่คือโลกยุคใหม่แล้วจริงๆ
@inspirationinfinity3229
@inspirationinfinity3229 2 жыл бұрын
ชอบค่ะ ฟังแล้วเข้าใจได้ดี
@SoloBikeTrips
@SoloBikeTrips 3 жыл бұрын
14:20 แบบโรงเรียนของ 7-11 ซินะครับ
@นวลละอองเสือคง
@นวลละอองเสือคง 3 жыл бұрын
เราต้องยอมรับแล้วนะค่ะ(ขอบคุณค่ะ)
@chanchaishinetawan6021
@chanchaishinetawan6021 3 жыл бұрын
ยอดเยี่ยม ตรงทุกประเด็น ขอบคุณครับ
@bommyinholland6385
@bommyinholland6385 3 жыл бұрын
ขอบคุณความรู้ดีๆที่นำมาแบ่งปันคะ
@nattachaikingkate8203
@nattachaikingkate8203 3 жыл бұрын
สุดยอดครับ นึกภาพไม่ทันเลย อนาคตหมุนเร็วมาก
@mookdakasegomol4834
@mookdakasegomol4834 3 жыл бұрын
ต้องเปลี่ยนแปลงค่ะ(การศึกษา)
@aunvlog
@aunvlog 3 жыл бұрын
ครูไม่มีทางหายครับ เพราะเด็กช่วงก่อน 15 ยังต้องมีคนสอนพื้นฐานให้ ซึ่งพ่อแม่สอนมากทำไม่ได้ แต่ปริญญานี่ไม่แน่ ดูคลิปสอนบางคลิปดีว่าที่เรียนในมหาลัยเยอะมาก ตอนนี้ความรู้หาง่ายมาก
@พัชราวลัยนนท์ปัญญาชมชื่น
@พัชราวลัยนนท์ปัญญาชมชื่น 3 жыл бұрын
เห็นด้วยคะ และที่สำคัญเงินเดือนให้ครูดดีดี เก่งๆต้องเทียบเท่าหมอ วิศวะ ทนายความด้วย เพราะครูคือ งานสร้างคนให้เป็นคนดี คนเก่ง คนคุณภาพ ที่ต้องพัฒนาประเทศชาติในอนาคต ซึ่งปัจจุบันครู-อาจารย์ ยังคงมีหนี้สินจนถึงวันที่ตัวเองเกษียณและหลังเกษียณก็ยังคงต้องใช้หนีสินนั้นอยู่ น่าเศร้าใจมากคะ😔😔😔
@WorawutW
@WorawutW 3 жыл бұрын
@@พัชราวลัยนนท์ปัญญาชมชื่น เป็นหนี้เป็นเพราะอะไร​ละ จากที่เห็นๆกู้ธนาคาร​มาซื้อรถบ้าง มาซื้อบ้านบ้างแข่งงกันทั้งนั้น กู้ ออมสินอย่างงี้ กู้เขามาแล้วบอกจ่ายไม่ไหว ขอลด ที่เป็นๆข่าว บรรดาครูทั้งนั้น
@sudhirsumongkol8972
@sudhirsumongkol8972 3 жыл бұрын
ไม่หายแน่ แต่จะมีครูที่มีคุณสมบัติพร้อมเท่านั้นและจำนวนจะน้อยลง
@สมพงษ์สาบุบผา
@สมพงษ์สาบุบผา 3 жыл бұрын
@@พัชราวลัยนนท์ปัญญาชมชื่น ครูเงินเดือน​สูงกว่าข้าราชการ​ทั่วไปเยอะอยู่นะครับ
@mazzazo13
@mazzazo13 3 жыл бұрын
ครูราชการ มีไม่เยอะ กพ บีบไม่ทดแทน คนเกษียณ เนื่องจากมองว่าอนาคต เด็กจะลด ส่วนมากเป็นครูอัตราจ้าง เงินเดือนเท่าภารโรง
@MrWizpark
@MrWizpark 3 жыл бұрын
