ปั๊มอัตโนมัติ แบบเสริมแรงดัน Boother pump 20151227

  Рет қаралды 261,330

khwan amd

khwan amd

Күн бұрын

Пікірлер: 139
@SupakitSaksaringkan
@SupakitSaksaringkan 7 жыл бұрын
เยี่ยมมาก เลยครับ ไม่ใช่แค่ทำได้ แต่มีความรู้ลึกซึ้ง นำทฤษฎีมาใช้ในงานปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม น่าชื่นชมจริง ๆ ขอบคุณอย่างสูงครับ
@Adisak8482
@Adisak8482 Ай бұрын
เปลี่ยนเพชเชอใหม่ต้องไล่อากาศออกให้น้ำเข้าไปแทนที่ไหมครับในท่อ pressure..
@khwanamd3640
@khwanamd3640 27 күн бұрын
ถูกต้องครับ. ต้องไม่ให้มีอากาศอยู่ในระบบท่อแรงดันของ Pressor ครับ คลายเกลียวหัวแฟร์ หรือนิปเปิ้ล ให้น้ำไล่อากาศออกจนหมด แล้วจึงขับล๊อคเกลียวของ Pressor Switch ให้แน่นครับ แล้วค่อยทำการปรับตั้งค่าแรงดันและค่า Dif ครับ
@รณธิชัยเดื่อกระโทก
@รณธิชัยเดื่อกระโทก 4 жыл бұрын
อธิบายดีมากคับ. แต่ผมก็ยังงงยุดี. เดียวจะตั้งจัยฟังอีกรอบ
@kasidissuansan3543
@kasidissuansan3543 8 ай бұрын
อยากทราบวิธีเชื่อมต่อ และติดตั้งถังเก็บน้ำครับ
@panompank.2282
@panompank.2282 8 жыл бұрын
ชัดเจน มีความรู้จริง สุดยอดครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 8 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@somphanyatal7568
@somphanyatal7568 8 жыл бұрын
Panompan K.
@pom9352
@pom9352 2 жыл бұрын
ตัวปั๊มทาง.บ.มจสั่งมาเข็มไม่ขึ้นเป็นที่ลมในถังหรือไม่ค่าตอนหนี้ลมในถัง=2"2ขีดแต่จะตั้งที่2บาใช่ปั้ม2ตัวปั้มไม่ตัดเลย2ตัวหตอล .
@นายนครินทร์สุขจักร์
@นายนครินทร์สุขจักร์ 3 жыл бұрын
สอบถามกน่อยครับpressure switch ใช้ตัวเดียวคุมการทำงานของ2ปั๊มเหรอครับแล้วกรณีที่ทำงานพร้อมกันใช้อุปกรณ์ตัวไหนสั่งครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 3 жыл бұрын
ใช่ครับ.. ใช้ตัวเดียวครับ ผมใช้เทคนิคของจังหวะเวลาในการทำงาน มาใช้ในการสั่งการทำงานร่วมกับ Pressure switch ครับ ทำให้ไม่ต้องสิ้นเปลือง Pressure switch เพิ่มครับ-ปรับตั้งค่าการทำงานง่ายไม่ยุ่งยาก และ Pressure switch ผมใช้เป็นแบบสามารถปรับค่า dif ได้อิสระ เพราะนั่นหมายถึงทำให้ ปรับตั้งค่าช่วง cut-in, cut-off ได้กว้างและเหมาะสมกับประสิทธิภาพของปั๊มน้ำได้ดีครับไม่ว่าจะเป็นปั๊มหอยโข่งรุ่นไหนๆ ก็ปรับตั้งได้ง่ายครับ จริงๆ แล้วเทคนิคอยู่ที่การออกแบบระบบควบคุมการทำงานครับ เพราะหากลองพิจารณาร่วมกับของที่เขาประกอบขายกันทั่วไปที่ใช้ Pressure switch 2 ตัว ส่วนใหญ่ถ้าช่างที่ไม่เข้าใจในระบบการทำงานของ Booster pump ถ้าปรับตั้งค่าของตัว Pressure switch ทั้ง 2 ตัวให้มีค่าความดันที่ไม่สัมพันธ์กัน ระบบก็จะทำงานไม่เป็นไปตามเงื่อนไขของ Booster pump ครับ แต่คนที่ไม่ทราบก็จะไม่รู้เลยว่าระบบมีการทำงานที่ไม่เป็นปกติ เห็นว่าทำงานได้ ก็จบ ประมาณนี้ครับ
@บลวง-ฦ6ซ
@บลวง-ฦ6ซ 2 жыл бұрын
ขออณุญาตสอบถามครับ.ปั๊มหอยโข่งน้ำเข้าจากท่อการประปา.ปั้มขึ้นตึก2ชั้นจำเป็นจะต้องใส่เช็ควาว์วหรื่อเปล่าครับ.เพราะตอนนี้ไม่ได้ใส่ทำไห้ต้องไล่ลมบ่อยเพราะน้ำปั้มไม่ขึ้นครับ.หรือเกิดจากสาเหตุอื่นคับ
@rtjl8310
@rtjl8310 2 жыл бұрын
ปั๊มที่หอพักตัดต่อถี่มากไม่รู้เกิดจากอะไรสียงดังมากเข้ามาในห้องพักเลย เกี่ยวกับที่เราไม่เคยเติมลมเข้าถังเลยหรือเปล่าคะ
@konnakhon2769
@konnakhon2769 6 жыл бұрын
สุดยอดคุนทำได้ ทั้งแสดงแล ะถ่ายทำ เหนื่อยหน่อยคัรบ
@nuntawutlankaew2502
@nuntawutlankaew2502 8 жыл бұрын
ดีครับ พูดจารู้เรื่องครับ อยากให้หาอะไรดีๆมาแชร์กันอีกครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 8 жыл бұрын
ครับมีเยอะครับ.. แต่บางอย่างยังแชร์ต่อสาธารณะชนไม่ได้ เพราะต้องนำไปจดสิทธิบัตรก่อนครับ ..ขอบคุณครับ
@perapongtoei6165
@perapongtoei6165 7 жыл бұрын
ระบบลูกลอย อยู่ดีๆวงจรมันก้ไม่ทำงาน มีไฟทั้งLทั้งNเปนพร้องอะไรคับ
@theerawatrodruk5062
@theerawatrodruk5062 4 жыл бұрын
ขอความรู้หน่อยคัพ ถ้าเราต้องการติดตั้งปั้มอัตโนแล้วใช้งานร่วมปั้มควบคุมแรงดันแบบมีขายทั่วไปจะใช้งานร่วมกันได้หรือไม่
@khwanamd3640
@khwanamd3640 4 жыл бұрын
อ่านคำถามแล้วยัง งง ๆ อยู่ครับ แต่จะพยายามตอบให้นะครับไม่ทราบว่า ผมเข้าใจคำถามที่ท่านถามมาถูกต้องหรือป่าว ปั๊มอัตโน ฯ (นี่หมายถึง Booster pump แบบในคลิปของผมหรือป่าว ครับ) ถ้าใช่ จะขอตอบว่า ถ้าใช้ปั๊มควบคุมแรงดัน 2 ตัวมาต่อให้ทำงานร่วมกันเพื่อใช้เป็น Booster pump ก็ สามารถทำได้ครับ แต่มีเทคนิคอยู่บ้างคือ 1. ขนาดและความสามารถในการจ่ายน้ำของปั๊มทั้ง 2 เครื่องต้องมีขนาดเท่ากัน 2. ต้องติดตั้งกล่องหรือตู้ควบคุมการทำงาน และยกเลิกสวิตช์ควบคุมความดันของปั๊มอัตโนมัติทั้ง 2 เครื่อง มาเป็นสวิตช์ความดันที่ สามารถปรับตั้งค่า Dif การทำงานได้อิสระ เพื่อให้ปั๊มอัตโนมัติทำงานแบบ Booster pump ได้ //*** หมายเหตุ ****// หากไม่แก้ไขตามข้อ 2 ปั๊มก็จะทำงานพร้อมกันและหยุดทำงาน ในจังหวะที่พร้อมกันหรือใกล้เคียงกันซึ่งจะไม่ต่างจากการติดตั้งปั๊มอัตโนมัติเครื่องเดียวเลยซึ่งใช้ปั๊มอัตโนมัติที่มีประสิทธิภาพการทำงานที่สูงกว่าจะดีกว่าครับ หรือหากจะใช้วิธีปรับตั้งค่า Cut-in, Cut-off ให้มีระดับทำงานต่างกัน โดยพฤติกรรมการใช้งานแล้ว ปั๊มอัตโนมัติตัวที่ถูกต้องให้มีจุด Cut-in สูงกว่าก็จะทำงานเพียงเครื่องเดียว และอีกปั๊มอัตโนมัติอีกเครื่องจะไม่ทำงาน หากมีการใช้น้ำในปริมาณน้อย ๆ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งก็ ไม่ต่างจากการติดตั้งปั๊มอัตโนมัติเครื่องเดียวเลย สิ้นเปลืองโดยเปล่าประโยชน์ครับ 3. การต่อท่อน้ำขาออก ให้ต่อขนานหรือต่อร่วมเข้าด้วยกัน แต่ท่อทางดูดของแต่ละเครื่อง ควรแยกอิสระซึ่งกันและกันและต้องมีขนาด ไม่น้อยกว่ามาตรฐานที่ระบุไว้กับเครื่อง หรือหากจะใช้ท่อทางดูดร่วมกัน ท่อทางดูดต้องมีขนาดหรือความสามารถในการส่งน้ำเข้าตัวปั๊มอัตโนมัติ ไม่น้อยกว่าความต้องการน้ำของทั้ง 2 เครื่องรวมกัน //*** หมายเหตุ ***// ไม่ทราบว่าในความเข้าใจในคำถามของผมจะถูกต้องตามคำถามของท่านหรือป่าวนะครับ ผมตอบมาตามความเข้าใจและสระสบการณ์ของผม แต่ทั้งนี้ในรูปแบบนี้ ตามที่ท่านถามผมคิดว่ายังไม่มีใครทำ แต่มันก็เป็นไปได้ที่จะนำมาต่อใช้งานร่วมกัน แต่ให้พิจารณาถึงจุดคุ้มทุนด้วยละกันว่าจะ เลือกแบบไหนดี ครับ ปล. ขอให้โชคดีและปลอดภัยครับ
@theerawatrodruk5062
@theerawatrodruk5062 4 жыл бұрын
ปั้มน้ำอัตโนมัติคัพและปั้มแรงดันนะคัพ
@attache6815
@attache6815 Жыл бұрын
ให้ปั้มหอยโข่งทำงานพร้อมกันสองตัว​ พร้อมกัน​ ช่วยอธิบายการต่อท่อทางดูดและทางออกได้ไหมครับ​ อยากให้น้ำสปริงเกอร์​แรงๆ
@เดือนเพ็ญนนทะวงษ์
@เดือนเพ็ญนนทะวงษ์ 4 жыл бұрын
ขอเรียนปรึกษาค่ะ เรามีรีสอรท 15 ห้อง ใช้ระบบน้ำบาดาล สูบขึ้นจากซัมเมิส เข้าถังพักล่าง แล้วใช้ปั้มสูบขค้นสู่ถังพักบนสูงประมาณ 10 เมตร แล้วปล่อยน้ำออกใช้ส่งไปยัง ห้องพัก ทั้ง 15 หลัง แต่มีปัญหาเวลาอาบน้ำฝักบัวผ่านเครื่องทำน้ำอุ่นไม้แรง ยากขอคำแนะนำในการแก้ปัญหาค่ะ
@NagaNongkhai
@NagaNongkhai 5 жыл бұрын
ใส่ยูเนี่ยนผิดตำแหน่งหรือเปล่าครับ? เวลาจะล้างถังหรือเปลี่ยนถัง ถอดยูเนียนออกน้ำก็ไหลมาจากที่อื่นออกตรงยูเนี่ยนสิครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 5 жыл бұрын
ครับขอบคุณครับ.. ใช่ครับ ผมใส่ผิดนะครับ.. มีคนท้วงติงแก้ไขมาแล้วครับในกระทู้ก่อนหน้าครับ..
