ep.85 (ภาค ๔/๔) สักครั้งในชีวิต !!! ศิลาจารึกหลักที่ ๑ อ่านให้ครบ จบทั้ง ๔ ด้าน

  Рет қаралды 78,860

HOY APISAK - OFFICIAL

HOY APISAK - OFFICIAL

Күн бұрын

Пікірлер: 287
@Droprichder
@Droprichder Жыл бұрын
ดูจบทั้ง 4 ตอนครับ.. แต่อดสงสัยไม่ได้ว่า ตัวหนังสือไทย มีใช้มาตั้งแต่ สมัยสุโขทัยแล้ว แต่เหตุใดจึง มีเอกสาร หรือ บันทีกประวัติศาสตร์ สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี โดยคนไทย จริงๆ น้อยมาก นักประวัติศาสตร์ , นักวิชาการไทย จะใช้ บันทึกของชาวต่างชาติ มาอ้างอิง เป็นส่วนมาก ครับ ..
@hoyapisak
@hoyapisak Жыл бұрын
คนที่อ่านออกเขียนได้ มีเฉพาะชนชั้นสูง และพระสงฆ์ครับ การบันทึกจะทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะอย่าง เช่น ศิลาจารึก ทำขึ้นเพื่อปักประกาศไว้ภายในพื้นที่นั้น ๆ เพื่อเล่าถึงเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้น ส่วนพงศาวดาร ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่ามาจาก "วงศ + อวตาร" คือจะบันทึกเรื่องราวเฉพาะผู้ที่อยู่ใน "วงศ์อวตาร" คือวงศ์ของพระนารายณ์ที่อวตารลงมาดูแลเมืองมนุษย์ ดังนั้น พงศาวดารจึงไม่ได้มีหน้าที่บันทึกเรื่องราวของชาวบ้านทั่วไป (ยกเว้นเสียแต่ว่า ชาวบ้านคนนั้น ๆ จะมีส่วนกับเหตุการณ์ที่มีผลกระทบใหญ่ต่อผู้ที่อยู่ในวงศ์อวตาร) พงศาวดารฝั่งเราจะบันทึกโดยยึดเอา "ราชธานี" เป็นสำคัญ เจ้านายพระองค์ใดมีเหตุให้ต้องออกจากราชธานีไป พงศาวดารฝั่งเราก็จะไม่พูดถึงอีก แต่ถ้าเป็นพงศาวดารฝั่งพม่า (ซึ่งย้ายราชธานีบ่อยมาก) เขาจะบันทึกโดยยึดเอาพระมหากษัตริย์เป็นสำคัญ ไม่ว่าราชธานีจะย้ายไปอยู่ที่ไหนก็จะตามไปบันทึกทั้งหมด ส่วนบันทึกของฝรั่ง เขาจะบันทึกทุกอย่างที่เขาได้รู้ได้เห็น ตลอดเวลาที่เขาเข้ามาอยู่ในดินแดนนั้น ๆ เพื่อรายงานกลับไปยังต้นสังกัด เราจึงได้เห็นเรื่องชาวบ้าน การกินอยู่ วิถีชีวิต ฯลฯ ของผู้คนทั่วไปในเมือง ส่วนบันทึกของจีน มีทั้งจดหมายเหตุที่ทูตเดินทางมายังดินแดนต่าง ๆ ก็จะมีลักษณะเหมือนบันทึกฝรั่ง คือจดหมดทุกอย่างที่เขาได้เห็น และบันทึกของจีนอีกอย่าง คือบันทึกของราชสำนัก อันนี้จะจดเรื่องการติดต่อแบบ G to G โดยเฉพาะเรื่องการที่ดินแดนต่าง ๆ แต่งทูตมาถวายราชบรรณาการ และรายละเอียดการโต้ตอบระหว่างกันตามความเป็นจริง และอยู่ในช่วงเวลาที่ใกล้กับเหตุการณ์มากที่สุดครับ
@copnanapy
@copnanapy Жыл бұрын
ผมก็สงสัยครับ ไปขนาดนั้น เเต่ทำไมตอนเเรกตบพญาเม็งรายล้านนาไม่ได้เเล้วโซนทางเหนือเป็นของล้านนาอยู่ แล้วอักษรเเต่เเต่เเรกมีอักษรล้านนาอยู่เดิมเเล้วน่าจะเอามาปรับเปลี่ยน
@noppawitsdad
@noppawitsdad Жыл бұрын
นครศรีธรรมราชก็มีศิลาจารึก และคิดว่าอักหลายที่ก็มีศิลาจารึก ที่เอาหลักฐานต่างประเทศมาอ้างก็เป็นธรรมดาของการศึกษา อีกอย่างคือตอนนี้มีสำนักเรียนประวัติศาสตร์ที่จะวิจารณ์ทำนองว่าหลักฐานของไทยเขื่อไม่ได้ เป็นการเขียนแนวชาตินิยม แต่จะไปเขื่อชาวต่างชาติซึ่งเป็นคนนอกเหตุการณ์ โดยเฉพาะพวกฝรั่ง หรือเอาใกล้ๆบ้านพวกนี้จะบอกว่าพงศาวดารขอวเราเขื้อถือไม่ได้แต่จะไปเขื่อของพม่า ซึ่งไม่รู้ว่าใข้อะไรคิดว่าคงคิดว่าพม่าเขาไม่ได้เขียนอวยชาติตนเอง ประวัติศาสตร์ของทุกประเทศก็โน้มเอียงไปทางประเทศนั้นอยู่แล้ว มีแต่พวกสำนักประวัติศาสตร์แนวมาร์กซิสม์หรือเรียกเบี่ยงๆไปว่าแนววิพากษ์ พวกนี้จะเอาทฤษฎีมาร์ก เข่น ทฤษฎีการต่อสู้ทางชนชั้น หรือแนวคิดศักดินาของเหมามาเป็นเครื่องมือวิเคราะห์ ประวัติศาสตร์ไทยซึ่งตอนนี้ฮิตกันมากและมีพาวเวอร์เสียงดัง
@skidrowkhong1373
@skidrowkhong1373 5 ай бұрын
@@noppawitsdad ไทยอ่านจารึกเมื่อใดครับ พอจะทราบไหม
@kittima19621
@kittima19621 2 жыл бұрын
ดิฉันไปอยู่ไหนมาถึงเพิ่งมาเจอช่องคุณภาพของอาจารย์ หลงรักเลยค่ะแชร์และติดตามแล้วนะคะ แอบภูมิใจในความเป็นคนอิสาน เพราะภาษาถิ่นที่เรายังใช้อยู่ทุกวันนี้ก็มีหลายคำมาก ๆ ที่ปรากฏในหลักศิลาจารึก แสดงถึงเผ่าพงษ์ที่เก่าแก่ใช้คำเหล่านั้นสืบทอดมายาวนาน จะติดตามผลงานต่อ ๆ ไปนะคะ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@webaneklarp
@webaneklarp 2 жыл бұрын
ผมสันนิษฐานว่าศิลาจารึกด้านที่ 1-3 นั้นได้บันทึกไว้ในสมัยพ่อขุนรามคำแหง แต่เป็นคนละปีกันในแต่ละด้าน ที่ อ.หอย บอกว่าด้านที่ 1 มีตัวหนังสือที่ค่อนข้างหวัดนั้นแต่ด้านที่ 2-3 เป็นตัวหนังสือที่เรียบร้อยมากกว่าเดิมนั้นเป็นเพราะว่าด้านที่ 1 เป็นการจารึกครั้งแรกช่างอาจจะไม่ชำนาญการแกะสลักตัวหนังสือบนหิน แต่ด้านที่ 2-3 ช่างมีความชำนาญมากขึ้นแล้วจึงทำได้ดีกว่าเดิม หรืออาจจะเป็นช่างแกะสลักคนละคนกันก็ได้ ส่วนศิลาจารึกด้านที่ 4 นั้นจารึกไว้หลังสมัยพ่อขุนรามคำแหง เป็นการเล่าเหตุการณ์ในยุคหลัง มีการพัฒนาตัวหนังสือไทยตัว ม และ อ ใหม่ครับ/ เอนกลาภ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@ccvdfbdb3842
@ccvdfbdb3842 2 жыл бұрын
ผมเรียนประวัติศาสตร์ก็รู้เพียงว่ามีหลักศิลาจารึกแต่ไม่เคยรู้เลยว่าหลักศิลาจารึกนั้นเขียนไว้ว่าอย่างไร..ขอบคุณมากครับที่ให้ความรู้..ที่ผมหาไม่ได้..ได้รู้ในสิ่งที่อยากรู้
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@StrikerMcThailand
@StrikerMcThailand 2 жыл бұрын
ได้ความรู้เพิ่ม ด้วยความที่ผมเป็นคนอุตรดิตถ์ ภาษาถิ่นบางคำยังเป็นคำโบราณอยู่ ยังใช้กันอยู่ ทำให้อารมณ์ ความเข้าใจกับจารึกต่างออกไปเล็กน้อย