ในอดีตย้อนไปไม่นานครูที่สอนในโรงเรียนแบบกั๊กๆ ถ้าอยากได้มากกว่านี้และตรงกับข้อสอบให้ไปติวที่สำนักติวของครูตัวเต็มอยู่ที่สถาบันติวของครูมีให้เห็นจนรัฐบาลต้องออกระเบียบและเริ่มหายไปแล้ว/การเรียนการสอนแบบกำหนดขอบเขตมีสื่อการสอนแนะแนวออนไลน์ไม้กี่ชิ้นให้ผู้เรียนศึกษาเองตามขอบเขต,พอถึงเวลาสอบก็มาวัดความรู้กันมี ณ เวลาปัจจุบันนี้ทั้งไทย(บางที่)และต่างประเทศ, หลายประเทศโรงเรียนเอกชนสอนปูพื้น-หาความชอบเฉพาะ-ส่งเสริมสิ่งที่เด็กสนใจ-ออกมาปฏิบัติเป็นรูปธรรม (ไทยนโยบายการศึกษายังไม่ส่งเสริม,แต่มีการสอนแล้วในบริษัทใหญ่ๆ)แต่ยังมีข้อจำกัด
@wilaichanel7276
@wilaichanel7276 3 жыл бұрын
ไม่ต้องรอถึง 7 ปีหรอกค่ะเริ่มหายไปตั้งแต่ covid มาแล้วค่ะ
@sudhirsumongkol8972
@sudhirsumongkol8972 3 жыл бұрын
สองปีที่ผ่านมาลูกชายผมที่อเมริกาเข้าออฟฟิศครั้งเดียว ที่เขาทำงานที่บ้านนั้น เขาทำจริงๆแบบว่าภรรยาผมต้องไปเลี้ยงลูกให้นะครับ
@teelok7452
@teelok7452 3 жыл бұрын
แต่ละบริบทมีความแตกต่าง จะทำไห้เหมือนกันทุกที่ไม่ใด้
@changhoo56
@changhoo56 3 жыл бұрын
เป็นความคิดเห็นที่ดีมาก ที่ควรจะได้นำมาเป็นแนวทางในการดำเนินการในอนาคต
@patsanjeevi4460
@patsanjeevi4460 3 жыл бұрын
ขอร้องอย่าจ้างครูภาษาอังกฤษที่เป็นชาวฟิลิปปินส์เพราะเขาแค่พูดอังกฤษได้และความจริงก็พูดผิดๆถูกๆด้วยแต่ความที่คนไทยไม่สันทัดอังกฤษก็เลยเงียบเพราะนี่ได้ยินคนฟิลิปปินส์ที่อเมริกาเขาคุยกันได้ยินมากับหูเหมือนโดนตบหน้า
@user-wm2463
@user-wm2463 3 жыл бұрын
พูดดี น่าฟัง ใช้คำศัพท์ง่าย ครบ อะ
@กฤตธนพวกยะ
@กฤตธนพวกยะ 3 жыл бұрын
6:30 ทุกวันนี้ยังเรียนเขียนจดหมายอยู่เลยครับ ยังดีที่เขาไม่สอนผมเคาะโทรเลขด้วย
@ท่านไอร์คนเดิม
@ท่านไอร์คนเดิม 3 жыл бұрын
ดีนะชอบใจ
@Soraew
@Soraew 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆ ฟังไม่เบื่อ
@pattarasudap
@pattarasudap 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากๆค่ะสำหรับข้อมูลความรู้
@พี่ใจ๋-ช4ฟ
@พี่ใจ๋-ช4ฟ 3 жыл бұрын
มารับฟังด้วยค่ะ
@apinyaassavaprathungkul3815
@apinyaassavaprathungkul3815 3 жыл бұрын
การเข้าสังคม การทำงานร่วมกัน ขาดไป ความอดทนที่จะเรียนรู้ การเรียนไม่ใข่แค่ความรู้ ยังมีปัจจัยให้การทำงานมีความสุข
@catforfun7238
@catforfun7238 3 жыл бұрын
โรงเรียนคือหนึ่งในไม่กี่อย่างที่ 400ปีก่อนเป็นยังไง ปัจจุบันก็เป็นแบบนั้น เหตุผลเพราะว่า : 1.โรงเรียนรูปแบบนี้ดีที่สุดแล้ว ไม่สามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้อีกแล้ว aka.Absolutly best format school 2.โรงเรียนยังไม่ดีที่สุด แต่เลือดที่จะไม่เปลี่ยนแปลงเอง เพราะลูกค้า(นักเรียน) ไม่มีสิทธิในการร้องขอการปรับปรุงใดๆ และไม่สามารถไม่ใข้บริการโรงเรียนได้ (เหมือนธุรกิจผูกขาดที่ไม่จำเป็นต้องพัฒนาใดๆ)
