No video

"การจัดสรรงบฯ" ปัจจัยสร้างความแตกต่าง ม.ราชภัฏ กับมหาวิทยาลัยอื่น | ตรงประเด็น | 15 ก.ย. 65

  Рет қаралды 16,728

Thai PBS

Thai PBS

Күн бұрын

Пікірлер: 48
@parist2395
@parist2395 Жыл бұрын
ก่อนวัดสกิวการทำงาน อย่าลืมว่า การเข้ามหาลัยดัง ๆ ได้ มันก็วัดอะไรได้หลายอย่างตั้งแต่ยังเรียนไม่จบ ตั้งแต่คะแนนสอบเข้า ยังไม่นับเรื่องการเรียนเพื่อจบออกมา
@samirasamilan2645
@samirasamilan2645 5 ай бұрын
คิดว่า ถ้า ม ราชภัฎ ลำปาง ได้งบ มากขึ้นแล้ว คุณสมบัติของ บัณฑิตที่ผลิดออกมา จะดีขึ้นกว่าเก่า หรือ เท่ากับ ม ที่คนอยากเข้าไปหรือครับ
@user-ey9eh4gy2o
@user-ey9eh4gy2o Жыл бұрын
ทางมหาลัยให้เด็กไปฝึกงานข้างนอกไม่มีค่ารถค่าอาหารให้เด็กไม่มีงบให้เด็กเลยนี่หรืออนาคตของชาติไมมีแสงสว่างที่ปลายอุโมงเรียนหนักจบ..ป.ตรีเงินเดือนหมื่นห้า.เรียนจบมาทำงานใช้หนี้.ก.ย.ส.ตั้งหลายแสนกว่าจะใช้หนี้หมดก็แก่มากแล้วนี่หรือวงจรชีวิต.ของเด็กไทยแล้วประเทศชาติจะเป็นอย่างไรต่อไปขอบ่นในถานะแม่ที่มีเรียนในมหาลัยเห็นใจลูกและเนื่อยมากๆคะ
@pongthe54
@pongthe54 Жыл бұрын
ต้องไปถามผู้ประกอบการครับ ถามประชาชนไม่ได้หรอเพราะไม่ใช้นายจ้าง
@robebkk5873
@robebkk5873 Жыл бұрын
ถ้านับจำนวนเด็กเป็นที่ตั้ง ราชภัฏต้องได้งบมากกว่า Harvard เพราะสัดส่วนเด็กต่ออาจารย์สูงมาก ๆ จริง ๆ บุคลากรราชภัฏน้อยกว่าและเด็กก็เยอะกว่า ก็ไม่น่าต้องการค่าใช้จ่ายเยอะ ส่วน Area-based นั้นอยากให้ดูโมเดลของเยอรมนี จังหวัดเป็นคนอุดหนุนมหาลัยท้องถิ่น ถ้ามหาลัยมีประโยชน์ต่อชุมชนจริง ๆ ชุมชนก็ควรใส่เงิน ส่วนมุมมองเจ้าของกิจการ SMEs ในไทยนั้นค่อนข้างแคบคือต้องการ minion ไม่ใช่ Enterpreneur
@puddingman2331
@puddingman2331 Жыл бұрын
สรุปง่าย ยุบราชภัฏ จบ
@raes1989
@raes1989 Жыл бұрын
ก็ยกฐานะ เป็นมหาวิทยาลัยให้เท่ากัน ไปเลย ทำไมต้องเป็น มหาวิทยาลัยราชภัฏ
@Narong_-ru5xv
@Narong_-ru5xv Жыл бұрын
จริง
@user-cu1nf5id2l
@user-cu1nf5id2l Жыл бұрын
ฐานะ มหาวิทยาลัย เท่ากัน ราชภัฎ เป็นแค่ชื่อ จะถามให้ถูกทางต้องไปถามนายจ้าง เอาตามความเป็นจริง ราชภัฎ งบประมาณก็ไม่น้อย แต่...การหารายได้ทางอื่น อาจจะสู้มหาวิทยาลัยอื่นไม่ได้ เช่น ธรรมศาสตร์ มีการให้เช่าหรือจัดสอบ หรือมหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้เช่าศูนย์ประชุมหรือจัดสอบ ประมาณนี้ ทำให้รายได้ส่วน ๆ ของราชภัฎไม่มากเท่าที่อื่น เพราะว่า รายได้ส่วนนี้จะเอาไปจ้างอาจารย์ จ้างบุคลลากร พัฒนาพื้นที่
@idzone1332
@idzone1332 Жыл бұрын
คำถามนิ น่าจะต้องไป ถาม HR หรือคนที่รับเข้าทำงานหรือเปล่า ? คำพูดกับการกระทำมันสวนทางกัน
@nantawatphetnamthongwattan2167
@nantawatphetnamthongwattan2167 Жыл бұрын
สกู๊ปนี้ดีมากๆๆ ชื่นชมีณะทำงาน มากๆ สู้ต่อไปครับ ทีมงาน เป็นกำลังใจให้ครับ
@Oudusp
@Oudusp Жыл бұрын
บางครั้งต้องมองย้อนกลับไป วัตถุประสงค์ในการตั้ง มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งเป็นมหาวิทยาลัย เฉพาะทางของเราก่อน นะครับ ว่า เป็นอย่างไร กับ ปัจจุบัน ที่ มหาวิทยาลัยฯ ต่างๆ เริ่มเปิดกว้างในสายงานทุกๆ ด้าน เป็น ตัวผลิตป้อนตลาดธุรกิจหลายๆ แขนง พร้อมกับ สร้าง Start up ในหมู่ มหาวิทยาลัยต่างๆ เช่นกัน ปัจจุบัน อัตราการเกิดของ คนไทยน้อยลงกว่าเมื่อก่อน และ ตลาดด้านการศึกษาเริ่ม มีการแข่งขันเยอะมากขึ้น รวมถึง มหาวิทยาลัย ต่างประเทศ เริ่มเข้ามาแย่งในส่วนนี้เช่นกัน ถ้า มหาวิทยาลัยไหนไม่ปรับต่าง หรือ เปลี่ยนแปลงเชื่อได้ว่า คงจะมีการปิดตัวแล้วละครับ สุดท้าย เรื่องภาษา ที่ 2-3 สำคัญ และการเปิด เป็น ตลาด อินเตอร์ นำเข้า นศ. ต่างประเทศ มาเรียน เช่นกัน ในส่วนจบไหน ไม่สำคัญแล้วครับ บางคน จบป.ตรี ราชภัฏฯ และไปจบ ป.โท - ป.เอก จุฬา มศว ธรรมศาาสตร์ หรือ เมืองนอกก็ได้ แล้วก็ยังไปสอน นศ. อินเตอร์ อีกต่างหาก ก็ได้ ไม่จำเป็นแล้ว ขึ้นอยู่กับ ปัจเจกบุคคลคนนั้น ครับ
@user-vw5ig6oo3m
@user-vw5ig6oo3m Жыл бұрын
ค่านิยมเรื่องสถาบันที่จบ ก็เกิดจากการที่รัฐไม่สามารถจัดการเรื่องคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพใกล้เคียงกันได้ ก็ต้องยอมรับว่า มหาวิทยาลัยดัง ๆ ในทุกวันนี้คุณภาพการเรียนการสอนดีกว่า งบประมาณที่ได้ในแต่ละปีก็มากกว่ามาก แถมบางมหาวิทยาลัยยังมีทรัพย์สินที่สามารถหาประโยชน์ได้อีกปีละหลายร้อยล้าน เลยทำให้คุณภาพการศึกษายิ่งต่างกันมากขึ้นไปอีก จริง ๆ คุณภาพการศึกษามันก็ต่างกันตั้งแต่ระดับอนุบาลแล้ว
@puddingman2331
@puddingman2331 Жыл бұрын
ไม่เคยจ้างพวกราชภัฏสินะ จ้างมา 5 คน ทำได้งานเดียว ไปจ้างเด็ก ม.ดัง 1คน ทำได้ 5 งาน
@user-vw5ig6oo3m
@user-vw5ig6oo3m Жыл бұрын
@@puddingman2331 อ่านให้ดี ๆ อ่านให้ครบ
@user-pe2xn8tf8s
@user-pe2xn8tf8s Жыл бұрын