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@petethanit
@petethanit 2 жыл бұрын
เป็นแฟนรายการซีรี่ส์วิถีคน ว่าแล้วว่าต้องเป็นเสียงพี่ ขอเป็นแฟนรายการพี่ด้วยนะครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
กราบบบบบบบ
@pichaisukarasoji7658
@pichaisukarasoji7658 2 жыл бұрын
เยี่ยม ครับ ! ได้อ่านครบ 4 ด้านแล้ว ต่อไปใครมาพูดเรื่องภาษาพ่อขุนราม จะได้ทราบว่าเป็นภาษาที่รัดกุม สละสลวย มากๆ ขอบคุณ คุณพี่หอย ที่จัดทำอย่างประณีต
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@pichaisukarasoji7658
@pichaisukarasoji7658 2 жыл бұрын
@@hoyapisak ผมกลับมาทวนฟังอีก 2 ครั้งเพื่อให้มั่นใจว่า ทิศใต้ของอาณาจักรสุโขทัย ถึงนครศรีธรรมราช และจรดถึงมหาสมุทรด้วย ต้องถือว่าลงมาไกลมาก ทั้งที่เมื่อ 700 ปีก่อนการเดินทางไม่ใช่เรื่องง่าย จึงต้องนับว่าเป็นอาณาจักรใหญ่ทีเดียว ไทม์ไลน์คือเวลาตรงกับวันเวลาของอาณาจักรมองโกล
@TheDogkerbank
@TheDogkerbank Жыл бұрын
​@@pichaisukarasoji7658ทิศใต้ไม่น่าจะลงมาถึงนครศรีฯ หรอกครับลงมาถึงแค่นครสวรรค์ นี่แหละเพราะมีมหาอำนาจลุ่มน้ำเจ้าพระยาอยู่ สุพรรณภูมิ อโยธยา ละโว้ เขาครองพื้นที่อยู่ครับ
@channujunphen6997
@channujunphen6997 2 жыл бұрын
ขอช่วยทำเรื่องบัตรถาลายแทงเก่าได้ไหมครับสายเชียงรายวังหนือพะเยาภาคเหนือมีไหมครับได้ยินคนเก่าคนแก่เล่าว่าสมัยสงครามโลก​ครั้งที่2บัตรถาถูกขนย้ายไปพร้อมตำรายาสมุนไพร​ของทางภาคเหนือ​ไปไว้ที่สระบุรี​เสาไห้พร้อมกับหีบธรรมจำนวนมากอยาให้ลื้อฟื้นหรืออยากได้ฟังเรื่องราวเก่าๆได้ไหมครับ
@thipwipha2355
@thipwipha2355 Жыл бұрын
จะเกิดอีกกี่ครั้งขอให้เป็นคนไทย รักและภูมิใจมากค่ะ
@สายฟ้าฟาด-v2
@สายฟ้าฟาด-v2 Жыл бұрын
ดีมากครับคลิปมีสาระจริงๆ ทำให้คนไทยที่ได้รับฟังพอมองเห็นภาพว่ารากเง่าของเราคนไทยมาจากไหนสมัยก่อนมีเหตุการณ์ความเป็นมาคร่าวๆอย่างไรบ้าง ขอบคุณครับแอด🙏
@กรกฏสระแก้ว-ต7น
@กรกฏสระแก้ว-ต7น 2 жыл бұрын
ทรงคุณค่าอย่างยิ่งจริงๆครับ❤️
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@numkhoon2883
@numkhoon2883 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับเพิ่งได้รับรู้ครั้งแรกในชีวิต ได้ทั้งความรู้ คำถาม ข้อสังเกตมากเลย
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@pornsawanchansuwan1555
@pornsawanchansuwan1555 2 жыл бұрын
เรียนมาแต่ชั้นประถมศึกษานิดหน่อยวันนี้พึ่งจะได้ฟังครับขอบคุณมากๆค่ะ
@tanongsakmhuentoei2715
@tanongsakmhuentoei2715 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ ผมติดตามอ่าน(ชม) ครบ 4 ด้าน ได้ความรู้มากๆ ครับ ในทรรศนะของผม เชื่อว่า 3 ด้านแรกเป็นจารึกสมัยสุโขทัยจริง ส่วนด้านที่ 4 อาจจารึกภายหลังนานมากครับ อาจจะ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@Anuparb12
@Anuparb12 2 жыл бұрын
ผมเป็นแฟนประวัติศาสตร์ของคุณหอยครับ เพิ่งได้เขียนมาคุยด้วย ขอบคุณมากที่ทำเรื่องดีๆ แบบนี้ครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ ระหว่างที่เตรียมข้อมูลเรื่องจารึกวัดศรีชุม ผมจะทำเรื่องอยุธยามาคั่นสัก 1-2 เรื่องครับ น่าจะเป็นเรื่องกรุงแตก กับพระเจ้าตากสิน จากจดหมายบาทหลวงฝรั่งเศสครับ
@Jittikarn777
@Jittikarn777 Жыл бұрын
🙏..ขอบคุณท่านดร.ทุกท่านที่ศึกษาเรื่องนี้อย่างแตกฉาน..มันมีประโยชน์มากๆจริง...ขอบคุณคุณหอยจากใจ❤..ที่หยิบเอาเรื่องนี้มานำเสนอได้น่าติดตามสุดๆ เต็มอิ่มมากๆ🙏🙏🙏**เราเป็นคนนครศรี...แอบดีใจที่มีชื่อของเมืองเราในศิลาจารึกด้วย😂😂
@LiverBirds
@LiverBirds 2 жыл бұрын
ขอบคุณ อาจารย์หอย มากๆ ที่ทำให้ได้รับความรู้เต็มๆ และชี้แนวทางในการศึกษาค้นคว้าในสิ่งที่ครุนเครือต่อไป 👍👍👍
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@Anuparb12
@Anuparb12 2 жыл бұрын
ผมขอเสนอหัวข้อต่อไปเกี่ยวกับเรื่องศิลาจารึกหลักที่ 1 นี้ให้คุณหอยช่วยทำเป็นคลิปให้ความรู้พวกเราทีครับ คือเรื่อง “ศิลาจารึกหลักที่ 1 นี้จริงหรือปลอม” โดยเป็นการนำข้อมูลของทั้ง 2 ฝ่าย มาตีแผ่กันโดยไม่ต้องลงความเห็นบทสรุป ให้ผู้ฟังตัดสินกันเองงครับ รวมถึงสถานการณ์บ้านเมืองประกอบเหตุผลว่าทำไมคนถึงคิดว่ารัชกาลที่ 4 ท่านจะเป็นผู้ทำขึ้นครับ ผมคิดว่าน่าจะได้ประโยชน์กับทุกฝ่ายครับ ผมขอขอบคุณล่วงหน้าเป็นอย่างสูงครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ แต่ผมคงไม่ทำ เพราะผมไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญขนาดนั้น และมันมีงานเสวนาวิชาการที่มีตัวแทนทั้ง 2 ฝ่ายมาบรรยายอยู่แล้ว อาจารย์แต่ละท่านก็อธิบายไว้อย่างละเอียดมาก ๆ คลิปใน KZbin ก็มี ยังมีผู้ชมเอาลิ้งค์มาแปะให้ดูอยู่ตั้งหลายสิบคน ผมเองก็ไม่รู้จะทำซ้ำไปทำไม ในเมื่อคลิปนั้นเขาก็ละเอียดสมบูรณ์อยู่แล้ว kzbin.info/www/bejne/fHnFlKp3n72Woq8 อีกอย่าง ผมยังมีเรื่องจารึกวัดศรีชุมที่ต้องทำ ซึ่งเป็นหลักที่สำคัญที่สุด และต้องใช้เวลาทุ่มเทมากกว่าหลัก 1 หลายเท่าตัวครับ
@Anuparb12
@Anuparb12 2 жыл бұрын
@@hoyapisak ขอบคุณมากครับคุณหอย เดี๋ยวผมเข้าไปศึกษาต่อตามลิงค์ที่ให้มานะครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
@@Anuparb12 ขอบคุณครับ ประเด็นนี้ มันต้องละเอียดแบบนั้นเลยครับ ไม่ควรเอามาย่นมาย่อใดๆ ทั้งสิ้น
@พิชิตอินอยู่
@พิชิตอินอยู่ 2 жыл бұрын
จารึกหลักที่ 1 ระบุสถานที่วัตถุสิ่งของมากมาย ซึ่งต่อมาได้ค้นพบแต่ภายหลังที่ยังค้นไม่พบก็มี และเนื้อความมีความสอดคล้องกับจารึกที่พบในชั้นหลังและหมายเหตุต่างประเทศที่ต่างแม่นตรงในข้อมูลอีก จารึกที่มีประจักษ์พยานมากมายถึงเพียงนี้ จึงเป็นจารึกที่ไม่สามารถปลอมได้
@theerapojboontee1835
@theerapojboontee1835 Жыл бұрын
ผมเคยอ่านเคยฟังทำนองว่าศิลาจารึกหลักที่ 1 ถูกปลอมหรือต่อเติมเพื่อจุดประสงค์ในการต่อต้านจักรวรรดินิยมในสมัย ร.4 แต่ผมไม่สามารถจินตนาการได้เลยว่ามันปลอมได้ยังไง การสลักตัวหนังสือลงในหินไม่ได้ทำได้ง่ายๆ ใครจะไปทำได้โดยที่ไม่หมดหินไปเป็นกองๆ เท่าภูเขาเลากา แถมยังใช้ตัวหนังสือที่ไม่ใช้กันในสมัยนั้นอีก ผมว่าคนสมัย ร.4 ตีความให้เอื้อประโยชน์ต่อชาติไทยเท่านั้นเอง ง่ายกว่าการสลักหินเยอะ ทำไมต้องคิดดราม่าซับซ้อนขนาดปลอมหลักฐานด้วย เผลอๆ สิ่งที่เราตีความในปัจจุบัน อาจไม่ใช่ความหมายที่แท้จริงก็ได้ อย่างประโยคว่า เมื่อก่อนลายสือไทนี้บ่มี อาจแปลว่าไม่เคยมีการจารึกลายสือแบบนี้เท่านั้นเอง เพราะอาจเป็นลายสือแบบหนึ่งที่ท่านได้ไปขวนขวายศึกษา (หาใคร่ใจในใจ) มาจากที่ไหนสักแห่ง (ที่ไหนก็ไม่รู้ แต่ลักษณะออกไปทางลาวมากกว่าภาษาไทยรุ่นอยุธยา) และต้องการบันทึกไว้ (ขุนผู้นั้นใส่ไว้) เพื่อให้รู้ว่าลายสือไทแบบนี้มันมีอยู่จริง (อันนี้ ผมตีความสมมติขึ้นเองนะครับ) แต่เราก็เข้าใจกันไปใหญ่โตว่าท่านประดิษฐ์ตัวหนังสือภาษาไทยแบบนี้ ซึ่งแค่นี้ก็เพียงพอแล้วที่จะอ้างกับพวกล่าเมืองขึ้นว่าเราใช้ภาษาไทย ไม่ได้ใช้ภาษาขอม
@vpunsab2
@vpunsab2 2 жыл бұрын
ได้ความรู้มากเลยค่ะ และบรรยายได้สนุก น่าฟังทถกตอน
@worapong5960
@worapong5960 2 жыл бұрын
คอยติดตามตอนต่อไปด้วยใจระทึก
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
🙏😁
@PK_ToN
@PK_ToN Жыл бұрын
พื้นที่บริเวณอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย กับ อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย อยู่ในยุคเดียวกันใหมครับ ถ้ายุคเดียวกันมีเหตุผลอะไรที่อยู่ห่างไกลกัน และถ้าอยู่คนละยุค มีเหตุผลอะไรถึงต้องย้ายที่ตั้งของเมือง (และ เมืองไหนมีมาก่อนกัน)
@hoyapisak
@hoyapisak Жыл бұрын
เขาคือคนละเมืองมาตั้งแต่แรกครับ ไม่เคยมีใครย้ายใคร เพียงแค่ในสมัยต่อมา ศรีสัชนาลัยมีฐานะเป็นเมืองที่อุปราชของสุโขทัยมาปกครองครับ
@PK_ToN
@PK_ToN Жыл бұрын
@@hoyapisak ขอบคุณครับ ผมกำลังเริ่มสนใจประวัติศาสตร์ และกำลังเริ่มศึกษาข้อมูลต่างๆ ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆครับ อธิบายได้ดีมากๆเลย ผมจะกลับไปไล่ดูใหม่ตั้งแต่ ep. แรกๆเลยครับ
@hoyapisak
@hoyapisak Жыл бұрын
@@PK_ToN ขอบคุณครับ
@vithaya100
@vithaya100 2 жыл бұрын
ผมเปิดรอก่อนเวลาพอถึง๑๙.๐๐เนิ่มเล่นเลยเยี่ยมจริงๆ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ใช่ครับ รอบพรีเมียร์ KZbin จะ Countdown ให้อัตโนมัติเลย สนุกดีครับ
@wasunk9074
@wasunk9074 2 жыл бұрын
ข้อมูลละเอียดดีมากครับ เป็นกำลังใจให้ผู้จัดทำนะครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@ณฐาภพนอบกาย
@ณฐาภพนอบกาย 2 жыл бұрын
ได้ความรู้เพิ่มขึ้นทุกๆ ep เลย สุดยอดครับ อาจารย์หอย ขอบคุณครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@พิชิตอินอยู่
@พิชิตอินอยู่ 2 жыл бұрын
อ.มนชัย เทวัญวโรปกรณ์ นักประวัติศาสตร์ท้องถิ่นสุโขทัย ได้ให้สมมุติฐานว่า สรลวง = สราลวง มีความหมาย ว่า สรวงสวรรค์ เมืองหนึ่ง และ สองแคว เมืองหนึ่ง ซึ่งเป็นคติเมืองคู่ที่นิยม ในสมัยนั้น อันหมายถึง เมือง สรวงสรววรค์ สองลำน้ำ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@ติ่งดุลยลา
@ติ่งดุลยลา Жыл бұрын
ก่อนนี้ยังไม่เขียนบันทึกอักษรอะไรไว้ ในด้านนี้ ท่านทรงพินิจแล้วจึงให้ช่างขุนนาง (แต่คนละช่าง)เขีนบันทึกลงไป คิดว่าแบบนี้
@อัษฎางค์กุลสิริมหาโชคชัย
@อัษฎางค์กุลสิริมหาโชคชัย 2 жыл бұрын
เมืองฉอดของพ่อขุนสามชน หลายคนเข้าใจตามการพ้องเสียงว่าอ.แม่สอด แต่ไม่ปรากฏหลักฐานการเป็นชุมชนเมืองขนาดใหญ่ที่เป็นวัง และหลักฐานทางโบราณคดีก็ยังสาวไปไม่ถึง กลับไปปรากฏที่ อ.ท่าสองยาง ที่มีชุมชนเมืองเก่าขนาดใหญ่ เข้าตำราการสร้างเมืองแบบโบราณ แต่หลักฐานทางโบราณคดียังไม่อยู่ในยุคเดียวกับอาณาจักรสุโขทัย คงต้องหาหลักฐานการพิสูจน์ต่อไป
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@อัษฎางค์กุลสิริมหาโชคชัย
@อัษฎางค์กุลสิริมหาโชคชัย 2 жыл бұрын
ส่วนเมืองมาน นั้น อยู่ในจ.แพร่ทางตอนใต้ ซึ่งคืออำเภอสูงเม่น มิใช่อำเภอร้องกวางดั่งที่ผู้อธิบายในคลิป เมืองมานเป็นเมืองหน้าด่านของเมืองแพร่ ซึ่งก็มีวัดหลวง มีโบราณสถานเก่าแก่มากมาย ยุคใกล้เคียงกับสุโขทัย ส่วนที่บอกว่าสร้างอ่างเก็บน้ำทับเมือง คิดว่าคงมิใช่ เพราะก่อนสร้างคงมีการสำรวจแล้ว เพียงแต่ทั้งชื่ออ่างเก็บน้ำแม่มาน กับชื่อเมืองมานในอดีต ต่างก็คงได้แรงบันดาลใจมาจากชื่อแม่น้ำ คือแม่น้ำมาน ที่ไหลมาจากเทือกเขาภูพญาผ้อ ที่ไหลลงแม่น้ำยมที่บ้านสบสายเลยนำเอามาตั้งเป็นชื่อเมืองกับชื่ออ่างฯ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ ผมอยากให้คุณทำคลิป หรือรายการ Podcast ออกเผยแพร่ความรู้สู่วงกว้างครับ ผู้ชมผู้ฟังจะได้ประโยชน์ด้วย
