@ทานอาหาร ให้ครบห้าหมู่ อันนั้นวิธีการกินครับแต่ใครจะเร็วกว่ามันอีกเรื่อง ARM ถ้ามันทำให้ cpu ใหญ่ขึ้น มีจำนวนทรานซิสเตอร์มากขึ้น ไม่ถูกจำกัดขนาดเหมือนตอนอยู่ในโทรศัพท์ มันก็แรงได้ครับและเร็วกว่าด้วยเพราะโครงสร้างมันสั่งให้ทำงานง่ายๆ ไอ้ที่ยากมันคือคนเขียนโปรแกรม
@mercyocean15544 жыл бұрын
@ทานอาหาร ให้ครบห้าหมู่ ตอนนี้คนยังเอาความเชื่อเก่าๆมาคิดว่า x86 แรงกว่า แต่ไม่ได้ดูขนาด cpu อัตราการกินไฟเทียบเลย ถ้า ARM ทำ cpu ขนาดใกล้เคียงกับ x86 รับรองว่าแรงกว่าเยอะครับ เพราะ supercomputer ของประเทศอะไรจำไม่ได้ก็ใช้สถาปัตยกรรม risc ซึ่งเป็นรากเหง้าของ ARM นี่แหละ แต่แค่เขาทำให้มันใหญ่ขึ้นกินไฟไม่อั้น มันเลยแรงมาก
@mercyocean15544 жыл бұрын
@ทานอาหาร ให้ครบห้าหมู่ x86 ยังขายอยู่สิครับเพราะ ARM สำหรับ โน้ตบุ๊ก และ pc มันเพิ่งเริ่มต้น ไปดูข่าว หัวเว่ย ก็มีข่าวออกมาแล้วว่าจะทำ pc ที่ใช้ ARM เป็น cpu ตอนนี้เข้าใจครับคนยังมีความเชื่อเก่าๆว่า x86 แรงกว่า ซึ่งที่จริงการเขียนชุดคำสั่งซับซ้อนไม่ได้เกี่ยวอะไรกับความแรงเลย ความแรงมันอยู่ที่การออกแบบตัวชิป จำนวนทรานซิสเตอร์ จำนวน core ที่ผมยกตัวอย่าง supercomputer ก็เพราะว่าที่จริงมันก็มีที่ใช้ สถาปัตยกรรม risc ซึ่งเป็นรากฐานเดียวกับ ARM แต่ทำไมมันแรงได้ล่ะ เพราะมันไม่เกี่ยวว่าเป็น x86 หรือ ARM มันทำให้แรงสุดๆได้ทั้งสองอย่าง แต่ที่มันเกี่ยวเพราะเรื่องขนาด การใช้พลังงาน ความร้อน นี่ต่างหากล่ะครับซึ่ง ARM ได้เปรียบเพราะพัฒนาให้ใช้ไฟต่ำกว่าในขณะที่ทำความเร็วได้มากกว่า ส่วนใน pc ก็ต้องรอดูว่าถ้าใช้ไฟแบบไม่อั้นมันจะแรงกว่าได้รึไม่
@Nobody119774 жыл бұрын
สมัยก่อนการเขียนซอฟต์แวร์ยังไม่พัฒนาซับซ้อนมาก จึงใช้การออกแบบ CPU ที่ซับซ้อนและทำงานได้หลายคำสั่ง คือ x86 ปัจจุบันการเขียนซอฟต์แวร์ มีการพัฒนาไปมาก มีเทคนิคซับซ้อนมากขึ้น จึงสามารถใช้ CPU ที่มีคำสั่งเฉพาะ คำสั่งพิเศษลดลงได้ ขนาดลดลงกินพลังงานลดลง สมัยก่อนความเร็ว cpu ยังต่ำจึงพยายามทำให้ส่งคำสั่งหนึ่งครั้ง(สัญญาณนาฬิกา)มีความซับซ้อนมากยกภาระให้ cpu ไป คือ x86 ปัจจุบันสัญญาณนาฬิกาสูงมาก cpu จึงไม่จำเป็นต้องมีชุดคำสั่งซับซ้อนมาก เพื่อให้กินไฟน้อยลง แต่ต้องสั่งหลายๆ ครั้ง แต่ด้วยมีระบบ 64บิท และมีความเร็วสูงจึงชดเชยกันได้ ประกอบกับการเขียนโปรแกรมบน arm ได้รับความนิยมมากขึ้น พัฒนามากขึ้น จนข้อเสียของ arm หายไปหมด แต่จุดเด่นในเรื่องอุปกรณ์โมบายล์ ประหยัดพลังงานกับเด่นชัดขึ้นทุกวัน