@asst.prof.arunchaitemeeyaw6637
@asst.prof.arunchaitemeeyaw6637 Жыл бұрын
อาจารย์มหาวิทยาลัย มีเด็กฝากเต็มไปหมดค่ะ เข้ามาแล้วสอนหนังสือผิดๆ ถูกๆ อยากให้มีการตรวจสอบตรงนี้ด้วยค่ะ ไม่ใช่แค่รู้จักกับผู้ใหญ่หรือผู้บริหารแล้วจะเข้ามาเป็นอาจารย์ได้ค่ะ
@padapada9788
@padapada9788 3 жыл бұрын
ใช่ค่ะ เชื่อมั่นว่าอนาคตใบปริญญาจะมีความหมายบางวิชาชีพ เช่น หมอ วิศวะ
@bellagreen6654
@bellagreen6654 3 жыл бұрын
ครูอจ.บ้านเราบางท่านเก่งนะคะ แต่บางท่านถ่ายทอดหรือสอนไม่รุ้เรื่องเลยค่ะ
@sowdeelife19
@sowdeelife19 3 жыл бұрын
เน็ตฟรี ยังไม่มีเลยคับ ยื่นขออินเตอร์เน็ตไป ตั้งแต่ 63 ตอนนี้ 64 ยังไม่ได้เลยค่ะ งงอยู่นะคะ
@nalintornchaipattararot6471
@nalintornchaipattararot6471 3 жыл бұрын
ยอดเยี่ยม ขอบคุณค่ะ
@zerlanternjong8585
@zerlanternjong8585 3 жыл бұрын
เคยได้ยินมานานแล้ว ตอนเลือกเรียนจุลอยากทำแลบในโรงบาล อยู่ปี 3 require ใบประกอบวิชาชีพ วุฒิเทคนิคการแพทย์ :) หึหึ
@wilcoanderson5830
@wilcoanderson5830 3 жыл бұрын
มองด้านความฉลาดและความสามารถ คุณมีความสามารถที่จะทำสิ่งอื่นๆได้อีกนอกจากการเรียนและงานด้านเภสัช คุณไม่ยึดติดที่จะเรียนรู้สิ่งอื่นๆ และคุณทำได้ดี ไม่ใช่เป็นความสูญเสียหรือสูญเปล่า ด้านเภสัช คุณมีองค์ความรู้เพิ่มขึ้น
@YHUFANG
@YHUFANG 3 жыл бұрын
ในส่วนที่บอกว่าอนาคตครูอาจไม่ได้สอนความรู้เพราะนร.หาในเน็ตเองได้ แต่ครูจะมีหน้าที่ให้คำปรึกษาเน้นให้นร.ปฏิบัติจริง อันนี้ขอบอกว่าน่าจะเวิร์คสำหรับเด็กที่ไฝ่รู้ เพราะจะเรียนรู้เอง หาข้อมูลอ่าน ฟัง podcast ให้ตัวเองได้ความรู้อย่างไม่จำกัดแค่แบบที่เคยมีในตำราเรียน และจะปรึกษาครูเพื่อคลายความสงสัยในบางเรื่องเพื่อนำไปแก้ปัญหาและต่อยอด แต่ในทางกลับกัน นร.ที่ขี้เกียจ อาจจะไม่ได้ไปศึกษาหาความรู้เองเท่าที่ควรจะเป็น และยิ่งถ้าไม่มีการบังคับให้เรียนในห้อง จะทำให้ยิ่งไปกันใหญ่ กลายเป็นว่าไม่ได้พัฒนาอะไรเลย ต้องกลายเป็นภาระพ่อแม่ ก็เป็นได้นะ
@beermashare4993
@beermashare4993 2 жыл бұрын
ใช่ค่ะ เห็นด้วยกับแนวคิดที่ว่า เด็กขยัน/เด็กขี้เกียจ
@SuntornTavarith
@SuntornTavarith 3 жыл бұрын
อยากให้ไปสัมภาษณ์คุณระเฑียร ศรีมงคล
@kibsukanda5697
@kibsukanda5697 3 жыл бұрын
เก่งมากค่ะ คนพูด
@jirsan7743
@jirsan7743 3 жыл бұрын
ฟังแล้วน่าชื่นใจ
@yuphasupo3397
@yuphasupo3397 3 жыл бұрын