@varamusik
@varamusik 2 жыл бұрын
ต้องการใช้กับ biggun ขนาด 2 นิ้ว มีรัศมีส่ง 48 เมตร เปิด 2 ตัวพร้อมกัน รดน้ำสนามฟุตบอล 11 คน ตัวโรงปั๊มและแหล่งน้ำอยู่ห่างจากสนามฟุตบอล 16 เมตร ท่อ main รอบสนามฟุตบอลขนาด 4 นิ้ว QV Valve 6 จุดอยากทราบว่าจะใช้ปั๊มขนาดเท่าไรใช้กี่ตัว รุ่นปั๊มอะไรครับ
@even7horizon881
@even7horizon881 Жыл бұрын
ตั้งค่าได้ไหมครับ แบบตั้งอย่าให้มันดังบ่อยครับ
@pungpung8474
@pungpung8474 Жыл бұрын
ถ้าเปิดแค่1ปั๊ม จะเป็นอะไรไมครับพี่
@khwanamd3640
@khwanamd3640 Жыл бұрын
เป็นครับ จะทำให้ประสิทธิภาพในการส่งน้ำลดลงไปครึ่งนึงครับ.. แต่ก็ยังทำงานได้ครับ เพราะออกแบบเผื่อไว้สำหรับกรณีปั้มเสียหาย.. แต่ยังคงใช้งานได้ 1 เครื่องครับ
@paophookao3241
@paophookao3241 5 жыл бұрын
ยอดเยี่ยมมากครับ ขอบคุณมากครับ
@OVNana
@OVNana 7 жыл бұрын
ชัดเชนตรับท่าน
@ธีระยุทธกุจะพันธ์-ต9บ
@ธีระยุทธกุจะพันธ์-ต9บ 2 жыл бұрын
ใช่ไฟกี่แอม
@gengzilla
@gengzilla 8 жыл бұрын
ที่ไร่ไฟฟ้าเข้าไม่ถึงครับ พอมีวิธีนำน้ำจากแม่น้ำมาใช้งานได้มั้ยครับ (ไร่ติดริมน้ำครับ) ระบบนี้สามารถแปลงใช้กับแผงโซล่าเซลล์ได้มั้ยครับ อยากทำโรงเรือนสำหรับเครื่องสูบน้ำแบบนี้บ้างเหมือนกันครับ แต่ไม่ค่อยได้กลับไปที่ไร่บ่อยกลัวโขมยจะเอาไปช่วยใช้ซะก่อน
@khwanamd3640
@khwanamd3640 8 жыл бұрын
หากเป็นพื้นที่ ที่มีนำ้ไหลตลอดเวลานะครับงัย ลองเข้าไปหาดูคลิป ภูมิปัญญาชาวบ้านเรื่อง เครื่องตะบันน้ำกับ , เครื่องพยาแร้งให้น้ำนะครับ.. ผมว่าน่าจะใช้กับพื้นที่ เราได้นะครับ.. แล้วค่อย มาหาทางต่อยอดกันอีกทีครับ...
@gengzilla
@gengzilla 8 жыл бұрын
ขอบคุณครับ....ไม่ทราบจะหาติดแบบนี้ต้องใช้งบประมาณเท่าไหร่ครับ
@สมปรารถนาฤทธิ์ใหญ่
@สมปรารถนาฤทธิ์ใหญ่ 6 жыл бұрын
พี่คับที่รีสอทใช้ระบบปั้มแรงดันเสริมแบบเดวกับพี่เลยใช้ปั้ม2ตัว..นำ้บ่อพักที่รีสอทบรรจุได้10000ลิตรห้องพักที่รีสอท10ห้องแต่ทำไมเวลาเปิดให้ปั้มทำงานใช้นำ้ได้แค่4..5ชั่วโมงนำ้ในบ่อพักก้อหมดแล้วคับเกิดจากสาเหตุใด..ตรวจเช็คท่อเดินนำ้รอบรีสอทแล้วก้อไม่มีรอยรั่วที่ไหนมันเกิดจากสาเหตุใดคับพี่
@jeabjeab733
@jeabjeab733 8 жыл бұрын
ขอไดอะแกรมวงจรได้ไหมครับ น่าสนใจมากครับ
@อนุรัตน์ทานาฤทัย
@อนุรัตน์ทานาฤทัย 3 жыл бұрын
ไฟขึ้นสีฟ้าคืออะไรครับ
@ทรรศสรวงพรมเหลือง-ล6ว
@ทรรศสรวงพรมเหลือง-ล6ว 5 жыл бұрын
สุดยอด ชัดเจน รับทำด้วยไหม และสั่งอุปกรณ์เหล่านี้ที่ไหนคะ
@phothongbenz1013
@phothongbenz1013 8 жыл бұрын
ถามไรหน่อยคับ การทำงานแบบนี้พอเปลี่ยนมอเตอร์แบบแรงกว่าเดิมไป1ตัวปรับแรงดันเพิมpressure switch ปั๊มกระตุกและก็ทริปไปต้องแก้ไขยังไงคับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 8 жыл бұрын
ครับ ตอบคำถามจากเหตุการณ์ที่คุณ Phothong Kemsuk ถามมา หมายเหตุ คำตอบนี้ผมตอบในกรณีที่การทำงานของระบบเป็นแบบเดียว กันกับที่ผมนำเสนอตามคลิปนะครับ การเพิ่มกำลังของมอเตอร์ปั๊มน้ำเพียงเครื่องเดียว (ไม่แน่ใจว่าเปลี่ยนแค่ มอเตอร์หรือว่าเปลี่ยนทั้งชุดปั๊มด้วยเลยนะครับ แต่ผมสันนิษฐานว่า น่าจะเป็น การเปลี่ยนทั้งมอเตอร์และขนาดปั๊มด้วยในคราเดียวกัน) และพร้อมกันนั้น ได้มีการปรับตั้งสวิตช์ความดันของระบบให้สูงขึ้นจะส่งผลดังนี้ 1 ในช่วงที่มอเตอร์ปั๊มตัวที่มีกำลังสูงกว่าทำงานจะทำให้มีความเร็วในการจ่าย น้ำเข้าระบบได้เร็วขึ้นกว่าชุดมอเตอร์ปั๊มตัวเดิม จึงให้การตัดการทำงานของสวิตช์ ความดันดัดการทำงานได้เร็วกว่าชุดมอเตอร์ปั๊มน้ำชุดเดิม นั่นคือสวิตช์ความดันตัดการ ทำงานได้เร็วขึ้น 2 เมื่อมอเตอร์ปั๊มน้ำมีประสิทธิภาพสูงขึ้นแน่นอนว่าต้องกินกระแสไฟฟ้ามากขึ้น (ในกรณีสภาวะที่มอเตอร์ปั๊มน้ำทำงานที่แรงดันไฟฟ้าของระบบคงที่หรือไฟไม่ตก) จะมีผลโดยตรงกับกระแสไฟฟ้าที่มอเตอร์ใช้งาน โดยจะมีปริมาณที่มากขึ้น ตามกำลังของมอเตอร์ ดังนั้นเราต้องทำการปรับตั้งค่าของพิกัดกระแสไฟฟ้าที่ อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน (Over-Load) ขึ้นตามโดยให้ค่ากระแสที่ปรับตั้ง ต้องมี ค่ามากกว่ากระแสที่มอเตอร์ปั๊มน้ำทำงานซึ่งไม่ใช่กระแสที่ Name Plate(กระแสพิกัด) หรือเราเรียกกันว่ากระแส Run Motor (IRA) ที่ 125% แต่อย่าลืมคำนวณกระแสไฟฟ้า ใช้งานรวมด้วยว่าที่ AT ของเมนเบรคเกอร์สามารถรองรับปริมาณกระแสไฟฟ้าที่มอเตอร์ ใช้งานทั้งระบบได้หรือไม่ หากค่า AT มีเพียงพอต่อการทำงานทั้งระบบ จะทำให้ เบรคเกอร์ ตัดการวงจรไฟฟ้าได้เช่นกัน โดยเราจะคำนวณค่า AT จากพิกัดกระแสของมอเตอร์ทั้ง 2 เครื่องรวม กัน แล้วคูนด้วย 125% ซึ่งจะได้ค่ากระแสของ AT ของเบรคเกอร์ที่ใช้งาน 3 กรณีที่แรงดันไฟฟ้าใช้งานไม่ปกติ (แรงดันไฟฟ้าตกขณะมอเตอร์ปั๊มน้ำทำงาน) จะส่งผลให้ มอเตอร์ กินกระแสไฟฟ้ามากขึ้นกว่าปกติ ตามสมการกำลังงานไฟฟ้า (P=E x I x PF : ในระบบ Single Phase 220-230 V. และ P=1.732 x E x I x PF : ในระบบ 3 Phase 380-415V.) เมื่อพิจรณาจากสมการ ทั้ง 2 ระบบ จะเห็นว่า เมื่องแรงดันไฟฟ้าลดลงหรือไฟตก สิ่งที่เปลี่ยนแปลงในระบบคือ ค่าของ (I) กระแสไฟฟ้า จะสูงขึ้น เพราะ P, และ PF ของมอเตอร์จะเป็นค่าคงตัวของมอเตอร์ แต่ละตัวจึงทำให้ มอเตอร์กินกระแสไฟฟ้ามากขึ้น จนในบางครั้งอาจทำให้ขดลวดของมอเตอร์ไหม้ได้ ถ้าแรงดันไฟฟ้าตกมากๆ จึงส่งผลต่อนเนื่องไปยังอุปกรณ์ป้องกันต่างๆ เช่น Over-Load หรือ เซอร์กิตเบรคเกอร์จะตัดการทำงานของวงจรไฟฟ้าเมื่อกระแสไฟฟ้าเกิน 4 การปรับตั้งค่าการตัดแรงดันน้ำของระบบให้สูงขึ้นจะส่งผลให้มอเตอร์ปั๊มน้ำตัวที่มีประสิทธิภาพ ต่ำกว่ามอเตอร์ปั๊มน้ำตัวใหม่ ทำงานหนักขึ้นกว่าเดิมหรือทำงานนานกว่าเดิม จึงทำให้ไม่เป็นผลดี ต่อการทำงานของมอเตอร์ในรูปแบบของ Bother Pump เลย จึงไม่ควรกระทำอย่างยิ่ง ที่จะใช้มอเตอร์ปั๊มน้ำที่มีประสิทธิภาพต่างกัน... ให้ทำงานร่วมกัน หวังว่าคงได้ความรู้กันไปบ้างไม่มากก็น้อยนะครับหากใครอ่านกระทู้นี้แล้วมีส่วนหนี่งส่วนใด ที่ขาดตกหรือผิดพร่องไปให้ช่วยเพิ่มเติมและแก้ไข หรือชี้แนะสิ่งที่ถูกต้องให้ด้วยนะครับขอบ พระคุณครับ ปล. ทักษะและประสบการณ์ + ความรู้ทางวิชาการ จะช่วยให้เรามองเห็นปัญหาและผลกระทบ ที่ตามมา ได้ในอนาคต ดังนั้นควรที่จะศึกษาและใช้งานควบคู่กันนะครับ อย่ามั่นใจในประสบ การณ์มากเกินไปจนลืมทฤษฎีความรู้ทางวิชาการนะครับ นั่นจะทำให้เราเป็นคนประมาท และ พึงระลึกไว้เสมอว่า สิ่งที่เราเรียนรู้หรือปฎิบัติจนเกิดความชำนาญ นั้นมีคนเขาได้ทดลองทำ และพิสูจน์ให้เห็นจริงทั้งในเชิงประจักในทางปฎิบัติและวิชาการมาแล้วทั้งนั้น ดีใจที่ยังมีคนไว้ใจและสนใจในสิ่งที่ผมนำเสนอ และยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะแชร์ความรู้ที่ได้เรียนมา และแชร์ประสบการณ์ให้ได้รับรู้กัน แชร์กันเพื่อก่อมิได้เพื่ออวดอ้างหรืออวดเก่ง... ซึ่งคนที่เก่งกว่าผมก็มีอีกเยอะ.... อย่างไรในบางสิ่งบางเรื่องที่ผมไม่รู้หรือรู้น้อยกว่า ก็รบกวนแนะนำกันบ้างนะครับ.. ยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะรับฟังและมาพิจารณาร่วมกันครับ... ขอบพระคุณครับ
@วุฒิไกรชัยมาลา-จ9ฃ
@วุฒิไกรชัยมาลา-จ9ฃ 5 жыл бұрын
อยากให้สอนกานต่อวงจรครับ
@เดชยากรณ์ประทุมกุล
@เดชยากรณ์ประทุมกุล Жыл бұрын
ออฟฟิตผม.ยี่ห้ออะไรไม่รู้ ยังไม่ถึงปี มีแต่ปัญหา เครื่องทำงานไม่หยุด แต่น้ำไม่ไหล.ปั๊มร้อน.วันก่อนช่างถอดมอเตอร์ไปซ่อม.เอามาติดตั้งใหม่ ก็เจอปัญหาเดิมๆ
@yussreehenglohmae1649
@yussreehenglohmae1649 7 жыл бұрын
ถ้าถังสีน้ำเงินรั่ว ซ่อมได้ป่าว
@khwanamd3640
@khwanamd3640 4 жыл бұрын
ซ่อมไม่น่าคุ้มนะครับถ้าเป็นถังแบบเดียวกัน เพราะการรั่วส่วนใหญ่เกิดจากสนิมน้ำครับ
@น้องมิวสิคอุรัสยา
@น้องมิวสิคอุรัสยา 8 жыл бұрын
ที่บ้านพักผมปรัปไป Aแล้วไม่ทำงานแต่ปรัปMทำงานเป็นเพราะอะไรครับก่อนหน้านี้ใช้ได้
@khwanamd3640
@khwanamd3640 8 жыл бұрын
ผมไม่รู้ว่าระบบของคุณเป็นแบบไหนนะ แต่หากว่าการทำงาน คล้ายๆ กัน.. ลองให้ตรวจสอบดังนี้ครับ 1. ตรวจสอบที่หน้า คอนแทกของสวิตข์ความดัน ว่าเป็นปกติหรือป่าว 2. ตรวจสอบสวัติหรืออุปกรณ์ที่สั่งการตัดการทำงานอันเนื่องมาจาก ระดับน้ำต่ำกว่าระดับที่ตั้งไว้ ว่ายังคงทำงานเป็นปกติหรือไม่ เป็นเพียงแนวปฏิบัติเบื้องต้นเท่านั้น เนื่องจากการออกแบบวงจรควบคุมการทำงานของแต่ละบุคคลจะไม่เหมือนกัน.. อย่างไรก็ลองตรวจสอบ ดูในเบื้องต้นตามนี้ก่อนละกันครับ
@น้องมิวสิคอุรัสยา
@น้องมิวสิคอุรัสยา 8 жыл бұрын
ขอบคุณมากๆครับ
@อภิชาติกองทัพไทย
@อภิชาติกองทัพไทย 6 жыл бұрын
ขออนุญาติสอบถามครับ จำเป็นไหมครับ ที่บูลเตอร์ปั้ม ต้องใช้ เช็ควาล์วแบบสปริงเท่านั้น ถ้าใช้เช็ควาล์วแบบสวิงจะมีผู้ต่อการใช้งานไหมครับ ## ขอบคุณครับ ##
@khwanamd3640
@khwanamd3640 4 жыл бұрын
ต้องขอโทษครับที่พึ่งเข้ามาอ่านไม่รู้ว่าตอบตอนนี้ทันหรือป่าว จากคำถาม-ตรงนี้ก็ไม่มีบอกในตำรานะครับ แต่ผมจะขอตอบจากประสบการและความรู้ทางวิชาการที่มีอยู่ เพื่อท่านจะได้ลองพิจารณาถึงเหตุผลและความเป็นไปได้ครับ จริงแล้วถ้าพิจารณาถึงหลักการและวิธีการทำงานของ Check vlave ทั้ง 2 แบบ เมื่อเรานำมาประกอบเข้าระบบให้ทำงานร่วมกัน กรณีที่ 1 Check vlave เป็นแบบ Vlave Spling - เมื่อแรงดันน้ำจากปั๊มน้ำดันเข้าสู่ระบบในช่วงเริ่มต้นที่มีแรงดัน้ำต่ำ Check Vlave จะเปิดสุดและค่อยๆ หรี่ vlave ลงเมื่อแรงดันน้ำที่ดันเข้าระบบกับในระบบใกล้เครียงกัน หรืออาจปิดแบบทันทีทันใดเมื่อสวิตช์ความดันสั่งตัดการทำงาน เมื่อปั๊มหยุดทำงาน ดังนั้นลิ้นวาวล์จะมีแรงกระทำ อนู่ 2 ส่วนคือ แรงจากแรงดันน้ำภายในระบบ+แรงดันของ spling แต่แรงดันกลับของแรงดันน้ำในระบบจะไม่มีผบมากนักเพราะลิ้น Vlave จะถูกหรี่ลงไปก่อนหน้าในขณะที่แรงดันน้ำจากปั๊มใกล้เคียงกับแรงดันน้ำในระบบ จึงทำให้การสึกหรอหรือการเกิดความเสียหายจากแรงกระทำนี้มีน้อย ในกรณีที่ 2 check vlave แบบ swing(ลิ้นผีเสื้อ) ซึ่ง check vlave แบบนี้จะอาศัย แรงดันน้ำ+แรงจากน้ำหนักของลิ้น vlave ในตัวมันเอง (ต้องติดตั้งในแนวดิ่งเท่านั้นและทิศทางน้ำออกต้องอยู่ด้านบนเสมอ) หากพิจารณาจังหวะการทำงานแบบในกรณีที่ 1 แล้ว เมื่อปั๊มหยุดการทำงาน จากบิ้น vlave เปิด 100% ตลอดที่มีมวลน้ำไหลผ่าน และถูกปิดลงสนิทแบบทันทีทันใดด้วยแรงดันน้ำภายในระบบ ที่รุนแรงทุกๆ ครั้งไป ชึ่งจะเป็นเหตุนึงที่ทำให้ swing check vlave ชำรุดและเสียหายอยู่บ่อยครั้ง ส่วนตัวผมคิดว่าจำเป็นครับที่ต้องใช้ check vlave แบบ มี spling กับงานระบบ Booster pump เสมอไปครับ จากการวิเคราะห์การทำงานของ vlave ทั้ง 2 แบบ น่าจะพอเป็นข้อมูลในคำถามของท่านได้ไม่มากก็น้อยนะครับ ถ้าผิดถูกอย่างไรต้องขออภัยด้วยครับ ขอบคุณอีกครั้งที่รับชมครับผม....