@อัษฎางค์กุลสิริมหาโชคชัย
@อัษฎางค์กุลสิริมหาโชคชัย 2 жыл бұрын
@@hoyapisak ไม่ถนัดด้านนี้จริงๆครับ แต่ชอบสะสมความรู้ และพยายามทำความเข้าใจประวัติศาสตร์
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
@@อัษฎางค์กุลสิริมหาโชคชัย ถ้าทำสื่อ มันจะมีคนได้ประโยชน์กว่าการมาตอบคอมเม้นท์หลายพันเท่าเลยครับ
@Hunter_88888
@Hunter_88888 2 жыл бұрын
เห็นด้วยครับ ว่าเมืองมาน น่าจะเป็น อ.สูงเม่น ที่กำแพงเมืองแพร่ก็มีประตูมาน (มาร) ซึ่งอยู่ทางทิศใต้ ที่จะออกมาทางสูงเม่น และมีลำน้ำแม่มาน ห่างจากตัวเมืองแพร่ประมาณ 10 กม. เมื่อก่อนสูงเม่นจะเป็นเมืองหน้าด่านผ่านไปยัง อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์ หรือ สุโขทัย เดิมชื่อ อ.แม่พวก ตอนนั้นยังไม่มี อ.เด่นชัย เพราะเด่นชัย แยกออกมาจาก อ.แม่พวก (แม่พวก คือลำห้วยที่ไหลมาจากดอยเขาพลึง อยู่ในเขต อ.เด่นชัย ปัจจุบัน)
@Kimmaki73Channel-ll9so
@Kimmaki73Channel-ll9so Ай бұрын
อยากให้ทำเรื่อง จารึก ก.เบื้องจาร วัดคูบัว ครับ ผมคิดว่า น่าจะเป็นประวัติศาสตร์ ที่ต่อเนื่อง มาถึง ยุคสุโขทัย ได้ครับ
@MrChootidate
@MrChootidate 2 жыл бұрын
ศักราชทางเหนือกับทางภาคกลางไม่ตรงกันครับ ทั้งนี้ด้วยเหตุผลหลายอย่าง ต้องให้ผู้รู้มาตรวจสอบชำระอีกทีถึงจะถูกต้องครับ อ.หอย
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ แต่ในย่อหน้าถัดไป เขาเขียนว่า ศักราช 1025 ศก เป็นปีมะแม (ปีประดิษฐ์ลายสือไท) ซึ่งมันก็ยังถูกอยู่เลยนะครับ และตอนนั้น ดร.ประเสริฐ ท่านก็ไม่ได้ติดเรื่องปีนักษัตรเลย ซึ่งท่านก็ยืนยันว่า ในจารึกเขียนเลข 7 แน่ ๆ (คือเป็น ศักราช 1027) และเลข 7 กับเลข 9 (ศักราช 1029 ถึงจะเป็นปีกุน) ก็เขียนไม่ได้ใกล้เคียงกันด้วย (ในกรณีที่ถ้าจะเผลออ่านผิดจาก 9 เป็น 7) ดร.วินัย ท่านจึงเชื่อว่าคนจารคงจะระบุคลาดเคลื่อนครับ
@MrChootidate
@MrChootidate 2 жыл бұрын
@@hoyapisak ขอบคุณครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
@@MrChootidate 🙏😁
@LiverBirds
@LiverBirds 2 жыл бұрын
รอหลักต่อๆไปนะอาจารย์ ขอบคุณมาคับ🙏
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@nanthydameesouk7383
@nanthydameesouk7383 2 жыл бұрын
หา ถ้าในภาษาลาวเหนือแปลว่าบ่ เช่น หามี(บ่มี) หาได้ไป(บ่ได้ไป) บทแรกน่าจะแปลว่า ท่านไม่ได้เป็นพระยาคนทั้งหมด ไม่ได้สั่งสอนให้รู้บุญรู้ธรรม แต่คนในเมืองนี้เค้ารู้เค้าเก่งอยู่แล้ว
@kathykp-oay712
@kathykp-oay712 Жыл бұрын
ถ้าจำไม่ผิดในตอนต้นเคยกล่าวไว้ว่าศิลาจาลึกมีหลายอันไม่ทราบว่าทุกอันมีข้อความหน้า๔เหมือนกันรึไม่ เป็นไปได้ไหมหน้า๔ในแต่ละที่มีข้อความต่างกันและจงใจทิ้งไว้ให้บันทึกประวัติหลังสิ้นสุดราชวงค์พ่อขุนรามกำแหง
@hoyapisak
@hoyapisak Жыл бұрын
บางจารึกมี 1 หน้า / 2 หน้า / 3 หน้า / 4 หน้า บางจารึกที่บรรทัดเดียวที่ใต้ฐานพระครับ
@นกตัดผ้า-ฎ2ญ
@นกตัดผ้า-ฎ2ญ 2 жыл бұрын
ได้ความรู้สุดๆไปเลย สนุกมาก กราบขอบพระคุณ อาจารย์ทุกท่าน อย่างสูง ค่ะ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@bmsomboon125
@bmsomboon125 2 жыл бұрын
Fc คับพี่ ติดตามตลอด ทางช่องนี้และช่อง ซีรีย์วิถีคน ชอบมากครับ พี่ดำเนินเรื่องได้สนุมากๆครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@ภาณุเมศวร์ราตรี
@ภาณุเมศวร์ราตรี 2 жыл бұрын
ขอบพระคุณที่ให้ความรู้อันมีค่า ครับผม
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@L51
@L51 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ รอชมความรู้หลักอื่นๆครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@ไข่มุกเซ็นเต็น
@ไข่มุกเซ็นเต็น 2 жыл бұрын
อยากฟังแล้วค่ะ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
🙏
@AbcAbc-sr4go
@AbcAbc-sr4go Жыл бұрын
ขอขอบคุณค่ะ
@o_tgreen3884
@o_tgreen3884 2 жыл бұрын
ติดตาม​มานานแล้วครับ อาจารย์. ชอบฟังครับ.. ไปกันเลยยย.🤗
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@o_tgreen3884
@o_tgreen3884 2 жыл бұрын
@@hoyapisak ดูทุกตอนเลยครับ😇
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
@@o_tgreen3884 🙏😀
@yimrossukhone885
@yimrossukhone885 2 жыл бұрын
หลักจากอ่านมาครบ 4 ด้าน ผมสงสัยอยู่ประการเดียวครับพี่หอย ศิลาจารึก ตากแดดตากฝน อยู่ 4-5 ร้อยปี ทำไมยังอ่านออกอย่างชัดเจน ทุกตัวอักษรคมชัด สมบูรณ์ ทุกส่วนไม่ได้รับความเสียหายอะไรเลยครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ถ้าสงสัยขนาดนี้ ผมว่าเดินทางไปพิพิธภัณฑ์พระนคร แล้วดูด้วยตาตัวเองเลยดีกว่าครับว่า มันคมชัด มันชัดเจน มันไม่มีความเสียหาย อย่างที่คิดจริง ๆ หรือเปล่า
@noppawitsdad
@noppawitsdad Жыл бұрын
มีการปล่อยข้อมูลผิดๆบิดเบือนว่าศิลาจารึกพึ่งมาทำขึ้นสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ไม่รู้ว่ามีการบิดเบือนว่าไตรภูมิพระร่วงก็มาเขียนยุครัตนโกสินทร์ด้วยหรือเปล่า
@hoyapisak
@hoyapisak Жыл бұрын
คำถามนี้ผ่านมา 1 ปีแล้ว และตอนนั้นผมแนะนำให้คุณเดินทางไปดูของจริงที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร ไม่ทราบว่า ตอนนี้ได้เดินทางไปดูด้วยตาตัวเองมาหรือยังครับ?
