พืช C3 C4 CAM

  Рет қаралды 232,430

Easy biology by DrPukan

Easy biology by DrPukan

4 жыл бұрын

พืช C3 C4 และ CAM มีวิธีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ที่แตกต่างกัน โดยมีความแตกต่างกัน ดังนี้
1.พืช C3 เป็นพืชที่มีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ 1 ครั้ง แล้วได้สารที่เสถียรตัวแรกที่มีคาร์บอน 3 อะตอม มักเกิดการหายใจเชิงแสง (photorespiration) ซึ่งทำให้ประสิทธิภาพการสังเคราะห์ด้วยแสงลดลง ตัวอย่างพืช พืชส่วนใหญ่ ข้าวสาลี ข้าวเจ้า ข้าวบาร์เล่ย์
2.พืช C4 เป็นพืชที่มีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ 2 ครั้ง แล้วได้สารที่เสถียรตัวแรกที่มีคาร์บอน 4 อะตอม เช่น ข้าวโพด ข้าวฟ่าง อ้อย ผักโขมจีน บานไม่รู้โรย
3.พืช CAM เป็นพืชที่มีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ 2 ครั้ง แล้วได้สารที่เสถียรตัวแรกที่มีคาร์บอน 4 อะตอม เหมือนกับพืช C4 แต่ช่วงเวลาที่ตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ครั้งแรก เกิดในตอนกลางคืน ครั้งที่ 2 เกิดตอนกลางวัน เช่น กระบองเพชร สัปปะรด กล้วยไม้ ว่านหางจระเข้
ติดตาม ดร.พู่กัน ให้ครบทุกช่องทางได้ที่
Facebook : / easy-biology. .
instagram: / easy_biolog. .
line: line.me/R/ti/p/%40easy_biology

Пікірлер: 74
@knikannida4614
@knikannida4614 3 жыл бұрын
ไม่อ่านหนังสือ​เลยค่ะ ดูคลิปอย่างเดียว​เลยย ไม่อยากพูดสอบผ่านด้วยแหละ55555
@23-649
@23-649
มาทวนก่อนไปสอบ a level อีก7ชม ไม่นอน55555😂
@k8k784
@k8k784 4 жыл бұрын
ดร.พู่กันคะ ดีมากๆค่ะ อยากจะร้องกรี้ดดดดดดดดด เข้าใจมาก ๆ เลยค่ะ ขอบคุณมากนะคะ🌸💖⭐⭐🌻🌻🌻⭐🌸💖💕💕💕💕
@user-cy4pe6gc3o
@user-cy4pe6gc3o
สอบเสร็จแล้วพึ่งมาเห็นค่ะ ออกแบบนี้เป๊ะเลย😢
@rettubyeon7950
@rettubyeon7950 2 жыл бұрын
เข้าใจมากที่สุดเลยค่ะ ดูข่องนี้ตั้งแต่มัธยมจนตอนนี้เรียนมหาวิทยาลัยแล้วก็ยังได้ดูอยู่ ขอบคุณมากๆเลยนะคะ
@chayapholkongthip3896
@chayapholkongthip3896 Күн бұрын
จุ๊บๆขอบคุณมากเลยครับหาตั้งนาน
@KrichBIBI
@KrichBIBI
ขอบคุณมากครับ ดูคลิปแล้วเข้าใจขึ้นเยอะ เห็นภาพ
@agathaphytiasurja3670
@agathaphytiasurja3670
ขอบคุณนะคะ เรียนทั้งเทอม ดูคลิปนี้ก่อนสอบเราเกือบได้เต็มค่ะ ขอบคุณจริงๆๆๆค่ะ
@kritsakorndireksin7340
@kritsakorndireksin7340 3 жыл бұрын
ผมพีกไม่เข้าใจว่าเรียนไปทำไม
@user-lm5sd1db1y
@user-lm5sd1db1y 3 жыл бұрын
นอกจากคาบอนไดออกไซด์​ เราสารถเร่งการสร้างแป้งโดยการเผา แล้วรดน้ำเพื่อให้ต้นไม้เปลี่ยน​ CN เรโช​ เพื่อการออกดอกที่ดีขึ้นได้มั้ยคับ​ แล้วถ้าพืชเริ่มออกดอกแล้วนิดหน่อยเรายังจะเร่งคาบอนเพื่อลด ไนโตรเจน​ เพื่อการออกดอกติดผลที่ดีขึ้นได้หรือเปล่าคับ​ ขอบคุณ​ล่วงหน้าคับ​
@user-sh6op6oc7i
@user-sh6op6oc7i 3 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะครู เข้าใจง่าย ภาพสวยมากๆๆ
@siraromnana5012
@siraromnana5012 3 жыл бұрын
แจ่มแจ้งภายในคลิปเดียว​ ขอบคุณมากๆเลยนะคะ
@mintjittima2526
@mintjittima2526 4 жыл бұрын
เป็น​ประโยชน์​มากๆเลยค่ะ
@studyyyysasi
@studyyyysasi 3 жыл бұрын
ดร.พูดดีมากๆเลยค่ะ อ่านหนังสือเล่มไหนก็ไม่เห็นภาพเท่าดร.พูด ขอบคุณมากๆค่ะ
@pimphattpech1802
@pimphattpech1802 Жыл бұрын
อาจารย์สรุปได้เข้าใจง่ายมากค่ะ สไลด์สวยเข้าใจง่ายมากค่ะ ขอบคุณนะคะ💖
@ningchani
@ningchani 3 жыл бұрын
คลิปมีประโยชน์มากค่ะ อยากให้ทำเกี่ยวภูมิคุ้มกันค่ะ 💕💕💕
@getjirayoot9011
@getjirayoot9011 3 жыл бұрын
อยากจะร้องไห้ ดีม๊ากกกกกกกกกกกกกก ขอบคุณมากๆๆครับ ❤❤
@user-ig6li1qr6j
@user-ig6li1qr6j 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากๆเลยค่ะ ดูคลิปนี้แล้วเข้าใจเลย
@notongravity5467
@notongravity5467 Жыл бұрын
อธิบายได้ดีมากครับ
@pimmy_channel7333
@pimmy_channel7333 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับการสอบผ่านครั้งนี้
โครงสร้างและประเภทของดอกไม้
14:51
การสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis)
18:07
Easy biology by DrPukan
Рет қаралды 372 М.
Задержи дыхание дольше всех!
00:42
Аришнев
Рет қаралды 3,5 МЛН
Plant hormone ฮอร์โมนพืชม.5
11:11
ชีวะกะKrutang
Рет қаралды 5 М.
Photorespiration
9:46
Biology IPST
Рет қаралды 4,7 М.
Why is All Life Carbon Based, Not Silicon? Three Startling Reasons!
14:05
การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
10:53
Easy biology by DrPukan
Рет қаралды 460 М.