อ่านครบแล้ว ก็ยังรู้สึกว่าคุณมีทัศนคติที่ไม่กว้าง เพราะถ้าหากมองกว้างจริงจะรู้ว่าราชภัฏเองก็ได้งบไม่น้อยเลย ปัจจัยมันอาจมีมากกว่าเงิน เช่น คุณภาพของเด็กที่รับเข้าศึกษา คุณภาพบุคลากร การบริหารจัดการระบบภายในของมหาวิทยาลัย อาจยิบย่อยไปจนถึงหลักสูตร และความเข้มของหลักสูตร การตัดเกรด คุณภาพของเกณฑ์ที่เด็กจะได้ เช่น A จุฬา กับ A ราชภัฏ ก็คุณภาพต่างกันแน่นอน
@balladamakia7319
@balladamakia7319 Жыл бұрын
Input เข้ามาก็ต่างแล้วนะ ดิฉันจะไปเรียนพิเศษมหาศาลทำไม เพื่อให้สอบเข้าม.ดีๆ ทำไม อ่ะ การเรียนการสอน facilities ก็ต่าง connection ก็ต่าง ถ้ามีโอกาสก็ไปม.ดีๆ เถอะ กว่าจะเป็นโครงสร้างสังคมได้มันอีกนานอ่ะ
@user-hz4pe9gp2z
@user-hz4pe9gp2z Жыл бұрын
อยากให้เท่าเทียมกัน 😔😔
@user-jh2li2pq8d
@user-jh2li2pq8d Жыл бұрын
งบเยอะ ที่โรงพยาบาล ของคณะแพทยศาสตร์ จะขุดข้อมูล ต้องลงลึก อย่าเอามานำเสนอผิวเผิน ให้คนเข้าใจผิด หมอกี่คนในโรงพยาบาล พยาบาลกี่คน เงินเดือนต้องกี่บาท มหิดล มี2 คณะแพทยศาสตร์ เลยโดดขึ้นมา
@thaihairband
@thaihairband Жыл бұрын
ถูกต้องเลย แค่รามากับศิริราชก็ต้องใช้งบมหาศาลแล้ว เข้าไปรักษาที่รามาธิบดีโห๋ ทั้งบุคลากรทั้งเครื่องมือ มากกว่าคณะทั่วๆไปเป็นสิบๆเท่า
@user-kn5rs5gk2q
@user-kn5rs5gk2q Жыл бұрын
ม รภ. ๔๐ แห่ง ได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลนัอยกว่า ม.ดังประมาณ ๑๓ เท่า ตั้งแต่ยุตวิทยาลัยครูแล้วครับกระผม
@artemisravenclaw5837
@artemisravenclaw5837 Жыл бұрын
ต้องยอมรับความจริงว่าตั้งแต่การรับนักศึกษาเข้าเรียน​ คุณภาพการจัดการเรียนการสอน​ รวมทั้งหลักสูตร​ บุคลากร​ของราชภัฏ​ คุณภาพต่ำกว่ามาตรฐาน​ ถ้าเทียบกับมหาวิทยาลัยอันดับต้นๆของประเทศ...หลายคนยังไม่ออกจากหลุมดำที่ว่าเรียนที่ไหนก็เหมือนกัน​ ซึ่งความจริงมันไม่ใช่อะ​ ต้องมองย้อนไปถึงระบบโครงสร้างที่ทำให้ราชภัฏไม่เป็นที่ต้องการของตลาด...อย่างคนที่จบครูราชภัฏกับครูที่จบจุฬา​ หรือมศว​ คุณภาพ​คือก็แตกต่างกันละ​
@polma9772
@polma9772 Жыл бұрын
จบใหม่สำคัญ แต่ ถ้ามีประสบการณ์ สัก 5 ปีขึ้นไป ควรพิจารณาที่ตรงกับสายงานที่ต้องใช้ มากกว่า ขึ้นอยู่กับกับผู้สัมภาษณ์ จะใช้ คำถามเจาะลึกที่สามารถดึงความรู้ความสามารถออกมาในขณะคุณกันได้หรือเปล่า
@wattewang9268
@wattewang9268 Жыл бұрын