@somkiataeetimpratum5585
@somkiataeetimpratum5585 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ เคยสงสัยตอนเด็กๆว่าเขียนอะไรใว้ให้เราอ่านว่าอย่างไรบ้างครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@thanetuathawisamphun9597
@thanetuathawisamphun9597 2 жыл бұрын
ชาวสยามในมาเลเซีย พูดไทยสำเนียงสุโขทัย ภาษาใต้สำเนียงสุโขทัย ในนราธิวาส เรียกว่า ภาษาเจ๊ะเห๋ บ่งบอกว่าสุโขทัยปกครองตลอดแหลมมลายู
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@sasilekha
@sasilekha 2 жыл бұрын
อยากได้ยินจังเลยค่ะว่าเป็นแบบไหน
@น้อยนิพล
@น้อยนิพล Жыл бұрын
คำว่าโจ้โล่ภาษาบ้านผมโบลานสมัยก่อน..หมายความว่าโผล่อย่างรวดเร็วคับ
@BoyBoy-wc6mm
@BoyBoy-wc6mm 2 жыл бұрын
เคยได้ยินคนพูดกันว่าศิลาจารึกหลักที่ 1 สร้างขึ้นมาในสมัยร 4 คุณหอยอภิศักดิ์มีความเห็นว่าอย่างไรครับในฐานะคนสุโขทัยเหมือนกันผมคนเมืองเก่าโดยกำเหนิด
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ไม่ว่าจะในฐานะอะไร ผมก็ไม่มีความรู้ความเชี่ยวชาญขนาดจะไปฟันธงครับ รู้แค่ว่า ภาษาในจารึกหลักนี้มันเก่ามาก และขนบของคำ รวมถึงวลีบางอย่าง มันก็ยังสืบเนื่องไปถึงจารึกหลักอื่น ๆ ของสุโขทัยด้วย เช่น จารึกวัดศรีชุม หรืออย่างคำว่า สรีดภงส์ ที่ถูกพูดถึงในจารึกหลักนี้ มันก็ถูกระบุในจารึกปราสาทสด๊กก๊อกธม รวมถึงจารึกวัดเขมาของเจ้าเทพรุจีด้วย เรื่องจารึกสุโขทัย เราอ่านแค่หลักเดียวแล้วจะไปตัดสินคงทำไม่ได้เลย แต่ถ้าอ่านจารึกหลาย ๆ หลัก มาก ๆ เข้า ก็พอจะเห็นเค้าโครงความเกี่ยวเนื่องกันอยู่พอสมควรครับ
@ศิรกานต์ธรรมา
@ศิรกานต์ธรรมา 2 жыл бұрын
ด้านที่4สำเนียงคำเพี้ยนไปอย่างสิ้นเชิง ด้านที่4เหมือนเก้ๆชอบกล
@สุทธิศักดิ์มธุรพงศากุล
@สุทธิศักดิ์มธุรพงศากุล Жыл бұрын
คนบันทึกถ้าไม่ใช่คนๆเดียวกัน ก็การบันทึกผิด 🤗
@tyboonyong
@tyboonyong 2 жыл бұрын
ดูจบแล้ว ขอบคุณครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@Mr.Usthawith828Wang88
@Mr.Usthawith828Wang88 2 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
🙏🏽
@deedyparinya
@deedyparinya 2 жыл бұрын
คำว่า รอด = ถึง นั้นน่าจะออกเสียงแบบภาษาลาวนะครับ ร ในภาษาลาว ออกเสียงเป็นตัว ฮ ในภาษาไทย ดังนั้น รอด จึงอ่านว่า ฮอด ในภาษาลาว ซึ่งแปลว่า ถึง เช่นกัน รอด (ไท) = ฮอด (ลาว) = ถึง
@สายแว๊นแว๊นกันมั้ย
@สายแว๊นแว๊นกันมั้ย 2 жыл бұрын
รักมากๆช่องนี้
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@chkkmppm
@chkkmppm 2 жыл бұрын
ขอจารึกอื่นๆ ด้วยครับ สนุกมาก ได้ความรู้
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@wirachatsri8344
@wirachatsri8344 Жыл бұрын
ไท.ความหมายดั้งเดิมทาง อิสาน แปลว่า ชาว ,กลุ่ม,พวก ที่ได้ยินกัน เช่นผู้บ่าวไทบ้าน แปล ว่าชายหนุ่มชาวบ้าน ไทเหนือ =ชาวเหนือ ไทเฮา=พวกเรา เป็นต้นครับ
@bicv2259
@bicv2259 Жыл бұрын
ขอบคุณครับผม
@nuttybp4742
@nuttybp4742 2 жыл бұрын
แอดใช่คนพากษ์ช่องไทบีพีเอสมั๊ยคับเสียงเหมือนมาก
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ใช่ครับ
@นักเดินทาง-ฉ3ฌ
@นักเดินทาง-ฉ3ฌ 2 жыл бұрын
สุดยอดครับ.👍
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@santiphabarunwarapha1410
@santiphabarunwarapha1410 2 жыл бұрын
อยากฟัง คุณหอย เล่าแล้วครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
🙏
@tongsiri100
@tongsiri100 2 жыл бұрын
สุดยอดไปเลยคะ ความรู้มาเต็มๆ เข้าใจทุกอย่างเลย
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@ธานินฉิมสุข
@ธานินฉิมสุข 2 жыл бұрын
ติดตามตลอดครับอาจารย์ ขอบคุณมากๆที่ให้ความรู้มาโดยตลอด ขอให้อาจารย์สุขภาพแข็งแรง ร่ำรวยๆครับผม
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@ธานินฉิมสุข
@ธานินฉิมสุข 2 жыл бұрын
@@hoyapisak อยากให้อาจารย์ให้ความรู้ เกี่ยวกับวัดป่าเรไรสุพรรณบุรีครับ ขอบคุณมากครับ ขอให้ร่ำรวยๆครับผม
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
@@ธานินฉิมสุข 🙏😁
@อภิเชษฐเรืองศรี
@อภิเชษฐเรืองศรี 2 жыл бұрын
🙏สวัสดีครับอาจารย์ผม
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
🙏
@อภิเชษฐเรืองศรี
@อภิเชษฐเรืองศรี 2 жыл бұрын
🙏@@hoyapisak
@tiparatkhongphokha9292
@tiparatkhongphokha9292 2 жыл бұрын
เย้ๆๆๆ ครบทั้ง4ด้านแล้ว ได้เพิ่มความรู้ใส่คลังสมองครบถ้วน ขอบพระคุณคุณพี่หอยมากๆนะคะที่ได้นำมาเสนอให้ความรู้ในทางที่ถนัด พี่น่ารักมากให้ความเคารพแหล่งที่มาในทุกๆep.ก่อนที่จะเผยแพร่ต่อ ขอให้มีคุณพี่มีความสุข สุขภาพแข็งแรง คุณพระคุ้มครอง นะคะ (ร้านท้ายวัง พิพิธภัณฑ์ พระนคร)
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ ถ้ามีโอกาสจะเข้าไปที่ร้านอีกนะครับ คิดถึงซาโมซ่า และคิดถึงแมวอ้วน 😁
@น้อยนิพล
@น้อยนิพล Жыл бұрын
พ่อขุนคือยศส่วนคำว่ารามคือเล็กคำแหงคือกำแหง..แปลได้คือเก่งแต่ยังเล็ก..ผมคิดเองนะ
@วัฒนะชัยยย
@วัฒนะชัยยย 2 жыл бұрын
ดูครบ4 ด้านแล้วรู้สึกตรัสรู้☀️
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@took2tooktook340
@took2tooktook340 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@toykrathongnoi8756
@toykrathongnoi8756 Жыл бұрын
👍👏👏👏 หลวกแต้ๆครับ​ ... 😁😁😁😂😂😂🤣🤣🤣
@maymay7330
@maymay7330 2 жыл бұрын
ถ้าสร้างในสมัยสุโขทัย ค้องมีมากกว่านี้ เพราะสุโขทัยเป็นอาณาจักรที่สุขสงบยาวนาน .