@muhammadaruwan5057
@muhammadaruwan5057 8 жыл бұрын
อยากดูการติดตัง ออโมีติก ระบบเปิดปิด โรงเพาะเห็ด
@nareeratcharoennaphatsakul5814
@nareeratcharoennaphatsakul5814 7 жыл бұрын
muhammad aruwan ทะใำมำฃ พี่ลู่
@บัณฑิตพาวงศ์-ค1ฒ
@บัณฑิตพาวงศ์-ค1ฒ 6 жыл бұрын
รวมค่าก่อสร้างทำเท่าไรลูกเพ่
@akawitpanutai4809
@akawitpanutai4809 8 жыл бұрын
เทปพันเกลียว ที่เหมาะกับงานแรงดันสูงๆแบบนี้ ใช้ยี่ห้อไหนดีคับ ผมเจอปัญหาน้ำซึมออกมาเป็นหยดๆ พันหลายรอบก็ไม่หาย
@khwanamd3640
@khwanamd3640 8 жыл бұрын
ผมใช้เทปพันเกลียวแบบธรรมดา แต่ใช้งานร่วมกับ เชื่อกฝ้าย+น้ำยาทาเกลียวท่อ (Permatex) ทาก่อนพันเชือกฝ้ายและทา permatex ซ้ำอีกชั้นชางๆ ก่อนพันทับด้วยเทปพันเกลียวทั่วไป หลังจากนั้น ทาทับด้วย permatex บางๆ ก่อนอัดเกลียวอีกทีครับ ขั่นตอนเยอะหน่อยแต่เอาอยู่ครับ / ปริมาณการพันก็ไม่สามารถช่วยได้เสมอไปกับงานแรงดันสูง ต้องใช้เทคนิคการพันและการขันอัดเข้าช่วยครับ
@akawitpanutai4809
@akawitpanutai4809 8 жыл бұрын
ขอบพระคุณคับพี่ สำหรับคำแนะนำดีๆคับผม ,,
@thidarutgawsawang
@thidarutgawsawang 8 жыл бұрын
เยี่ยมมาเลยครับพี่ สนใจครับต้องทำยังไง แต่ดูแล้วคงจะแพงน่าดู อยากได้มาใช้ครับต้องทำอย่างไรพี่รับออบแบบหรือประกอบชุดให้ไหมครับ แล้วจะติดต่อพี่ได้อย่างไร หมายถึงทางโทรศัพท์ครับอยากขอคำแนะนำครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 8 жыл бұрын
+สอ.หนองเรือ ตำบลหนองเรือ ครับติดต่อกลับที่เบอร์โทรตามในคลิปเลยนะครับ.. 089-6440658 ครับ หากจะสั่งประกอบก็ได้ครับ ผมทำให้ได้ ครับ.. แต่บอกไว้ก่อนนะครับ ปกติผมทำงานประจำอยู่แล้วครับ.. งานผมจะช้าหน่อยครับ เพราะจะอาศัยช่วงเย็นหลังเลิกงานหรือว่าวันหยุดนะครับ ทำจะทำงานเสริมพวกนี้ครับ..ส่วนเรื่องราคา เรามาคุยเรื่องความจำเป็นในการใช้งาน ก่อนดีกว่าไหมครับ เผื่อผมจะแนะนำหรือปรับลดอะไรลงบ้างก็ได้ เพราะว่า ในคลิปนี้ เป็นระบบส่งน้ำที่มีการใช้น้ำจำนวนมากครับ ราคาข้อนข้างสูงครับ..ยินดีให้คำแนะนำครับ
@thanapameesit2634
@thanapameesit2634 8 жыл бұрын
ก่อนเข้าถังแรงดันเปนสแตนเนอรหรือเชควาล้วคับ
@รัชพลสีลํา-ณ1ฝ
@รัชพลสีลํา-ณ1ฝ 6 жыл бұрын
ผมขอวงจรเพรสเซอร์ปั๊มสั่งมอเตอร์ปั๊มหน่อยได้มั๊ยครับ
@diyby9112
@diyby9112 7 жыл бұрын
เยี่ยมมากครับ อยากทำแต่ไม่มีไฟฟ้าใช้เครื่องปั่นไฟได้ไหมครับ ผมมีสองเครื่อง 2.3kw 5.5kw ได้ไหมครับ😊
@teemnattrom8612
@teemnattrom8612 7 жыл бұрын
ขอวงจรคอนโทรลได้ไหมครับ
@กุดจี่พเนจร-บ5จ
@กุดจี่พเนจร-บ5จ 8 жыл бұрын
เยี่ยมเลยอ่ะ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 8 жыл бұрын
+กุดจี่ พเนจร ขอบคุณครับ แต่จะมีพัฒนาต่อครับในส่วนเรื่องของระบบควบคุม ครับ จะมีฟังก์ชั่นของการทำงานที่ซับซ้อนขึ้นและปลอดภัยกับอุปกรณ์ใช้งานมากขึ้นครับ สำหรับชุดนี้ผมได้เพิ่มอุปกรณ์ตั้งเวลา เข้าไป ให้มีการทำงานในช่วงเวลาที่ต้องการ เรียบร้อยแล้วครับ
@mmaaoonn
@mmaaoonn 6 жыл бұрын
ใช้สวิสลูกลอยแบบไหนครับของผมใช้กับปั้ม2แรงสวิสพังบ่อย เหมือนจะร้อนจนละลาย
@khwanamd3640
@khwanamd3640 5 жыл бұрын
ครับผมใช้เป็นแบบลูกลอยแบบปิดสนิทครับ (ลูกลอยสีฟ้า ) แต่ว่าผมไม่ได้ต่อเข้ากับปั๊มโดยตรงนะครับ เพราะหน้า contac รับกระแสของมอเตอร์ปั๊มไม่ไหวผมใช้ควบคุม magnetic ครับที่จ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับ pump ครับ ถ้าของท่านใช้วิธีเดียวกันกับผมในการควบคุม แต่ยังเจอปัญหาหน้า contac ยังร้อนและไหม้อยู่ ให้ตรวจสอบระบบสายควบคุมเลยครับ อาจมีการรั่วลงดินแน่นอนครับ หรือบางทีอาจมีอุปกรณ์ควบคุมที่เกี่ยวข้องในระบบลัดวงจรอยู่ ก็เป็นได้ครับ
@sunkool2713
@sunkool2713 6 жыл бұрын
ราคารวมแบบนี้เท่าไรครับ
@TOOCHA
@TOOCHA 6 жыл бұрын
ที่ทำงานผม มีระบบการทำงานเหมือนของพี่เลยครับ แต่มีปัญหาน้ำไหลเบา เกิดจากอะไร แก้ปัญหายังไงได้บ้างครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 6 жыл бұрын
ครับ ต้องถามก่อนว่าง ครั้งที่ติดตั้งในครั้งแรก ระบบน้ำยังแรง และใช้งานได้ ดีอยู่ใช่หรือป่าวครับ (ถ้าเป็นอย่างที่ผมคิดนะครับ) ถ้านานๆ ไป แรงดันน้ำเริ่มลดลง กว่าปกติ ( ไม่รวมถึงการต่อท่อใช้น้ำในระบบเพิ่มเติมจากเดิมที่ได้ทำระบบไว้ และ Booster pump ดูดน้่ำจากแหล่งน้ำสะอาดผ่านการกรอง ) ปัญหาส่วนใหญ่ จะเป็นแบบนี้ ครับ 1. ให้ตรวจสอบปริมาณของแรงดันลมหรือแรงดันอากาศที่อยู่ภายในถังไฮดอไลน์ (ถังลม) ว่ามีอยู่ในระบบหรือไม่ และต้องมีแรงดันของอากาศ ภายในถังที่น้อยกว่าแรงดันของน้ำในระบบ ที่ประมาณ 0.2 bar ครับ บางทีแรงดันภายในถังอาจน้อยเกิินไป , หรือถุงเมนเบนอาจแตกเสียหายไปแล้วก็ได้ครับ ต้องเปลี่ยนครับ 2. ตรวจสอบดูว่า มีการอุดตันของตระกอนน้ำที่ลิ้นวาวล์ผีเสื้อก่อนเข้าถังไฮดอไลน์ หรือไม่ เพราะถ้าใช้งานไปนานๆ อาจเกิดตระกรันของสนิมน้ำได้ครับ 3. ตรวจสอบดูชุด Foot valve (หัวกระโหลกท่อดูด) มีการอุดตันจากสิ่งปฏิกูลหรือนิมของน้ำ หรือไม่ ทำให้ ปั๊มน้ำดึงน้ำได้ไม้เต็มประสิทธิภาพครับ (กรณีสูบน้ำจากถังเก็บที่อยู่ต้ำกว่าระดับ booster pump) 4. ตรวจสอบที่สวิตช์แรงดันของระบบ ว่า มีการปรับตั้งค่าแรงดัน 5. กรณีออกแบบหรือเลือก Pump ไม่เหมาะสมครับ เป็นอีกประเด็นคือเลือกชุด booster pump ใช้งานไม่เหมาะสมกับการใช้น้ำ หรือ วางระบบท่อน้ำไม่เหมาะสมต่อการใช้งาน ให้พิจารณาดังนี้ครับ 5.1 ให้ต่อประสิทธิภาพของ booster pump ว่ามีอัตรากำลังในการจ่ายมวลน้ำสูงสุดเท่าไหร่ 5.2 ให้ดูขนาดของเส้นท่อเมนประธานที่ได้ออกแบบระบบไว้ขนาดเท่าไหร่ (ให้เปิดดูตารางมาตรฐานของท่อน้ำที่ยอมให้น้ำไหลผ่านในเส้นท่อ) 5.3 พิจรณาการใช้มวลน้ำสูงสุดที่ใช้งาน (ถ้าเป็นบ้านหรือห้องพักอาศัย ผมจะคำนวณที่ 65-70% ของความต้องการใช้น้ำทั้งหมดของระบบ) 5.4 น้ำข้อมูลในข้อ 5.1-5.2 และ 5.3 มาเปรียบเทียบกัน แล้วเราจะได้คำตอบว่า ปัญหาน้ำไม่แรงเกิดจากจุดไหนครับ สำหรับคำแนะนำผมจะประมาณนี้ครับ เพราะไม่เห็นหน้างานเนาะ ผมก็ วิเคราะห์ไปตามประสบการณ์นะครับ ขอให้แก้ไขปัญหานี้ได้นะครับ ปล. ขอบคุณที่ติิดตามผลงานครับ