@guych.43264 жыл бұрын
จริงๆมันคือ CISC กับ RISC ซึ่งเป็นจุดตั้งต้นของ CPU ทั้งมวลครับ CISC คือ 1 คำสั่งทำงานหลายอย่างได้ RISC คือ 1 คำสั่งทำ 1 การทำงาน **** บางคนอาจไม่รู้ ในอดีตก่อนที่ไมโครซอฟจะครองโลก ช่วงที่แข่งกันระหว่างแอปเปิ้ลและไมโครซอฟ ทางแอปเปิ้ลเริ่มต้นมาด้วย RISC ก่อนที่ภายหลังเมื่อ Intel เอาตัวเองกลายเป็นผู้ครองตลาด CPU ของโลกได้ ทางแอปเปิ้ลถึงเปลี่ยนมาเป็น x86 หรือ CISC เพราะงั้นจึงไม่ต้องแปลกใจที่ทำไม แอปเปิ้ลถึงเป็นเจ้าแรกที่เปิดตัว iphone ได้สำเร็จง่ายๆ เพราะเอาจริงๆคือมี ปสก. การใช้งาน CISC กรณี Apple M1 จัดไปเลยครับถ้าคุณไม่ใช่ Developer แม้กระทั่งสายสตรีมสายภาพสายตัดต่อ ก็แนะนำให้ซื้อเลยครับ มันดีกว่า Macbook Air ตัวเป็นแสนบาทครับมีคนพิสูจน์แล้ว แต่ถ้าเป็นโปรแกรมเมอร์หรือนักพัฒนาระบบ ไม่แนะนำครับ เพราะระบบโรเซ็ตต้ามันยังแปลงบางแอพมาทำงานบน ARM ไม่ได้ หรือบางทีก็ไม่ออโต้ให้ครับ ยกตัวอย่างถ้าคุณจะใช้งานโฟโต้ชอป มันจะถูกเรียกใช้ผ่านโรเซ็ตต้าอัตโนมัติ เราจะไม่รู้ตัวหรือเห็นความแตกต่างว่ามันเป็นการใช้งานแบบมีตัวกลาง หรืออย่างน้อยๆผมที่ลองเล่นเองมาแล้วก็หาข้อแตกต่างไม่เจอ แถมพอลองตัดต่อวีดีโอแบบสั้นๆมันก็ทำงานเร็วกว่า Macbook Air ตัวท็อปราคาเป็นแสนของเพื่อนผมด้วย เร็วกว่ากันราวๆ 40%-50% แต่ๆๆๆๆ ...... ผมลองใช้งาน Tmux มัน install packet ไม่ได้นะ เอาจริงๆมันก็ลงได้แหละแต่ท่าเยอะ เพราะโรเซ็ตต้ามันไม่ได้ทำงานอัตโนมัติ เอาสั้นๆแค่นี้คิดว่าสาย Dev คงพอข้าใจว่ามันยังไง ดังนั้นสรุปเลย ถ้าคุณเป็น Dev ไม่ต้องซื้อครับ รอไปสัก 1 ปี แต่ถ้าคุณเป็นสาย user หรือเอามาใช้ทำภาพทำวีดีโอ ผมแนะนำเลยครับคุ้ม 45k แรงเท่าหรือเหนือกว่า 100k+
จริงๆแล้วแอปเปิ้ลเคยใช้ cpu powerpc ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ RISC ในเครื่อง mcintosh ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้ cpu x86 ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ CISC มาแล้วครับ การจะเปลี่ยนกลับไปใช้ M1 ที่เป็น RISC จึงไม่ใช้เรื่องแปลกอะไร แต่ประเด็นอยู่ที่ว่า ARM ที่เชี่ยวชาญเฉพาะ cpu สาย mobile จะพัฒนา M1 ให้เหมาะกับ desktop ได้ดีแค่ไหนเป็นเรื่องที่ท้าทายมากกว่า
ผมเชียร์ apple m1 มากๆ ตอนนี้กำลังรอให้มีโปรแกรมทยอยเข้ามาเยอะๆก่อน ถึงวันนั้น ซื้อแน่!!