เด็กส่วนใหญ่ต้องมี human beingsดีดี พยุง ผลักดัน ใส่ใจ เพื่อโตไปสามารถ ดำเนินชีวิตแบบ ประเทศที่เจริญแล้ว
@บุญแทนลี้สกุล-ฏ9ช
@บุญแทนลี้สกุล-ฏ9ช 3 жыл бұрын
หล่อน่ารักแถมเก่งมาก ยอดเยี่ยมค่ะ จากป้าโรส
@beermashare4993
@beermashare4993 2 жыл бұрын
มีประโยชน์มากๆค่ะ
@realkh7974
@realkh7974 3 жыл бұрын
ที่สำคัญที่สุดคือระบบคัดสรรคนขึ้นเป็นผู้บริหารในมหาวิทยาลัย ในกระทรวงมีปัญหา คือได้คนไม่เก่งจริงขึ้นเป็นผู้นำองค์กร พูดตรงๆคือมีระบบเส้นสาย
@Ngamnit-co8wo
@Ngamnit-co8wo 3 жыл бұрын
สาระความรู้ทันสมัยเลยค่ะ
@taraneeprayurasiddhi8448
@taraneeprayurasiddhi8448 3 жыл бұрын
อย่างไรก็ตามพ่อแม่ และครู ยังควรจะเป็นบุคคลที่สร้าง Mindset ให้เด็กเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ขึ้น หรือสมบูรณ์กว่าเทคโนโลยี
@sompongreinikainen6488
@sompongreinikainen6488 3 жыл бұрын
ที่พูดมาที่ฟินแลนด์พวกเราเรียนแบบนี้ค่ะ ต้องเรียนด้วยตัวเอง แหล่งเรียนรู้มากมาย
@AnusornChai1984
@AnusornChai1984 3 жыл бұрын
จะหาอ่านงานวิจัยนี้ได้จากไหนครับ
@worawutchatsri
@worawutchatsri 3 жыл бұрын
อยู่ในรายละเอียดครับ
@fritolayii
@fritolayii 3 жыл бұрын
ยากหน่อยไดโนเสาร์เยอะ ต้องเริ่มตั้งแต่การเมือง ถ้าการเมืองดีสิ่งอื่นๆก็ดีตาม การปรับเปลี่ยนระบบการศึกษาให้ดีขึ้น มันต้องเปลี่ยนทุกด้านซึ่งยากมาก ถ้าผู้นำไม่ให้ความสำคัญ คงยากที่จะพัฒนา
@noikuhlmann5232
@noikuhlmann5232 10 ай бұрын
สวัสดีค่ะคุณๆ ที่เป็นผู้ปกครองเด็กที่น่ารัก และ The standard มีคำว่าไม้อ่อนดัดง่ายกว่าไม้แข็ง จะเลี้ยงลูกและดูแลแบบไหน Wie erzieht man Kinder , daß sie neugierig sind พื้นฐานพัฒนาความพร้อมของเด็กและใครเลี้ยงใครดูแล เพราะธรรมชาติเด็กส่วนมากจะยากรู้ยากเห็นและซนเมื่อถึงไวเรียนจะสนใจทุกอย่างที่ฝางหน้าและถามซึมซับความรู้ในไวเด็กมันจะช่วยให้เด็กแข็งแรงเมื่อเขาเป็นผู้ใหญ่ขึ้น Selbstvertrauen, Eigeninitiative und Durchhaltevermögen สัมหลับผู้ปกครองไม่ตอ้งใช้เงินซื้อหาใช้เวลาและความใส่ใจ🧡🍀🥰
Tuna 🍣 ​⁠@patrickzeinali ​⁠@ChefRush
00:48
albert_cancook
Рет қаралды 148 МЛН
Cheerleader Transformation That Left Everyone Speechless! #shorts
00:27
Fabiosa Best Lifehacks
Рет қаралды 16 МЛН
เรียนแบบเยอรมัน | ร้อยเรื่องรอบโลก EP203
23:11
รอบโลก by กรุณา บัวคำศรี
Рет қаралды 237 М.
Tuna 🍣 ​⁠@patrickzeinali ​⁠@ChefRush
00:48
albert_cancook
Рет қаралды 148 МЛН