@naponchiangsapant8643
@naponchiangsapant8643 8 жыл бұрын
พี่ใช้ cap กี่ uf กี่ v ครับแล้วต่อช่วงไหนต่อคาไว้หรือเฉพาะตัวป้ำทำงานครับ และเป็น cap แบบที่อยู่ในคอมแอร์หรือเปล่า ขอบคุณล่วงหน้าครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 8 жыл бұрын
ครับ ผมต่อ ขนาน คาไว้กับมอเตอร์เลยครับ ส่วนขนาดแรงดันไฟฟ้าที่ Cab ต้องสามารถทนแรงดันไฟฟ้าของระบบได้ครับ ที่ผมใช้คือ 450V.AC ส่วนค่าของ uF ของ Cab ต้องคำนวณเอาครับเพราะว่ามอเตอร์แต่ละตัวจะมีขนาดของแรงม้า และค่า PF ไม่เหมือนกันครับ ต้องคำนวณให้เหมาะสม หลักในการคำนวณคือ หาค่ามุมของตัวประกอบกำลังของมอเตอร์ที่เราจะทำการปรับปรุง โดยหาผลต่างระหว่างมุม PF เดิมกับ มุม PF ใหม่ เพื่อเอาผลต่างของมุมที่ได้มาหาค่า Q = reactive power ( var ) ซึ่งค่า Q หาได้จาก Q= P( tan⁡ ∅_1-tan⁡ ∅_2) แล้วจึงจะนำค่า Q ไปคำนวณหา ค่าความต้านทานในตัว Cab นั่นคือค่า Xc เมื่อได้ค่า Xc แล้วเราจึงจะนำค่าที่ได้มาคำนวณหาค่าของ คาร์ปาซิสเตอร์อีกทีครับ สามารถหาค่าคาร์ปาได้จากสูตร C= 1/(2π .f.Xc ) ครับ การใส่ค่าคาร์ปาที่ไม่เหมาะสม จะทำให้เป็นการลดประสิทธิภาพของมอเตอร์ลง นะครับ ทุกอย่างต้องใช้การคำนวณเอาครับ
@หนุ่มเมืองมหา-ฃ7อ
@หนุ่มเมืองมหา-ฃ7อ 8 жыл бұрын
สุดยอดครับ
@perapongtoei6165
@perapongtoei6165 7 жыл бұрын
น้ำล้นแล้วแต่ปั้มน้ำไม่หยุดทำงาน เปนเพราะอะไรคับท่าน ปะปาหมู่บ้าน
@khwanamd3640
@khwanamd3640 7 жыл бұрын
Perapong Toei ตรวจสอบชุดตรวจวัดระดับน้ำที่เป็นตัวสั่งหยุดทำงานก่อนเลยครับ ซึ่งผู้ออกแบบอาจจะใช้อุปกรณ์ที่แตกต่างกันไปแต่ที่เหมือนกันคือเป็นส่วนที่สั่งให้ปั้มน้ำทำงานหรือหยุดทำงาน เมื่อน้ำถึงระดับที่ต้องการครับ โดยเจ้าตัวสั่งการทำงานมีดังนี้ ลองดูว่าของท่านเป็นแบบใด 1. สวิตช์ลูกลอยแบบตุ้มถ่วง 2 ลูก ให้ตรวจสอบที่ตัวลิมิตสวิตช์ว่ายังตงสภาพใช้งานดีหรือไม่ 2. สวิตลูกลอยแบบปิดสนิท (ลูกลอยสีฟ้า)ที่ใช้จุ่มอยู่ในถังน้ำตลอดเวลาและมีตุ้มถ่วงสีเหลืองเป็นจุด set point ให้ตรวจลอบดูว่าลูกลอยอยู่ในสภาวะลอยตัวอิสระภายในถังน้ำหรือไม่หรือบางทีหน้า contac ภายในตัวสวิตย์ลูกลอยอาจจะ arc ติดกันอันเนื่องจากการลัดวงจรในส่วนภาค control อาจเป็นได้ /ประเด็นนี้เกิดขึ้นน้อยครับ 3. หากเป็น แท่งอิเลตโถด ให้ตรวจสอบความสกปรกจากสนิมน้ำของแท่งวัดระดับน้ำถ้าสกปรกมาให้เช็ดทำความสะอาดเพราะอาจทำให้การสั่งงานผิดพลาดได้ หรืออาจจะเป็นที่ส่วนตัวควบคุมอิเลคทรอนิกส์ในชุดอิเลคโถดอาจเสียหายก็ได้ลองตรวจสอบดู 4. กรณีใช้สวิตช์ความดันเป็นตัวสั่งตัด(ส่วนใหญ่จะใช้กับหอส่งน้ำหรือถังแชมเปญ) สวิตช์ความดันอาจมีปัญหาลองตรวจสอบดูครับ 5. เกือบท้ายที่สุดให้ดูที่ magnetic ที่สั่งงานของมอเตอร์ปั้มในตัวที่มีปัญหาครับว่ามีเศษอะไรไปติดขัดระบบ macanic ที่ทำให้ทำงานค้างหรือป่าวหรืออาจจะหน้า contac ของ magnetic ละลายติดกันก็เป็นได้ครับ / กรณีนี้จะเกิดจากการ overload หรือ short circuit อย่างรุนแรงครับ 6. ท้ายที่สุดอย่าลืมตรวจดูสาย control ของชุดสวิตช์พวกนี้ด้วยอาจมีการลัดวงจรภายในท่อก็เป็นได้ส่วนใหญ่จะเจอในระบบที่เดินสายด้วยท่อ emt ครับ ลองตรวจสอบดูครับเพราะไม่รู้ว่าระบบท่านใช้สวิตแบบใดเป็นตัวควบคุมเลยตอบแบบกว้างๆนะครับ
@perapongtoei6165
@perapongtoei6165 7 жыл бұрын
ขอบคุณมากๆเลยคับท่านเจอแล้วคับ สายลูกลอยมันช็อตกันคับ
@อาทิตย์มีนทะระ
@อาทิตย์มีนทะระ 7 жыл бұрын
ขอถามครับ ถังลมของผมไม่มีลมจะเกิดปัญหาอะไรครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 7 жыл бұрын
มีแน่นอนครับ.. 1. แรงดันของระบบที่ปลายทางของการส่งน้ำจะลดลง อย่างรวดเร็ว และความต่อเนื่องของแรงดันน้ำของระบบ จะหายไป 2. การทำงานของ Bother Pump จะมีการทำงานบ่อยครั้งมากขึ้นกว่าปกติครับ จุดสังเกตุภายในถังอัดแรงดัน/ หรือที่คุณอาทิตย์เรียกว่าถังลม จะมีถุง ไฮดอไลน์หรือถุงลมบรรจุอยู่ภายในถัง เพื่อแยกกันระหว่าง น้ำกับอากาศภายในถังครับ หรือบางรุ่นอาจเป็นแบบแผ่นไดอะแฟรม ก็ได้ครับ ซึ่งแรงดันลมจะถูกกักเก็บไว้ภายในถังนี้ครับ ให้หมั่นตรวจสอบ ด้วย เพราะหากปริมาณอากาศภายในถังมีน้อยกว่าระดับแรงดันที่บรรจุไว้ตามพิกัด อาจทำให้ แรงดันน้ำ ดันถุงลมหรือแผ่นไดอะแฟรม แตกเสียหายได้ครับ ปล. ด้วยความปราถนาดี
@อาทิตย์มีนทะระ
@อาทิตย์มีนทะระ 7 жыл бұрын
+khwan amd ขอบคุนครับที่ให้ความรุ้
@อาทิตย์มีนทะระ
@อาทิตย์มีนทะระ 7 жыл бұрын
+อาทิตย์ มีนทะระ เราควรเติมลมยังไงครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 7 жыл бұрын
ให้แรงดันอากาศภายในถังน้อยกว่าแรงดันน้ำของระบบ ประมาณ 0.2 bar ครับ ( 1 bar =14.50 psi)
@อาทิตย์มีนทะระ
@อาทิตย์มีนทะระ 7 жыл бұрын
+khwan amd เราจะต้องปิดวาวน้ำก่อนไหมครับ หรือเติมลมเข้าไปเลย
@sopheasok1722
@sopheasok1722 4 жыл бұрын
Do you hav Controller circuit?
@chainarongpiromrak8345
@chainarongpiromrak8345 7 жыл бұрын
ระบบเหมือนกันเลย แต่ตอนนี่ มันทำงาน2 ตัวพร้อมกันตลอด เมื่อก่อนทำงาน สลับกัน แต่ตอนนี่ ทำพร้อมกัน ทุกครั้ง เกิดจากอะไรครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 7 жыл бұрын
chainarong piromrak ให้ตรวจสอบที่ การปรับตั้งสวิตย์แรงดันครับ จุด cutin อาจเคลื่อนครับ ระบบอาจดูคล้ายกันแต่การต่อวงจรน่าจะไม่เหมือนกันครับ อีกอย่างของผมใช้ สวิตย์ความตัวเดียวครับ แต่ของคนอื่นๆ จะใช้ 2 ตัวครับ
@chainarongpiromrak8345
@chainarongpiromrak8345 7 жыл бұрын
khwan amd ของใช้ สวิท แรงดัน 2 ตัวครับ
@เอฟวัชรพงษ์
@เอฟวัชรพงษ์ 7 жыл бұрын
ขอถามหน่อยครับ ถ้าเราไม่มีถังอัดแรงดัน ปั้นน้ำจะเป็นอัตโนมัติได้ไหมครับ *** คือปัมน้ำเป็นมอเตอร์2เเรงขนาด 2 นิ้ว 1ตัว (ถ้าต้องใช้ถังอัดแรงดัน ต้องใช้ถังกี่ลิตรครับ)
@khwanamd3640
@khwanamd3640 7 жыл бұрын