@ppnotp28694 жыл бұрын
+1
@MrYingPhangan4 жыл бұрын
ผมก็เชียร์
@smolgust67124 жыл бұрын
ผมก็เชียร์
@rootspiderman4 жыл бұрын
มันคงจะติดปัญหาของ program ยุคเก่าถ้าทำตัว visual programs ขึ้นเพื่อให้ลองรับการทำงานของระบบ x86 ให้ทำงานบน arm Microsoft ทำแล้วแต่ยังไม่สมบูรณ์เพราะติดปัญหาหาเยอะมาก Microsoft รอเวลาเมื่อถึงวันที่ระบบทำงานสมบูรณ์กว่านี้ครับและ cpu arm มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ซึ่ง Apple เลือกทางที่พี่หลามบอกครับคือ เอาระบบ Mac ย่อยระบบเล็กลงแทนแต่มีคำถามว่า program ของ Mac OS ต้องเขียนใหม่หมดใช่ไหมเรื่องนี้อาจจะต้องรอเวลาการ port program จากเจ้าของโปรดัก ถ้าเป็นเรื่อง server ยังไงต้องอยู่กับ x86 ในตอนนี้ เพราะต้องรอการมาของ cpu แสง ที่กำลังพัฒนาจะไปใช้กับ computer ควอนตัมต้องรอดูกันต่อไปครับ
@gcufyfydufufyfyduf7220 Жыл бұрын
มั่ว
@araiyo60054 жыл бұрын
ทุกวันนี้ ARM ไม่ได้มีแค่มือถือ มีใช้งานที่เป็น Single Board Computer และเป็น Fan less ด้วย โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมก็ใช้ ARM ทั้งนั้น ข้อดีของ ARM คือ กินไฟน้อย และ มี manufacturing ที่ใช้สถาปัตยกรรม ARM ก็เยอะ reliability ก็ดี และ cost develop ก็ไม่ได้สูงเทียบเท่า X86 ข้อจำกัดของ ARM ตอนนี้คือ prerformance อาจจะยังไม่เทียบเท่า และก็ยังไม่เห็น window 10 ตัวเต็มที่ run บน ARM ได้ เจอแต่ Window 10 IOT ซึ่งดูเหมือนทาง MS เองการอยากจะจับตลาดนี้ด้วยเช่นกัน
@Nat_suki4523 жыл бұрын
ก็มีแล้วไง MS SQ1 และ win10 for arm ก็ทำมานานแล้ว และมันพึ่งจะสมบูรณ์ในปีนี้
@chaistn37733 жыл бұрын
มันเป็นเรื่อง CPU แบบ CISC และ แบบ RISC นะครับ ไม่ใช่ X86 กับ ARM X86 เป็นแนวของ บ. Intel เป็น CISC ส่วน ARM เป็น แบบ RISC ดูที่ MCS-51 (บ.Atmel)กับ PIC16F877 (บ.Micro Chip) เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ ตระกูล CISC และ RISC :-)
@JTRCha3 жыл бұрын
คุณรู้จริง ชอบๆ Like รัวๆครับ
@nbtc3region35511 ай бұрын
แล้วเดี๋ยวนี้พวก Arduino, STM32, ESP32, Pi Pico ที่นิยมเล่นกันเดี๋ยวนี้เป็นแบบไหนครับ
สงสัยนิดนึงARMถ้าเอาตัวนี้มาเป็นตัวประมวลหลักแล้วเอา x86 มาเป็นตัวประมวลผลมันจะทำได้ปะทำเหมือนการ์ดจอ แบบ SLI ถ้ามันเป็นแบบนั้นแต่ถ้าเกิดเบื้องลึกไม่รู้สิแค่สมมุติเฉยๆทำคู่กันเหมือนเป็นระบบ Duoนำระบบ 2 ตัวมารวมด้วยกันหรือทำแยกแบบการ์ดจอแล้วจัดตำแหน่งชุดคำสั่งแยกเป็นชุดอันนี้สำหรับสถาปัตยกรรม Arm อันนี้สำหรับ x86แล้วส่งให้เข้าการ์ดจอให้ประมวลผลในรูปแบบคณิตศาสตร์เพื่อจะได้โชว์ภาพ OS > Ram > ARM >{GPU} ASCII > Ram > x86 > GPU = X