@parinthron_9870
@parinthron_9870 Жыл бұрын
เมืองใต้หล้าฟ้าฎอก หมายถึง เวียดนาม ยูนนาน จีน ก็แปลว่าอำนาจของสุโขทัยก็แพร่ไปยังที่นั้นเลยรึครับ
@เพ้อเจ้อตะลุยสอบ
@เพ้อเจ้อตะลุยสอบ 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ🎉🎉🎉🎉
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@tora1502
@tora1502 Жыл бұрын
ศิลาจารึกถูกค้นพบในรัชกาลใดครับ (สมัยรัตนโกสินทร์) ในสมัยอยุธยา มีการค้นพบศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงไหมครับ เช่น ยุคพระนารายณ์ พระนเรศวร รึ ในสมัยอยุธยาก็เจอศิลาจารึกยุแล้ว และถูกเก็บรักษาในราชวัง พระมหากษัตริย์ในสมัยอยุธยาก็ได้อ่านได้ศึกษายุแล้วรึป่าวครับ รึพึ่งถูกค้นพบในสมัยรัตนโกสินทร์ครับ
@hoyapisak
@hoyapisak Жыл бұрын
ไปอ่านครับ db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/47
@vishnurachpech
@vishnurachpech Жыл бұрын
ผมขอชื่นชมมากๆครับ ผมคนนอกวงการแต่ได้มาดู ต้องตามจนครบครับ ผมอยากสอบถามเพิ่มเติมว่า มีหลักฐานอื่น ที่มีข้อมูลสอดคล้องกับข้อมูลในหลักศิลาจารึกนี้ หรือไม่ มากน้อยเพียงใดครับ
@hoyapisak
@hoyapisak Жыл бұрын
ดูนี่ครับ vt.tiktok.com/ZS8aUPKEY/ และอ่านนี่ครับ db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/107
@ภานุวัฒน์ตันตะสุทธิ์
@ภานุวัฒน์ตันตะสุทธิ์ 2 жыл бұрын
FC ครับ
@ธันยนันท์แก้วแท้อภิพงษ์-ข5ฉ
@ธันยนันท์แก้วแท้อภิพงษ์-ข5ฉ 2 жыл бұрын
คำว่าสรลวง น่าจะมาจากบาลีนะครับ บาลีนั้นไม่มีสระอะ เขียนตัวพยัญชนะแต่อ่านออกเสียงเหมือนมีสระอะ น่าจะเป็นอย่างนี้
@parinthron_9870
@parinthron_9870 6 ай бұрын
เมือง สะค้า พอจะประมาณได้ไหมครับว่าอยู่ที่ไหน
@สุดยอดยอดสุข
@สุดยอดยอดสุข 2 жыл бұрын
ขอบคุณคับพี่หอย
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@นเรศจิตรว่องไว
@นเรศจิตรว่องไว 10 ай бұрын
ชอบมากเรื่องศิลาจารึก แต่อ่านไม่ออกสักแห่ง มันมีทั้งภาษาบาลี สันสกฤต ทมิฬ มอญ และขอม
@teetadphungvicha55
@teetadphungvicha55 2 жыл бұрын
รอๆๆๆๆมานาน
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@channel-hb9rv
@channel-hb9rv 2 жыл бұрын
คำว่า ทิศหัวนอน ,ทิศปลายเท้า ทางใต้ยังใช้อยู่ครับ
@สุเทียนเขื่อนคํา
@สุเทียนเขื่อนคํา 10 ай бұрын
คำว่ามานเหนือก็ไช้นะครับ
@วิจิตรชีพคุณวงศ์
@วิจิตรชีพคุณวงศ์ 2 жыл бұрын
ข้อสังเกตุ..ผมยังไม่เคยได้ยินว่ากลุ่มคนอยู่ที่ไหนที่ ออกเสียงว่า"รอด"/ลอด/ຣອດ/ລອດแล้ว แปลว่า..ถึง/เถิง. และยังพูดอยู่ในปัจจุบันหากมีการพูดแบบนั้นจริงต้องมีสักแห่งสักกลุ่มบ้างล่ะที่ยังพูด อยู่...แต่คนอีสานและในสปป.ลาวปัจจุบันก็ยังใช้คำนี้อยู่...ຮອດ=ฮอด=ถึง/เถิง...ຮ=ฮ...ส่วน..ຣ=ร..ลาวใส่เข้ามาตอนหลังน่าจะสมัยตกเป็นประเทศราชของสยาม..ดังนั้น..ที่อ่านว่า"รอด"ใน ศิลาจารึก..น่าจะออกเสียงว่า.."ฮอด"..เพราะแปลว่าฮอด=ຮອດ=ถึง=เถิง
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ผมว่า คุณวิจิตรต้องไปดูตัวอักษรที่เขาสลักไว้ในจารึกก่อนครับ เขาเขียน ร คลิกเข้าไปดูได้เลยครับ db.sac.or.th/inscriptions/uploads/file/sth1-pho-khun-ram-khamheng-d-tr1.pdf
@วิจิตรชีพคุณวงศ์
@วิจิตรชีพคุณวงศ์ 2 жыл бұрын
@@hoyapisak คำพูดเสียงพูดต้องมีมาก่อนตัวอักษร...และอักษรอ้ายลาวก็มีมาก่อนพ่อขุนรามคำแหง..กลุ่มไทกะไดจะมีแต่..ล.ลิงไม่มีร.เรือ..ถ้าออกเสียงร.เรือไม่เขมรก็สันสกฤษ...อักษรมันเปลี่ยนไปเรื่อยๆตามยุกสมัย...แต่เสียงพูดและความหมายแบบนั้นแม้อักษรจะเปลี่ยนไปมันก็น่าจะมีร่องรอยเหลืออยู่...ผมก็เลยแค่อยากรู้ว่ายังมีกลุ่มคนที่พูดเสียงแบบนี้และความหมายนี้อยู่ไหม
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
@@วิจิตรชีพคุณวงศ์ รอผู้รู้มาตอบครับ
@พิชิตอินอยู่
@พิชิตอินอยู่ 2 жыл бұрын
ภาษาตระกูล ไท ลาว ร(ไทย) = ฮ (ลาว) ครับ เช่น ร้อน(ไท) ฮ้อน(ลาว) เรือน(ไท) เฮือน(ลาว) รอด กับ ฮอด ก็ปกติครับ
@วิจิตรชีพคุณวงศ์
@วิจิตรชีพคุณวงศ์ 2 жыл бұрын
@@พิชิตอินอยู่ ຮ=ฮ...ฮอด แล้ว=ຮອດແລ້ວ=ถึงแล้ว/เถิง แล้ว...รอด แล้ว/ลอดแล้ว...ไม่มีใครพูด...หรือถ้าพูดมันก็คนละความหมาย..คือรอดตายแล้ว/เอาชีวิตรอด...หรือไปลอดถ้ำลอดโพรงลอดอุโมงค์มาแล้ว
@อานุภาพจันทร์สายทอง
@อานุภาพจันทร์สายทอง 2 жыл бұрын
เมืองฉอดไม่ใช่แม่สอด ผมฟังมาจาก ประวัติศาสตร์นอกกะลา เขาตามหากันอยู่เหมือนกันครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ผมก็ดู แต่เขาไม่ได้สรุปแบบที่คุณว่านะครับ เขายังหาหลักฐานที่แน่ชัดไม่เจอแค่นั้นเอง และเขาชื่อรายการ “ประวัติศาสตร์นอกตำรา” ครับ