ทำงานได้เหมือนกันครับ แต่ประสิทธิภาพของกำลังในการส่งแรงดันน้ำจะลดลงครับ (ส่งน่ำไปได้ไม่ไกล, ปั๊มน้ำมีการทำงานและตัดต่อบ่อยครั้งทำให้สิ้นเปลื้องพลังงานไฟฟ้า, เมื่อปั๊มมีการสตาร์ทการทำงานบ่อยครั้งจนเกินไป อาจส่งผลให้อายุการใช้งานของส่วนประกอบในตัวปั๊มลดลงโดยเฉพาะปั๊มขนาดใหญ่ๆ) สำหรับเรื่องการเลือกถังอัดแรงดันน้ำต้องพิจารณาร่วมกัน 4 อย่างคือ (1) ความต้องการอัตราไหลของน้ำสูงสุดที่เราต้องการอยู่ที่เท่าไหร่ หน่วยเป็นลิตร/นาที (2) ต้องดูว่าประสิทธิภาพของปั๊มน้ำที่เรามีอยู่หรือที่เราเลือกใช้สามารถให้อัตราไหลของน้ำสูงสุดตามที่เราต้องการหรือไม่ (3) จังหวะของการทำงานของปั๊มหรือจะเรียกว่าจำนวนครั้งที่เราต้องการให้มอเตอร์ปั๊มน้ำทำงานใน 1 ชั่วโมง โดยส่วนใหญ่ในการออกแบบเราจะเลือกกันที่ประมาณ 18-20 ครั้ง/ชั่วโมง (4) ค่าแรงดันเริ่มต้นที่ปั๊มทำงาน, ค่าแรงดันสุดท้ายที่ปั๊มหยุดทำงาน แล้วจึงนำค่าที่ได้มาคำนวนหาค่า (Effective Water Reserve : EWR) ก่อนนำค่าที่ได้ไปเปิดตารางเพื่อเลือกขนาดของถังอัดแรงดันครับ (ลองหาบทความอ่านในเรื่องการออกแบระบบประปา สำหรับอาคาร) อ่านดูนะครับ ส่วนตารางเลือกขนาดถังลม ต้องเข้าไปหาดูในเวปของบริษัทฯ ที่ผลิดถังอัดแรงดันดูนะครับ ส่วนใหญ่จะมีตารางให้เราเทียบขนาดของถังลมให้เราเลือกที่เหมาะสม ว่าจะใช้ขนาดถังลมกี่ลิตร ถ้าต้องการปริมาณมวลน้ำอย่างที่เราต้องการ ....................... ดังนั้นจากข้อมูลที่ให้มา ผมตอบลำบากครับว่าจะให้ใช้ถังอัดแรงดันขนาดเท่าไหร่จึงจะเหมาะสมครับ.. เพราะข้อมูลน้อยเกินไปครับ.......ขอบคุณครับที่ติดตามชมคลิปนี้ครับ
@เอฟวัชรพงษ์
@เอฟวัชรพงษ์ 7 жыл бұрын
khwan amd ๆ
@เอฟวัชรพงษ์
@เอฟวัชรพงษ์ 7 жыл бұрын
ขอคุณครับ
@taturawit3227
@taturawit3227 8 жыл бұрын
คาปาเพาเวอร์เฟกเตรอ์มีไว้ทำอะไรครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 8 жыл бұрын
+Tatu Rawit ได้เลยตั้งใจอ่านนะ..พี่ไม่รู้ว่าน้องมีพื้นฐานทางไฟฟ้าหรือป่าว คาร์ปาที่พี่ใช้ต่อเพื่อแก้เพาเวอร์เฟคเตอร์ นั้น น้องต้องทำความเข้าใจก่อนว่า เจ้าตัวเพาเวอร์เฟคเตอร์จะเป็นองค์ประกอบทางด้านกำลังไฟฟ้า พี่ยกตัวอย่าง สมการทางไฟฟ้า ในระบบไฟฟ้า single phase ให้ฟังนะ กำลังไฟฟ้าในระบบนั้นจะมีหน่วยเป็นกำลังวัตต์ Watt ซึ่งจำกำลังวัตต์ที่เราใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะมอเตอร์ไฟฟ้าจะมีค่าองค์ประกอบทางไฟฟ้าที่ต่ำกว่้าโหลดประเภทโหลดที่เป็นความต้านทานหรือขดลดความร้อนที่เราเรียกกันแบบบ้านๆ ว่า ฮีทเตอร์ น้องดูสมการนะ I=P/(E. Cos0) ซึ่งเจ้า Cos0 หรือเราเรียกว่าตัวประกอบกำลังลัง แต่ส่วนใหญ่เราเรียกมันว่า เพาเวอร์เฟคเตอร์ (PF) ซึ่งเจ้าตัว Cos0 หรือ PF จะมีค่าตั้งแต่ 0 จนถึง 1 ให้มองพิจรณาที่ Cos0 นะ ค่าของกระแสไฟฟ้า (I) ได้มาจากผลหารระหว่าง กำลังไฟฟ้าของมอเตอร์(P) แล้วถูกหารด้วยผลคูณระหว่าง แรงดันไฟฟ้าที่มอเตอร์ใช้งาน คูณกับตัวประกอบกำลัง (Cos0 หรือ PF) จากสมการข้างต้น ในสภาวะที่มอเตอร์กำลังทำงานอยู่ แรงดันไฟฟ้าของระบบที่มอเตอร์ใช้งาน (E) เราเปลี่ยนไม่ได้, และกำลังไฟฟ้าที่มอเตอร์ใช้งาน (P) เราก็เปลี่ยนไม่ได้เช่นกันในทางอุดมคตินะ แต่สิ่งหนึ่งที่เราสามารถเปลียนได้ โดยที่ไม่ทำให้กำลังหรือประสิทธิภาพในการทำงานของมอเตอร์ลดลง นั่นก็คือ ค่า Cos0 หรือ PF ครับ ถ้าเราทำให้ Cos0 เปลี่่ยนเข้าใกล้ค่า 1 น้องเห็นไหมว่าอะไรจะเกิดขึ้นกับผลรับของกระแสไฟฟ้่าที่มอเตอร์ทำงาน อย่างเช่น ถ้ามอเตอร์ฺมีตัวประกอบกำลัง อยู่ที่ 0.7 ถ้าเราทำการใส่คาร์ปาซิสเตอร์เพื่อแก้เพาเวอร์เฟคเตอร์ของระบบสมมุติว่า แก้ไขค่าได้เท่ากับ 1 ดังนั้น ตัวหารของสมการก็จะมากขึ้นทำให้ผลลัพท์ของกระแสไฟฟ้าลดลง ซึ่งนั่นหมายถึงเราจะจ่ายค่าไฟฟ้าที่ใช้งานกับมอเตอร์ตั้วนั้นน้อยลงด้วยงัย.. เข้าใจยัง นีเป็นแค่ระบบไฟฟ้า Single Phase นะ ถ้าเป็นระบบ 3 Phase นะ มันส์กว่านี้อีก คงอธิบายกันยาว กว่าจะเข้าใจ หวังว่าน้องคงจะเข้าใจว่า เราต้องแก้เพาเวอร์เฟคเตอร์ไปทำไมเน๊าะ วันนี้ เอาเท่านี้ก่อนครับ.. คงเป็นประโยชน์กับน้องและคนที่เข้ามาอ่านเน๊าะ.. Goodluck
@taturawit3227
@taturawit3227 8 жыл бұрын
ครับผมเข้าใจแล้วครับ ผมพอรู้พื้นฐานมาบ้างแล้วครับ มีวิธีการต่อวงจรบ้างมั้ยครับพี่ อยากรู้รายละเอียดวิธีต่อวงจรด้วยครับ ขอบคุณไว้ล่วงหน้าครับผม
@khwanamd3640
@khwanamd3640 8 жыл бұрын
+Tatu Rawit ครับสำหรับการต่อวางจรคาปาร์ซิสเตอร์ เพื่อแก้เพาเวอร์เฟคเตอร์ ในระบบมอเตอร์จะใช้ได้กับมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับเท่านั้นนะครับ โดยเราจะนำค่าของคาปาร์ซิสเตอร์ที่เราคำนวณได้ มาต่อกับมอเตอร์ในลักษณะขนานกันกับขดลวดของมอเตอร์ไฟฟ้าครับ สำหรับในระบบไฟฟ้าแบบ Single Phase นั้นไม่ยุ่งยากครับ ให้ทำการต่อขนานเข้าไปได้เลยครับ แต่ถ้าเป็นระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส จะยุ่งยากนิดหน่อย เพราะการต่อขนานคาปาร์ซิสเตอร์ เราสามารถต่อได้ 2 แบบครับ แบบที่ 1 เป็นการต่อขนานแบบเดลต้าครับ แต่วิธีนี้เขาไม่นิยมกันเพราะว่าจะทำให้กระแสประจุคาปาร์ในช่วงเริ่มทำงานครั้งแรกสูงอาจทำให้อุปกรณ์ตัดต่อวงจรเกิดความเสียหายได้จากการอาร์คของหน้าคอนแทรกครับ ส่วนแบบที่ 2 คือการต่อขนานแบบสตาร์ ครับ แต่ต้องระวังในเรื่องของการต่อด้วย หากเป็นมอเตอร์ที่ทำงานแบบ Direct Start ไม่มีปัญหาครับ แต่หากเป็นแบบ Star/Delta ละก้องต้องระวังให้มากครับ เพราะรูปแบบการต่อวงจรทางไฟฟ้าจะเปลี่ยนไปตามการทำงานของมอเตอร์นะครับ และอาจทำให้เกิดการระเบิดของคาปาร์ได้ ในช่วงที่เปลี่ยนการทำงานของมอเตอร์จาก star ไปสู่ Delta ครับ ส่วนหากจะถามถึงเรื่องวิธีการต่อ อันนี้ต้องขออุปไว้ครับ เป็นเทคนิคของแต่ละบุคคลครับ.. สู้ๆ ครับน้อง ลองไปศึกษาดูในหนังสือ เรื่องเกี่ยวกับเครื่องกลไฟฟ้ากระแสสลับ กับเรื่องเพาเวอร์เฟคเตอร์นะครับ เอาความรู้ 2 ตัวนี้ มาประยุกต์ใช้งานร่วมกันครับ พี่ก็ ใช้แนวคิดนี้ในการทำงานครับต้องศึกษาเอาครับ ไม่มีอะไรที่ได้มาง่ายๆ ครับ.......