และการที่แอปจะทำงานได้ ทั้ง Hw arch , kernel, subsystem, รูปแบบการทำงาน ต้องเข้ากันได้ ถึงจะทำงานได้ ทุกอย่างเหมือนกันแต่ Hw arch ขัดแย้ง: รันไม่ได้ ไม่รู้จะสื่อสารกับ hw อย่างไร เช่น ARM64 Android app vs x86 Android App Kernel ขัดแย้ง: ไม่รุ้จะคุยกับ kernel อย่างไร >> คุย hw ไม่ได้ เช่น x86 linux binary vs x86 windows nt binary Subsystem ขัดแย้ง: คุยกับ subsystem ไม่ได้ >> สั่งงานให้กับระบบปฏิบัตการไม่ได้ และคุยกับ kernel ไม่ได้ เช่น armv64 binary สำหรับ linux desktop vs armv64 binary สำหรับ android terminal รูปแบบการรันขัดแย้ง: ไม่มีช่องทางในการสื่อสารกับ subsystem/kernel เช่น python vs javascript ซึ่ง (cross-kernel, cross-platform, cross-arch ทั้งคู่ แต่สองชนิดรันข้ามกันไม่ได้
@nuttapongpunpipat9182 жыл бұрын
Arm windows nt win32 app กับ arm Android app เลยรันไม่ได้ทันทีเพราะติด - kernel: nt and linux - subsystem: win32 and Android การ emulate จะทำแปลงทั้งสองอย่าง คือ kernel กับ subsystem ซึ่งวิธีที่น่าจะดีในความเห็นผมคือ ทำ VM เพราะจะแปลงได้ง่ยและครอบคลุม แต่ช้า แต่ arm ios app vs arm mac app มันติดแค่ไม่กี่อย่าง Subsystem: ios system vs mac system การแปลงก็แค่ สร้าง compatibility layer ให้กับ ios/ipad subsystem พอมี compatibility layer แล้วจะพบว่า แอปมันรันบน native โดยตรงกับ apple kernel (ทั้ง ios/mac รันบน kernel ที่ execution เข้ากันได้) ก็คือเป็นแอป native กินแบตไม่มากเหมือน vm กินเหมือนแอปปกติเลย >> แอป ios/ipad ทำงานได้เร็วเท่าแอป macc m1 และนั่นทำให้แอป ของ mac m1 ไม่น้อยลงเท่าไหร่ เพราะรัน ios ipad app ได้ และจากกระแสเชื่อว่า mac desktop app for m1 จะทยอยเพิ่มขึ้น พอแอป ios ipad มันทำแบบนั้นได้ การพอร์ตให้เป็น desktop app ก็ทำได้ไม่ยาก แค่เปลี่ยน subsystem กับ ตัวโปรแกรมให้ใช้ได้ดีกับ desktop แต่สำหรับฝั่ง windows เมื่อเปลี่ยนมาเป็น arm เพราะกระแสน้อยบวกกับ - แอปที่เคยรัน บน windows คือแอป win32 x86 app รันแล้วช้าลงมาก (สำหรับ x86 mac พอมารันก็จะช้าลง แต่ช้าไม่มาก น่าจะเพราะการออกแบบด้วย) ถ้าผรับปรุงความเร็วให้เท่า rosetta จะดีมาก ๆ - แอป มือถือ ไม่สามารถรันบน windows arm ได้อย่างง่ายด่ยเพราะนอกจาก subsystem แล้วยังติด kernel อีก จำเป็นต้องใช้ vm ทำให้ไม่คุ้มเท่าไหร่ที่จะทำแบบ ios ipad app to mac m1 และการทำ win32/uwp x86 emulator น่าจะคุ้มกว่า ทำให้สรุปได้ว่า ตราบใดที่ แอป win arm ไม่มากพอจนเป็นกระแส และตัว x86 emulator ยังไม่ดีพอ ก็ยากมากๆ ที่ windows arm จะดังได้ ส่วนตัวไม่อยากให้ ms ลงทุนกับ android subsystem emulator มากนัก เพราะคนที่ใช้ windows มักไม่ใช้ android vm รันแอป android อยากให้ไปลงทุนกับ x86 emulator แต่ก้เข้าใจเพราะติดภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของ intel, amd ด้วย ผนวก arm chip นอกจาก m1 ที่ช้า แต่ถึงกระนั้น ก็ยังเสียเปรียบหน่อยๆอยู่ดีเพราะ นอกจากแอป win32/uwp arm แล้ว ก็ไม่มีแอป consumer popular ใดที่สามารุรันแบบ native บน windows arm ได้เลย X86/Android/Linux app ก้ต้องผ่าน emulator อยู่ดี ถ้ากลับกันเป็นฝั่ง linux desktop ก็ยังได้เปรียบตรงที่ทำ compatibility layer รันแอป android ได้แบบ native (ถ้าไม่ติดเพราะคนพัฒนาน้อยเลยคืบหน้าช้านะ) เอาจริงถ้า linux desktop app มีแอปมากตอบตลาดลูกค้าได้เหมือน windows นะ แล้วทำ android compatibility layer นะ สู้ windows ได้แน่นอน (เรียกว่าไล่เรี่ยกัน) เร็วกว่า windows กินสเปคน้อยกว่า เพราะพอคนใช้งายเยอะ linux ก้จะลดความ power user เพิ่ม user friendly ไป
@nuttapongpunpipat9182 жыл бұрын
ส่วนใครที่งง ว่า ภาษา programming ไม่ได้เป็นปัจจัยด้วยหรือ ยกตัวอย่าง c vs c++ บน x86-64, winnt, win32, native binary ทั้งสองภาษาสามารถให้แอปในรูปแบบดังกล่าวได้ แต่แค่การสร้าง binary ต่างกันตรงภาษาที่ใช่กับตัว compiler ของภาษานั้น แต่ java vs javascript vs c ภาษาต่างกัน และแอปจากสามภาษารันข้ามกันไม่ได้ ไม่ใช่เพราะตัวภาษาโดยตรง แต่เพราะปัจจัยที่ต่างกันของ: รูปแบบ: javascript รันบน javascript engine, java รันบน java virtual machine, c รันแบบ native บน kernel
@popguy12344 жыл бұрын
ยังไง x86 ก็ยังอยู่ดีเหมือนเดิมนั่นแหละครับ จะ 10 ปี 20 ปี 30 ปี ก็เหมือนเดิม แค่จะแยกกันชัดเจนมากขึ้น และจะเห็นว่า Apple ผูกขาดมากขึ้น
@romeoro38824 жыл бұрын
ก่อนหน้านี้ Microsoft ก็ทำ Windows on ARM ด้วยCPU SQ1 เปิดตัวมาตั้งแต่ปี2019 ก่อน M1 ฝั่งApple แต่มีปัญหาเยอะมาก Apple เหมือนเห็นปัญหาฝั่ง Microsoft มาพัฒนาแก้จุดที่มีปัญหาาของMicrosoft จนตอนนี้ดีกว่า Microsoft เองก็ออกCPU SQ2 มาต้นเดือนพย.ที่ผ่านมา ดีกว่าตัวเก่ามาก จนตอนนี้เหลือแค่บริษัทโปรแกรมเฉพาะทางต่างๆเช่นAbobe ออกแบบให้รันARMให้ได้สมบูรณ์
@lvpubgmobile14284 жыл бұрын
ผมเชียร์ SQ1 สุดใจครับ อยากให้ผลัดดัน Laptop ย้ายไปสู่ arm ทั้งหมด.