มหาวิทยาลัยดังๆจะจ่ายเงินเดือนอาจารย์แพงมากๆและยอมดึงอาจารย์ต่างมหาฯโดยจ่ายให้แพงกว่า คุณธรรม จริยาธรรม ของอาจารย์ม.ดังๆจะอีโก้สูง และถ้าผู้นำเคยเรียนจบมาจะยิ่งสนับสนุนถือว่าผู้นำคนนั้นจะบริหารไม่เป็นชอบสร้างวาทกรรมมากกว่าการกระทำ
@user-cu1nf5id2l
@user-cu1nf5id2l Жыл бұрын
เอาตามความเป็นจริง ราชภัฎ งบประมาณก็ไม่น้อย แต่...การหารายได้ทางอื่น อาจจะสู้มหาวิทยาลัยอื่นไม่ได้ เช่น ธรรมศาสตร์ มีการให้เช่าหรือจัดสอบ หรือมหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้เช่าศูนย์ประชุมหรือจัดสอบ ประมาณนี้ ทำให้รายได้ส่วน ๆ ของราชภัฎไม่มากเท่าที่อื่น เพราะว่า รายได้ส่วนนี้จะเอาไปจ้างอาจารย์ จ้างบุคลลากร พัฒนาพื้นที่
@suotouhnnamicha5399
@suotouhnnamicha5399 Жыл бұрын
สอบเข้าม.รัฐให้ได้ก่อน
@soravityeeram2107
@soravityeeram2107 Жыл бұрын
ผมไปหาสมัคงานแถวภาคตะวันออกบอกตรงๆว่ายากมากเขาเอาราชภัฏไว้ท้ายๆจริงเจอมาแทบทุกคนแหละ
@jnt9848
@jnt9848 Жыл бұрын
ไม่มีคำว่าเท่าเทียม
@jnt9848
@jnt9848 Жыл бұрын
จากใจเด็กราชภัฏ
@raphiphatphatthana764
@raphiphatphatthana764 Жыл бұрын
ประชากรมันน้อย อินเทอร์เน็ตก็มี รัฐควรยุบรวม นะ เฉลี่ย2จังหวัด มีราชภัฏ 1แห่ง คือ เยอะไปไหม ?
@pica452
@pica452 Жыл бұрын
ผมอยู่ราชภัฏ เป็นนักเรียนของสาทิตม.ต้น แต่ไม่บอกนะว่าที่ไหน คติเพื่อนดูทรงแล้วอาการหนักอยู่ เค้าว่ากันว่าปล่อยๆมันเถอะ สอบตกหรือติดร.ไปก่อนแล้วค่อยแก้ทีหลัง ส่วนครูส่วนใหญ่เป็นนศ.ฝึกสอน เลยไม่ค่อยกล้าทำไรเด็ก ไม่กล้าให้0หรือร เด็กเลยติดนิสัยกัน เด็กเล่นเกมกันตอนครูสอนยังไม่กล้าเลย แต่เหมือนหลังๆจะดีขึ้นละ มหาลัยเริ่มเข้ามาคุมตั้งแต่ต้นเทอมของปี65แล้ว สงสัยพึ่งรู้ตัวว่าโรงเรียนตัวเองอาการหนักขนาดไหน😅😅
@infinity8078
@infinity8078 Жыл бұрын
เอาตรงๆมะ จัดงบให้มันเท่ากัน
@user-fn6ml5pv5i
@user-fn6ml5pv5i Жыл бұрын
ราชภัฎ คือ ม.สร้างครู คุณต้อง สร้างคนที่เข้มแข็ง เพราะครูต้องออกมาดูแลเด็กรุ่นต่อไปให้เป็นทรัพยากรบุคคลที่แข็งแรงและคุ้มค่าของประเทศ ให้เด็กในพื้นที่กลับมาดูแลท้องถิ่นตัวเอง จะดีที่สุด
@titiphasreearpai3194
@titiphasreearpai3194 Жыл бұрын
ขนาดขอไปฝึกงานบริษัทยังถามว่ามาจากมหาลัยไหน บอกมาจากราชภัฎยังไม่รับเลยค่ะ แบ่งแยกได้ชัดที่สุด
@007bkk5
@007bkk5 Жыл бұрын
ถ้าทุกสถาบันเท่ากัน การแข่งขันก็จะน้อยลง
@user-rj5qr9sh2d