@wat7663
@wat7663 Жыл бұрын
ทำไมจารึกไม่มีการพูดถึงเรื่องราวของลูกสาวของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ทั้งสองคนแม้กระทั้งชื่อพ่อขุนรามคำแหงยังไม่จารึกชื่อน้องสาวทั้งสองคน ครับ สงสัย
@hoyapisak
@hoyapisak Жыл бұрын
ไม่ใช่แค่ 2 พระองค์นี้นะครับ เพราะขนาดนางเสือง ก็ไม่ได้ลงรายละเอียดเพิ่ม / พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ก็พูดไม่กี่วรรค / ยิ่งพ่อขุนบานเมืองยิ่งน้อยลงไปอีก แต่จะเน้น “อัตชีวประวัติ” ของพระองค์เอง กับการชมบ้านชมเมืองครับ อย่างไรก็ดี ลำดับกษัตริย์ 3 พระองค์นี้ สอดคล้องกับจารึกปู่ขุนจิดขุนจอดมากครับ db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/107
@e2style330
@e2style330 2 жыл бұрын
เมื่อวานฟังไม่จบ ซ้ำอีกรอบ E2style.
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@rajamani8509
@rajamani8509 2 жыл бұрын
ศิลาจารึกพ่อขุนรามฯเป็นต้นแบบ ศิลาจารึกที่บอกระยะทางระหว่างอำเภอจังหวัดในปัจจุบัน
@winaiwinai-we5bd
@winaiwinai-we5bd Жыл бұрын
เบื้องฅะวันฅกรอดเมืองฉอด เมืองพัน หงสาวดี... คำว่ารอด ไม่น่าจะใช่ความหมาย น่าจะหมายความว่า เบื้องฅะวันฅกถึงเมืองฉอด คำว่ารอด ถ้าคิดถึงภาษาสมัยพ่อขุนรามคำแหงจะคลายคึงกับภาษาลาว ร.. รอด ในภาษาลาวจะมีอักษรที่คล้าย ร คือ ຮ (อ่านว่า ฮอ ในภาษาลาว) เขียนว่า "ຮອດ" อ่านว่า "ฮอด" แปลเหมือนภาษาอิสาน แปลว่า ถึง เช่น ໄປຮອດ(ไปฮอด) แปลว่าไปถึง ຄິດຮອດ (คิดฮอด)แปลว่าคิดถึง ฉนั้น รอดเมืองฉอด น่าจะอ่านว่า ฮอดเมืองฉอด ถ้าแกะอักษรมาจากหลักศิลาจาลึก เพราะว่าอักษรภาษาสมัยนั้นจะคล้ายๆกับภาษาลาวพอสมควร ถูกหรือผิดประการใดก็ขออภัยท่านผู้รู้จริงๆใว้ณที่นี้ขอรับ😅
@bossiniilider7843
@bossiniilider7843 2 жыл бұрын
อยาก รู้ประวัติ เจ้าสามกรม ครับพี่หอย เจ้าฟ้าแขก เป็นยังไงมั้งตรับตายยัง
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@พอเพียง-ข5ล
@พอเพียง-ข5ล Жыл бұрын
หาเป็นครู = คือ ไม่ได้เป็นพระยาไม่ได้เป็นครูไม่ได้สอนคนไทยเรื่องบุญเรื่องธรรม แต่คนไทยนับถือและศรัทธาบุญเรื่องธรรมอยู่แล้ว
@tjlasaen991
@tjlasaen991 2 жыл бұрын
1207ปีกุน​ อาจารย์​ได้คำนวน​ ปีที่ลบศักราชสมัยพระเจ้าปราสาท​ทอง​ด้วยไหมครับ​ เพราะเคยมีพิธีลบอยู่ครั้ง1 บางท่านอาจลืมมม
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
สมัยพระเจ้าปราสาททองเป็นการแก้เฉพาะปีนักษัตร ไม่ใช่การแก้เลขศักราชครับ และพอใช้ได้แค่ 3 ปีก็กลับมาใช้ตามเดิม เพราะไม่เป็นที่นิยม
@blackaway
@blackaway 2 жыл бұрын
รออยู่เลยครับบบ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
คลิกดูได้เลยครับ
@jesonpat
@jesonpat Жыл бұрын
เป็นศิลาหรือหิน จริงหรือ เขาใช้อะไรเขียนจึงสลักลงเนื้อหินเช่นนั้นได้ หรือเคยเป็นดินอ่อนนุ่มจึงเขียนได้แล้วเอามาเผาจึงแข็งเหมือนหิน
@dearfillings8869
@dearfillings8869 2 жыл бұрын
#เมืองมาน ปัจจุบันกลายเป็นอ่างเก็บน้ำแม่มาน อ.สูงเม่น เด่นชัย จ.แพร่ kzbin.info/www/bejne/bWLNdqCKq9hknZY
@nuengjourney7669
@nuengjourney7669 Жыл бұрын
หลวก ปัจจุบัน คำเมืองล้านนา ยังใช้อยู่ เช่น หลวกง่าว แปลว่า โคตรเก่ง โคตรฉลาด
@NanajittangXbsp
@NanajittangXbsp 2 жыл бұрын
สวัสดีครับพี่ รบกวนสอบถามนิดนึงครับ พระลีลาที่พี่แขวนติดตัวอยู่เป็นพระอะไรครับขอชมใกล้ๆนะครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
พระร่วงหลังรางปืนครับ facebook.com/hoyapisak/photos/a.225052941217192/1844390142616789/?type=3
@NanajittangXbsp
@NanajittangXbsp 2 жыл бұрын
@@hoyapisak 😲👍👍👍👍ขอบพระคุณคร้าบน่ารักๆ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
@@NanajittangXbsp 🙏
@ปู่เหมิย
@ปู่เหมิย 2 жыл бұрын
สิ่งที่แปลกที่สุดคือ ทำไมไม่มีการสอนเรียนอักษรลายสือ แต่กลับมาสอนเรียนอักษรไทยกลางของพุทธศาสนาแบบปัจจุบัน...ทั้งๆที่มีคนเก่งอ่านได้ทั้งสี่ด้าน
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
สมัยก่อนก็มีการสอนในโรงเรียนนะครับ คุณกนกพร ที่เป็นแฟนรายการ ท่านก็ยังบอกเลย ส่วนการเรียนการสอนสมัยนี้ ครูบาอาจารย์หลายท่าน ก็ทำคลิปออกมาเยอะเลย ลายสือไท มันมีพัฒนาการจากสมัยพ่อขุนรามมาอีกหลายรูปแบบเลยครับ ถ้าเรียนระบบเดียวกับจารึกหลัก 1 ก็จะอ่านจารึกสมัยพรญาฤาไทไม่รู้เรื่องเหมือนกัน เพราะเขียนคนละระบบแล้ว
@ปู่เหมิย
@ปู่เหมิย 2 жыл бұрын