@impluse6092
@impluse6092 8 жыл бұрын
capacitor ตัวนี้ช่วยในการ start pump รึเปล่าครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 8 жыл бұрын
ไม่ใช่ครับ ไม่เกี่ยวกับการสตาร์ทปั๊มแต่อย่างใดครับ ที่ใส่ไปใช้เพื่อในการแก้ POWER FACTOR ของมอเตอร์ไฟฟ้าครับ เนื่องจากมอเตอร์มีขนาดของกำลังไฟฟ้ามากกินกระแสสูง และมีแรงดันไฟฟ้าตกด้วยขณะมอเตอร์ปั๊มทำงาน ปัจจุบันผมถอดออกแล้วครับ เพราะปัญหาเรื่องแรงดันไฟฟ้าตก ผมแก้ด้วย หม้อแปลง Steep Up ไปแล้วจึีงไม่จำเป็นต้องใช้งานในส่วนนี้ครับ
@yussreehenglohmae1649
@yussreehenglohmae1649 7 жыл бұрын
ถังไฮโดรไลน์ ราคาเท่ารัย
@kittinamsai6363
@kittinamsai6363 4 жыл бұрын
รับสอนทำตู้คอนโทรลมั้ยครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 4 жыл бұрын
คิดจะเปิดสอนครับ... แต่ด้วยภาระกิจงานประจำ เลยมีเวลาน้อยนะครับ ว่าจะลองทำโครงการเปิดสอนที่หน่วยงานนะครับ .. อย่างไรคอยติดตามครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 4 жыл бұрын
คิดจะเปิดสอนครับ... แต่ด้วยภาระกิจงานประจำ เลยมีเวลาน้อยนะครับ ว่าจะลองทำโครงการเปิดสอนที่หน่วยงานนะครับ .. อย่างไรคอยติดตามครับ
@detnilanhkeomisy5932
@detnilanhkeomisy5932 7 жыл бұрын
เบีติดต่อคุณช่วยบอกหน่อยครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 7 жыл бұрын
Detnilanh KEOMISY อยู่ในตอนท้ายของข้อความรายละเอียดอธิบายตัวคลิปครับ
@peak6007
@peak6007 Жыл бұрын
ที่คอนโดหน้าตาแบบนี้เลย มีปัญหาสอบถามครับ ถ้าตั้งเป็น auto ปั๊มไม่ทำงาน ถ้าปรับเป็น man ถึงจะใช้งานได้ ไม่ทราบเป็นเพราะอะไร พอตั้ง man ปั๊มจะมีเสียงเหมือนทำงานตลอดเวลาแม้ไม่มีการใช้น้ำ แบบนี้เราสามารถปรับเป็น man ตลอดได้มั๊ย กลัวปั๊มไหม้
@บุญฤทธิ์ไทยเจริญ
@บุญฤทธิ์ไทยเจริญ 8 жыл бұрын
ชุดนี้ราคาเท่าไหร่ครับ
@somphotprommala58
@somphotprommala58 4 жыл бұрын
ขอวงจรได้ไหมครับ
@chatthaipattanapongskul2080
@chatthaipattanapongskul2080 8 жыл бұрын
ไม่ make sense เท่าไหร่ เพราะใช้ท่อเมนร่วมกัน เมื่อบูสเตอร์ปั๊มทำงาน ท่อเมนจะแตกเอา แรงดันน้ำกับอัตราการไหลจะไม่แตกต่างกันมากนัก
@khwanamd3640
@khwanamd3640 8 жыл бұрын
ขอบคุณครับสำหรับข้อเสนอแนะและติชมสำหรับคลิปนี้ Boother pump แบบเสริมแรงดัน ที่ผมออกแบบ เป็นดังนี้ครับ 1. ค่าแรงดันใช้งานของระบบ อยู่ระหว่าง 2.8-3.5 bar. 2. การควบคุมเป็นการควบคุมกันแบบเสริมแรงดัน เมื่อมีการใช้น้ำที่ไม่มาก ซึ่งถ้า pump ทำงานเพียงเครื่องเดียว และยังคงรักษาระดับแรงดันไว้ได้ตามที่กำหนด ภายในระยะเวลาที่ตั้งไว้ ระบบก็จะหยุดทำงานในทันที 3. การควบคุมกรณีที่มีการใช้น้ำในเวลาเดียวกันเป็นจำนวนมาก ซึ่งประสิทธิภาพของ Pump เพียงเครื่องเดียวไม่สามารถจ่ายน้ำที่ระดับแรงดัน สูงกว่า 2.8 bar ตามระยะเวลาที่ตั้งไว้ Pump ตัวที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพ เท่ากับ เครื่องที่ 1 จะทำงานและจ่ายน้ำเสริมเข้ามาภายในระบบในทันที ทำให้ได้มวลน้ำที่มากขึ้นกว่าเดิมพร้อมกับแรงดันของน้ำในระบบ....... แต่แรงดันน้ำจะไม่เกิน 3.5bar เพราะถ้าระดับแรงดันน้ำถึง ในจุดของแรงดันสูงสุดที่ถูกควบคุม ระบบจะหยุดการทำงานในทันทีเช่นกัน ... ซึ่งนั่นหมายถึง แรงดันน้ำทั้งระบบจะไม่เกิน 3.5bar 4. ด้วยมวลของน้ำที่ไหลผ่านท่อ/นาที จะแปรผันตรงกับ แรงดันของน้ำด้วยเช่นกัน ดังนั้นท่อ PVC ขนาดความหนา 13.5mm ทนแรงดันในระดับนี้ได้สบายมาก 5. เมื่อพิจารณาจากสมการของ แบร์นูลลีแล้ว P1+pgh1+(1/2)pV1^2 = P2+pgh2+(1/2)pV2^2 แล้ว ให้พิจารณาที่ ระบบตามความเป็นจริงที่เรากำหนดให้เกิดขึ้น P2 ของระบบจะมีค่า ไม่เกิน 3.5 bar และ พิจารณาทางฝั่ง P1 จะต่ำกว่า P2 แต่ ความเร็วของมวลน้ำคือ V1 จะมากกว่าเพราะถูกอัดเข้าระบบด้วย Pump ถึง 2 ตัวในเวลาเดียวกันที่มีการใช้น้ำปริมาณมากๆ เพื่อสร้างแรงดันให้เกิดขึ้นที่ P2 ตามที่กำหนด และในทางตรงกันข้าม V2 จะน้อยกว่า V1 เพราะขึ้นอยู่กับความต้องการในการใช้น้ำ จะเห็นว่า เป็นไปไม่ได้ ว่าระบบท่อ PVC ขนาด 2 นิ้วที่ความหนา 13.5 mm จะแตกเสียหายได้ เว้นแต่ว่า เทคนิคหรือทักษะในการเชื่อมต่อท่อประปาของช่างไม่ดีพอ จึงทำให้ระบบท่อส่งน้ำเสียหายได้ ครับ 6. แรงดันของระบบถูกควบคุมด้วย สวิตข์ความดัน ครับ จึงหมดกังวลเรื่อง แรงดันจะเกินเว้นแต่ว่า สวิตช์ความดันเสียครับ... make sense หรือเปล่าครับ ขอบคุณสำหรับคำติชมครับ ส่วน คุณสมบัตรของ ท่อ PVC รบกวนไปเปิดดูในตารางนะครับ ถ้าจะหาคำตอบเรื่อง ระดับแรงดันทดสอบสูงสุดภายในท่อ ขนาด 2 นิ้วที่ ความหนา 13.5 mm ครับ
@superspeedshop4271
@superspeedshop4271 6 жыл бұрын
khwan amd กระจ่างครับ
@natkamoninpram3839
@natkamoninpram3839 7 жыл бұрын
ตอนนี้ผมใช้ระบบนี้อยู่เเต่เจอปันหาที่เเก่ไม่ตกคือ น้ำเเรงใม่สม่ำเสมอเเรงบ้าง เบาบ้าง ต้องเเก้ไขยังใงครับขอคำเเนะนำหน้อย เเต่ของผมดันขึ้นตึกนะ74ห้อง 4ชั้น
@khwanamd3640
@khwanamd3640 7 жыл бұрын
ครับ.. หากเป็นระบบเดียวกันกับสิ่งที่ผมทำในคลิปนะครับ ให้ดำเนินการตรวจสอบตามนี้ครับ 1. ตรวจสอบที่ถังอัดแรงดัน ( Pressure Thank) ว่ามีแรงดันอากาศอยู่ภายในถังหรือไม่ โดยปกติแล้ว แรงดันอากาศภายในถังจะมีระดับแรงดันที่ต่ำกว่้าแรงดันน้ำในระบบ อยู่ 0.2 bar หรือประมาณ 3 PSI / หากไม่มีแรงดันอากาศภายในถังจะทำให้การส่งแรงดันของน้ำไม่สม่ำเสมอครับ(ภายในถังอัดแรงดัน จะมีถุงหรือแผ่นไดอะแฟรมสำหรับกั้นพื้นที่ระหว่างอากาศกับน้ำออกจากกัน) หากตรวจสอบแล้วว่ามีแรงดันอากาศตามข้อมูลข้างต้นแล้ว จึงไปดำเนินการตรวจสอบในขั้นตอนที่ 2 ต่อไป 2. ตรวจสอบระยะ Dif ของแรงดันน้ำของระบบ อาจมีการตั้งค่าของระดับแรงดันที่ห่างจนเกินไป ซึ่งส่วนใหญ่ปัญหานี้จะเกิดขึ้นกับระบบ Boother Pump ที่ใช้เป็นสวิตช์ความดันแบบ การปรับตั้งค่า Dif แบบคงที่ เช่น Hitun, Square-D ฯ เป็นต้น ซึ่งในบางครั้งการเลือกใช้สวิตช์ความดันแบบนี้ อาจจะไม่เหมาะสมต่อการใช้งานที่มีการใช้น้ำในปริมาณมาก ซึ่งหากทำการปรับตั้งค่าแรงดันใหม่ ก็ ไม่ใช่ว่าจะปรับเปลี่ยนค่า Dif ของสวิตช์แรงดันแบบนี้ ได้ เพราะส่วนที่กำหนดค่า Dif คือสปริงค์ที่อยู่ภายในตัวสวิตช์เอง เพราะไม่ว่าเราจะปรับเปลี่ยนจุดตัดของแรงดันไป ณ จุดใดๆ ก็ตาม ค่านิจ ของสริงค์ก็ยังคงเท่าเดิม ค่า Dif จึงมีค่าเท่าเดิมครับ 3. หากปัญหาเป็นไปตามข้อที่ 2 ให้ดำเนินการเปลี่ยนสวิตช์แรงดันเป็นแบบปรับค่า Dif ได้ ตัวอย่างเช่น สวิตช์ความดันของ Danfoss, Atlantis ฯ เป็่นต้น แล้วจึงทำการปรับตั้งค่าแรงดันใช้งาน และปรับลดระยะ Dif ของแรงดันน้ำในระบบให้เหมาะสมต่อการใช้งานครับ ****..หากแก้ไขตามข้อมูลทั้ง 3 ข้อแล้วอาการยังไม่หาย ก็เหลืออยู่ที่การออกแบบระบบ ที่ไม่เหมาะสมละครับ แต่ถ้าตั้งแต่แรกระบบสามารถทำงานได้ดีอยู่ก่อนหน้านี้ ผมคิดว่า แก้ไขตามอาการก็น่าจะหายครับ...*** ปล. สำหรับอาการที่บอกว่า แมกเนติกเสียบ่อยด้วย (คำว่าเสียคือเสียแบบไหนครับ) - เสียเนื่องจากคอยล์แมกเนติกไหม้เสียหาย / อาการเสียแบบนี้ ให้ตรวจสอบความเสถียรภาพของระดับแรงดันไฟฟ้าของระบบครับ มีแรงดันไฟฟ้าตกหรือป่าวในขณะที่ Boother Pump ทำงาน อาการแรงดันไฟฟ้าตกหากไม่มีอุปกรณ์ป้องกัน เช่น Phase Protection , Over-Under Voltage ไว้ตัดการทำงานของระบบ ก็จะส่งผลให้ขดลวดหรือคอลย์ของแมกเนติกเสียหายได้เช่นกัน และยังรวมไปถึงขดลวดของมอเตอร์จะไหม้ด้วยครับ และมีผลกับประสินธิภาพของการทำแรงดันน้ำของระบบด้วยครับ .......หรือ..... - หน้าคอนแทคของแมคเนติกไหม้ละลาย / ให้ตรวจสอบดูกำลังของมอเตอร์ที่ใช้งานกับขนาดของแมคเนติกด้วยว่า เหมาะสมกันหรือป่าว ซึ่งในปกติ เราจะคำนวณ ค่าของการทนกำลังไฟฟ้าที่หน้าคอนแทกไว้ที่ ไม่น่้อยกว่า 200% ของกระแส Full-Load ของมอเตอร์ปั๊มน้ำครับ ลองแก้ไขตามที่แนะนำดูนะครับ