@user-rj5qr9sh2d Жыл бұрын
ต่อให้เรียนสูงแค่ไหน แต่ถ้าจบมาไม่มีที่ทำงานรองรับก็สูญเปล่า ไทยควรมีแบรนเทคโนโลยีได้เเล้วนะ เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องมืออิเล็กทรอนิค รถยนต์ 3อย่างนี้ใช้พนักงานเยอะมาก แต่ไทยไม่มีแบรนไปเป็นลูกจ้างบริษัทต่างชาติได้ค่าแรงขั้นต่ำแถมไม่มีส่วนในการคิดค้นพัฒนากับเขา นี่แหละทำไมไืยค่าแรงต่ำ เพราะไม่มีสินค้าเทคโนโลยีไปทำเงิน มีแต่เทคโนโลยีนำเข้าต่างชาติมาโกยเงินบาทอยู่ฝ่ายเดียว แต่คนไทยทำเงินจากเขาได้เพียงน้อยนิก
@mdchy3473
@mdchy3473 Жыл бұрын
ราชภัฏเน้นพัฒนาท้องถิ่นแหละ แต่ยกตัวอย่างกรณีที่พบ ให้เด็กลงพื้นที่ไม่มีงบให้ เกิดข้อจำกัดหลายๆอย่าง ลงไปก็ทำได้แค่ผักชีโรยหน้า หรือไม่เป็นไปตามที่คิดไว้ในหลายๆเรื่อง
@isaraitarat9828
@isaraitarat9828 Жыл бұрын
หลักสูตร อุปกรณ์ อาจารย์ การคัดเลือกนักศึกษาที่แตกต่าง อยากถาม ธนาคารแห่งประเทศไทย กระทรวงต่างประเทศ ทูต ปูนซิดมนไทย รับ จบจากที่ไหน
@chanunpornu7589
@chanunpornu7589 Жыл бұрын
ความชอบความถนัดของแต่ละคนมันต่างกัน เปรียบเทียบไปทำไม จบมามีงานทำทำงานได้ดีก็พอ
@user-bn5ep5bw1x
@user-bn5ep5bw1x Жыл бұрын
อย่าว่าแต่ราชภัฏเลยครับ ขนาด เรียน มจพ แต่อยู่ฝั่ง วทอ หรือ มจพ วิทยาเขตยังบลูลี่กันเลย
@thaihairband
@thaihairband Жыл бұрын
เป็นทุกที่ครับ บางมดกับลาดกระบังก็เป็น สายต่อเนื่องโดนสาย ม ปลายเอนทรานส์มา เกทับบ่อยๆไป มหาลัยทั่วๆไปสายวิทย์ ก็บุลลี่สายสังคม สายศิลป์เพราะเรียนง่ายคะแนนสอบเข้าไม่สูง หรือแม้แต่สาขาเดียวกันภาคพิเศษกับภาคปรกติก็เบ่งใส่กัน คะแนนไม่สูงแต่กูรวยค่าเทอมแพง
@user-og9vb7no2i
@user-og9vb7no2i Жыл бұрын
เป็นไม่ได้เลยครับ
@finished2276
@finished2276 Жыл бұрын
กู
@007bkk5
@007bkk5 Жыл бұрын
ถ้าวัดที่ความสามารถราชพัดก็น้อยกว่าอยู่ดี
@cokesukrit
@cokesukrit Жыл бұрын
งบของมหิดลที่เยอะเพราะต้องมีค่าใช้จ่ายให้กับโรงพยาบาลศูนย์ถึงสองแห่งจึงไม่แปลกใจที่ได้รับงบประมาณมากกว่า
Meet the one boy from the Ronaldo edit in India
00:30
Younes Zarou
Рет қаралды 15 МЛН
Survive 100 Days In Nuclear Bunker, Win $500,000
32:21
MrBeast
Рет қаралды 160 МЛН
ISSEI & yellow girl 💛
00:33
ISSEI / いっせい
Рет қаралды 21 МЛН
Meet the one boy from the Ronaldo edit in India
00:30
Younes Zarou
Рет қаралды 15 МЛН