@@hoyapisak ความจริงอักษรที่เราเรียนในปัจจุบัน เป็นอักษรไทยกลาง ที่มีหลักฐานการประดิษฐ์ในยุคทวารวดี พรัอมกับอักษรลาว ในยุคสุโขทัย พ่อขุนรามแตง่อักษรเพิ่มเติมครบ44ตัวอักษรแล้ว และถูกบันทึกลับไว้ มีไช้เฉพาะพระสงฆ์และกษัตริย์... ร.6พระองค์ไช้แว่นขยายค้นหา จารึกหลักที่1เป็นรหัสลายแทง แฝงไว้ด้วยนัยยะมากมาย แต่ยังไม่ใครถอดรหัส...ปัจจุบันก็มีคนที่รู้ความจริง นำมาลงให้ดูในเฟสบุ๊ค...เป็นการบันทึกของพุทธศาสนา อยากให้ลองเข้าไปดู พิมพ์(กำเนิดอักษรไทย ลาว)ทีแรกผมก็ไม่เชื่อ ตามไปดูถึงที่ ต้องไช้แว่นขยายดูแบบ ร.6จริงๆ
@piphop198
@piphop198 2 жыл бұрын
สำเนียงการเรียกคำ คล้ายๆกับล้านนาอยู่มากครับ
@ณัฐวุฒิห้งเขียบ-ห1ค
@ณัฐวุฒิห้งเขียบ-ห1ค 2 жыл бұрын
@@ปู่เหมิย สมัยทวรวดีใช้อักษรปัลลาวะไม่ใช่หรอ
@ปู่เหมิย
@ปู่เหมิย 2 жыл бұрын
@@ณัฐวุฒิห้งเขียบ-ห1ค สมัยทวารวดี อักษรไทยกลางมีไช้ใน กลุ่มพระสงฆ์และกษัตริย์ ส่วนลายสือสังเกตุให้ดี เป็นการเขียนดัดแปลงจากอักษรไทยกลาง ผสมอักษรลาว จารึกก็ไม่ถึงยุคด้วยซ้ำไป
@ชูศักดิ์ศรีสิเชียรสมบัติ
@ชูศักดิ์ศรีสิเชียรสมบัติ 2 жыл бұрын
จารึกหินจะพิสูจน์อย่างไรว่าเป็นของจริง ชาวจ้วงในมณฑลกวางสี ภาษาไทยมาจากพ่อขุนรามคำแหงหรือไม่
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ภาษาของชาวจ้วงนั่นเป็นภาษาพูดครับ ของพ่อขุนรามเป็นภาษาเขียน เป็นตัวหนังสือ
@jeezjedpad5490
@jeezjedpad5490 2 жыл бұрын
เวียงจันทน์ได้เป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านช้างสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ไม่แน่ใจว่าสมัยสุโขทัยนั้น มีเมืองเวียงจันทน์อยู่หรือไม่ จึงตั้งข้อสังเกตว่าชื่อเมืองเวียงจันทน์เวียงคำในหลักศิลาจารึก อาจจะต้องพิจารณาซ้ำอีกครั้งครับ
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
เท่าที่ผมทราบ เขาเป็นเมืองโบราณมานานมาก มีหลักฐานเป็นอุปกรณ์ทำด้วยหินและเหล็ก แสดงว่ามีมนุษย์อาศัยอยู่ตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์แล้ว เหมือนกับ อ.บ้านด่านลานหอย ในสุโขทัย ก็มีหลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์เช่นกันครับ
@nophadolthongsrol3096
@nophadolthongsrol3096 2 жыл бұрын
ทำงานไปเรียนเพื่อรู้สึกดีครับ
@anusitpiturat6606
@anusitpiturat6606 2 жыл бұрын
อยากรู้ ลุมบาจาย
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
😁
@pichaisukarasoji7658
@pichaisukarasoji7658 2 жыл бұрын
จะ มา ปู เสื่อ รอ ครับ !
@hoyapisak
@hoyapisak 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@kittisakmeesiri
@kittisakmeesiri Жыл бұрын
จรลวง ชรลวง ออกเสียงเปนเขมร ว่า จรอ-ลวง จรอ-ลอง หรือ จระ-ลวง จระลอง ก็ได้
@ชัยรัฐอ่องคํา
@ชัยรัฐอ่องคํา 2 жыл бұрын
ใน ร.4 มีเรื่องราวเจ้ากรุงฝรั่ง ได้เข้ายึดอาณานิคม และได้สร้างศิลาจารึกพร้อมเรื่องราวขึ้นมา ส่งให้เจ้ากรุงฝรั่งอ่านเพื่อเป็นฐานยืนยันถึง อารยธรรมของเรา อันนี้จริงหรือเปล่าครับ แล้วอำนาจของสุโขทัยมันยังไม่ผ่านสุพรรณภูมิเลยไม่ใช่เหรอครับ พออ่านแล้วรู้สึกอกมันหักแบบ เจ็บๆ แปปๆอ่ะครับ
@pimphitchaya3083
@pimphitchaya3083 Жыл бұрын
จริงค่ะ ยืนยันได้จากนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ที่เค้านำหลักศิลาไปพิสูจน์ว่ามีอายุไม่เกินสองร้อยปีแน่นอน
@ชัยรัฐอ่องคํา
@ชัยรัฐอ่องคํา Жыл бұрын
@@pimphitchaya3083 ทุกคำถาม เราไตร่ตรองแล้ว ไม่ว่ามันจะ 200 ปี หรือก่อนหน้าไหน เราจะไม่สงสัย เราจะไม่ตามหา ความจริงใดๆ กับสิ่งนี้ เพราะความรักครับ ผมรักสิ่งนี้ รักไม่ต้องการคำอธิบาย วันนึงถ้าผมได้มีโอกาศไปยืนตรงหน้า หลักศิลาจารึกหลักที่ ๑.นี้ ผมจะสารภาพรัก กับมัน เหมือนพวกศิลป์ ทีหลงรัก ภาพวาด โมนาริซ่า วันนึงเค้าต้องไปยืนต่อหน้าภาพนั้นแล้วสารภาพกับมันว่าเราหลงรักมัน ส่วนผมรักก็คือรัก ไม่อยากได้คำอธิบายใด.
@noppawitsdad
@noppawitsdad Жыл бұрын
ขอดูหลักฐานหน่อยครับ
@nattysmile829
@nattysmile829 Жыл бұрын
แล้วสมัยร. 4 น่าจะใช้สำนวนคำพูดแบบไทยสมัยปัจจุบัน แต่ในศิลาจารึก ทำไมภาษาไทยจึงมีคำไทที่เหมือน ภาษาไทล้านนา หรือคำ ลาว เช่น คำว่า บ่ = ไม่ หลวก = ฉลาด หลวกเป็นภาษาเหนือล้านนา เถิง ก็เป็นคำที่ไทล้านนา ใช้เช่นกัน
1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 🙈⚽️
00:46
Celine Dept
Рет қаралды 49 МЛН
Trick-or-Treating in a Rush. Part 2
00:37
Daniel LaBelle
Рет қаралды 27 МЛН
Каха и лужа  #непосредственнокаха
00:15
СОБАКА ВЕРНУЛА ТАБАЛАПКИ😱#shorts
00:25
INNA SERG
Рет қаралды 2,2 МЛН
1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 🙈⚽️
00:46
Celine Dept
Рет қаралды 49 МЛН