@natkamoninpram3839
@natkamoninpram3839 7 жыл бұрын
khwan amd ขอบคุนครับสำหรับข้อมูล
@ZAK-lv9st
@ZAK-lv9st 7 жыл бұрын
ราคาประมาณเท่าไหร่ครับ
@singhakingchan4698
@singhakingchan4698 8 жыл бұрын
อีกไม่กี่ผมก็จะได้ต่อ ไม่รู้จะต่อยังไง
@edlntso6658
@edlntso6658 6 жыл бұрын
ราคาเท่าไรครับ
@natkamoninpram3839
@natkamoninpram3839 7 жыл бұрын
เเม็คเนติกเสียบ่อยด้วย
@khwanamd3640
@khwanamd3640 7 жыл бұрын
ตอบให้แล้วในความเห็นก่อนหน้านี้ครับ
@ปราณีคําทนเสือ-ข7ผ
@ปราณีคําทนเสือ-ข7ผ 5 жыл бұрын
ราคาเท่าไหร่
@สุรพศคับ
@สุรพศคับ 4 жыл бұрын
รับติดตั้งใหมคับ สนใจ 098 056 9451 พี่รอง
@เบียร์ลี่นโม
@เบียร์ลี่นโม 5 жыл бұрын
👍👍👍👍👍
@pom9352
@pom9352 2 жыл бұрын
เข็มแรงดันไม่ขึ้น
@pom9352
@pom9352 2 жыл бұрын
เข็มแลงดันไม่ขึ้น
@mrvijit
@mrvijit 7 жыл бұрын
ขอแนะนำปั๊มน้าอีกยี่ห้อเป็นทางเลือกครับ facebook.com/esybox2u/posts/1163455223755084
@danuyjampathong8458
@danuyjampathong8458 7 жыл бұрын
ผมวาพี่ใส่วาวล์กับยูเนียนสลับกันมัยครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 7 жыл бұрын
ขอบคุณครับที่รับชมและแสดงความคิดเห็น... จะอธิบายให้นะครับ... แต่ก่อนอื่นขอบอกไว้ก่อนว่า จงอย่าจำเพียงแค่วิธีการของ คนอื่นและนำมาใช้ในงานของเรา จงทำความเข้าใจในสิ่งหรือระบบที่เรากำลังทำให้ กระจ่างแจ้ง และนำมาประยุกต์ใช้กับงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด และสิ่งทีลืมไม่ได้ ต้องคิดเผื่ออนาคต ไว้เสมอถึงความเป็นไปได้กับในสิ่งที่เราได้กระทำ ยิ่งหากเรา เป็นผู้ประดิษฐ์แล้วขายสิ่งที่ทำขึ้นมา ต้องรับผิดชอบในความคิดและการกระทำของเรา ด้วย ซึ่งตรงนี้ จะเป็นองค์ประกอบติดตัวเราไป ที่หมายถึงงานคุณภาพ มิใช่เพียงราคาครับ สำรับวาวล์กับยูเนี่ยนที่เห็นผมต่อในลักษณะนี้ ให้เราลองคิดและพิจารณาตามดูว่า เมื่อเกิดปัญหาขึ้นกับระบบ หรืออุปกรณ์ อาจจะเป็นตัวมอเตอร์ปั๊มหรือส่วนของใบพัดของปั๊มก็ดีที่จำเป็นต้องถอดชุดมอเตอร์ปั๊มน้ำไปทำการซ่อมบำรุงหรือบำรุงรักษา ลองคิดดูสิว่าเราจะมีวิธีการถอดอุปกรณ์เพื่อซ่อมบำรุงโดยที่เราต้องพยายามให้เกิดค่า ใช้จ่ายหรือเวลาในการซ่อมบำรุงที่ยุ่งยากมากเรื่องเหล่านี้ออกไปได้อย่างไร... ประกอบกับหากชุดมอเตอร์ปั๊มน้ำอีกตัวหนี่งเสียหาย ระบบก็ต้องยังสามารถทำงานได้ด้วยชุดมอเตอร์ปั๊มน้ำตัวที่เหลือได้ด้วย โดยต้องให้เกิดผลกระทบต่อการใช้งานให้น้อยที่สุดครับ กล่าวได้ดังนี้ 1) เมื่อชุดปั๊มน้ำตัวใดตัวหนึ่งเกิดปัญหา สามารถหยุดการทำงานของชุดที่มีปัญหาแล้วปิดวาวล์น้ำที่ต่ออยู่ และคลายยูเนี่ยน ออกได้เลย แล้วพร้อมถอดน๊อตยึดแท่นมอเตอร์ปั๊ม ไปทำการแก้ไขได้ โดยที่ไม่ต้องหยุดระบบการจ่ายน้ำครับ 2) เมื่อมีการซ่อมบำรุงชุดมอเตอร์ปั๊มน้ำที่เกิดขัดข้องแล้วเสร็จ เราสามารถประกอบมอเตอร์ปั๊มเข้ากับแท่นเครื่อง และยึดเข้ากับยูเนี่ยน ให้แน่น และพร้อมใช้งานได้เลยโดยที่ไม่ต้องมีการ พันเกลียวท่อใหม่ ให้วุ่นวาย ครับ ไม่ต้องมีการเสียเงินซื้อข้อต่อเพิ่มจากเดิมที่มีอยู่ครับ ง่ายและปฎิบัติได้จริง เพราะบางที หน้างานอยู่ห่างไกลจากร้านวัสดุครับ 3) ข้อพึงระวังและส่วนใหญ่มักจะเจอกันบ่อยครั้ง การกระทำใดๆ กับส่วนของข้อต่อท่อน้ำทางด้านแรงดันสูงหรือต่ำก็ดี หลังจากที่มีการใช้งานมาเป็นระยะเวลานานๆ หากเราขันกลับเข้าตำแหน่งที่ไม่ถูกต้องและเหมาะสม มักจะเจอปัญหารั่วบริเวณรอยต่อเสมอครับ เท่านี้คงพอเข้าใจเน๊าะว่าทำไมถึงต้องต่อแบบนี้ เรื่องพวกนี้ ต้องอาศัยประสบห์การณ์และความเป็นชั่งสังเกตุ ร่วมกับความรับผิดชอบต่อลูกค้าครับ ขอบคุณที่แสดงความเห็นครับ หวังว่าบทความนี้ คงจะเป็นส่วนหนึ่งที่ ปลุกจิตสำนึกในความรับผิดชอบต่อสิ่งประดิษฐ์ของเราที่จะออกสู่มือผู้ใช้งาน ได้ไม่มากก็น้อยครับ
@kimuchi7782
@kimuchi7782 6 жыл бұрын
khwan amd ผมว่าพี่ Danuy Jampathong เค้าหมายถึงวาล์วกับยูเนี่ยนที่แทงค์น้ำนะครับที่สลับกันไม่ใช่ที่ปั๊ม เพราะเท่าที่เห็นถ้าจะถอดล้างหรือเปลี่ยนแทงค์ที่หนึ่งคือปิดวาล์ว แล้วถอดยูเนี่ยนออก แล้วน้ำจากแทงค์ที่2กับ3จะไม่ไหลออกมาทางท่อของแทงค์ที่1ที่เราถอดยูเนี่ยนออกหรือเปล่าครับ ถ้าผมเข้าใจผิดก็ขออภัยด้วยครับ จะได้เป็นความรู้เพิ่มเติมครับ ขอบคุณมากครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 6 жыл бұрын
ขอบคุณครับ... นานๆ พึ่งจะเข้ามาดู คลิปของตนเอง ... ครับ ถ้าหมายถึง ยูเนี่ยนกับวาวล์ที่แทงค์ (ใช่ครับ ผมต่อไว้สลับกันครับ) ต้องขอบคุณ @ Danuy Jampathong ที่ติมและขออภัยที่เข้าใจผิดในคำถาม อีกทั้งขอบคุณ @ Methee Faisilsakul ที่ช่วยยั้มประเด็นความคิดเห็นครับ และหน้างานปัจจุบันผมได้ทำการสลับตำแหน่ง และแก้ไขไปเรียบร้อยแล้วครับ จุดประสงค์ที่ต่อ ก็ เพื่อในกรณี ต้องการ ควั้มถังน้ำ เพื่อทำความสะอาดนะครับ โดยสามารถ ระบายน้ำออก และปิดวาวล์ น้ำ และขัน ยูเนี่ยนออก แล้วถอดถังล้างทำความสะอาดได้เลยครับ... ขอบคุณครับ ที่ เข้ามาให้ความเห็นกันในกระทู้ครับผม..
@อุเทนระดาวเรือง-น6ต
@อุเทนระดาวเรือง-น6ต 3 жыл бұрын
ราคา​ตู้ควบคุม​เท่าไหร่​ครับ
@วิฑูรย์ชัยชนะ-ผ8ฝ
@วิฑูรย์ชัยชนะ-ผ8ฝ 7 жыл бұрын
พี่ถ้าปั๊มไม่ดูดน้ำเกิดจากอะไรบ้างคับ
@chanakulsila1041
@chanakulsila1041 7 жыл бұрын
พี่คับขอคำเเนะหน่อยจะทำไว้ลดน้ำเเปลงผัก
@khwanamd3640
@khwanamd3640 7 жыл бұрын
-00- เข้าหัวข้อเรื่องมาเลยครับ มีจังหวะเข้ามาแล้วจะตอบให้ครับ
@chanakulsila1041
@chanakulsila1041 7 жыл бұрын
มีเฟสหรือไลย์มั้ยครับคุยทางเเชท
@khwanamd3640
@khwanamd3640 7 жыл бұрын
ปิยพงษ์ ศิลา งั้นโทรมาตามเบอร์ที่ให้ไว้ในบทความละกันครับ
@bangsamuksamarn4916
@bangsamuksamarn4916 5 жыл бұрын
พี่ทำคลิปการตั้งค่าเพลดเชอร์เกดหน่อยครับ
@tantan8384
@tantan8384 5 жыл бұрын
มันดังอะครับมีปุ่มสีเขียวขึ้นปิดยังไงลำคารมากเลยนอนไม่ได้
@ploychompoochannel4981
@ploychompoochannel4981 5 жыл бұрын
มีเบอร์ติดต่อไหมคัฟอยากสอบถามหน่อยคัฟ
@NagaNongkhai
@NagaNongkhai 5 жыл бұрын
ทางที่ดีควรจะใส่วาวล์สองตัวคร่อมยูเนียนเลย
@ประยูรแก้วกุมภีร์
@ประยูรแก้วกุมภีร์ 2 жыл бұрын
ปั๊มมีเสียงดังเกิดจากสาเหตุอะไรครับ
@OpartSangjun
@OpartSangjun Жыл бұрын
อยากทราบค่าใช้จ่ายในการติดตั้งอุปกรณ์พร้อมอุปกรณ์ราคาประมาณเท่าไหร่ครับ
@khwanamd3640
@khwanamd3640 Жыл бұрын
Add line สอบถามได้เลยครับ "ke_p"
Quando A Diferença De Altura É Muito Grande 😲😂
00:12
Mari Maria
Рет қаралды 45 МЛН
Mom Hack for Cooking Solo with a Little One! 🍳👶
00:15
5-Minute Crafts HOUSE
Рет қаралды 23 МЛН
ระบบน้ำ Booster Pump ฝีมือพระทำ
16:51
เทคนิคช่าง
Рет қаралды 144 М.
Quando A Diferença De Altura É Muito Grande 😲😂
00:12
Mari Maria
Рет қаралды 45 МЛН