ถึง ARM จะดูดีกว่า มีอนาคตที่ดีกว่า x86 ในตอนนี้ แต่ตัว CPU x86 ถึงจะกินไฟเยอะ ก็สามารถถอดรหัสคำสั่ง ARM ได้เหมือนกันนะครับ แถมทำงานได้ค่อนข้างดีเลยด้วย แน่นอนว่า ARM ก็รันได้ แต่ถ้าจะให้รันชุดคำสั่ง x86 จริง มันยังดูหนักไป
@mercyocean15544 жыл бұрын
ที่มันหนักไปเพราะ cpu ARM มีขนาดเล็กมากเพราะต้องใส่ใน มือถือ แทปเล็ต แต่ข้อจำกัดมันจะหายไปเมื่อมาใส่ใน notebook pc ซึ่งขนาด cpu ใหญ่กว่ามาก นั่นคือ สิ่งที่เขากำลังทำเพราะ สถาปัตยกรรม risc มันไม่ได้ช้าหรือไม่แรงนะครับเข้าใจซะใหม่ ไม่เกี่ยวเลย ความแรงอยู่ที่การออกแบบชิปต่างหากล่ะ จำนวนทรานซิสเตอร์ จำนวน core การออกแบบชิป ซึ่งข้อจำกัด cpu ARM ที่ผ่านมาคือขนาด เพราะมันถูกบังคับให้อยู่ในอุปกรณ์ที่กินไฟน้อย แต่มันมี supercomputer ที่ใช้สถาปัตยกรรม risc ด้วยนะ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า เรื่องสถาปัตยกรรม risc มันไม่ได้แรงน้อยกว่าเลยตรงข้ามมันทำงานได้รวดเร็วกว่าด้วย ดังนั้นถ้า cpu ARM มีขนาดใหญ่ขึ้น มันก็แรงขึ้นได้ไม่ยากเลย
@SpecCrazy4 жыл бұрын
ผมไม่ได้พูดถึงขนาดครับ CPU ARM ผมไม่ได้บอกว่ามันไม่แรง ผมแค่บอกว่ามันยังหนักไปสำหรับ CPU ARM เพราะคำสั่งของ x86 มันซับซ้อน นั่นเป็นสาเหตุที่ว่า ทำไม CPU ARM ถึงมี Core Thread เพิ่มขึ้นมาเร็วกว่า CPU x86 ขนาดตัว A64FX 1 Core ก็มี 4 Threads แล้ว แล้วก็ CPU x86 ก็สามารถทำชิปเล็กเท่า ARM และแรงเท่ากันได้นะครับ ไม่เกี่ยวกับขนาด
@wityazone14883 жыл бұрын
แรมไม่ได้ส่งคำสั่งไปที่ CPU แต่CPU เอาข้อมูลไปเก็บที่แรม และเรียกใช้ ผมเข้าใจว่าแรม มีหน้าที่เก็บไว้เฉยๆ ทุกอย่างเข้าออก cpuเป็นผู้จัดการ
@kengittiponАй бұрын
Apple ได้เปรียบกว่าครับเพราะ OS ของ Apple ทำงานโดยไม่ต้องพึ่ง Driver แต่วินโดว์ถ้าเปลี่ยนมาเป็นอาร์มก็ยังต้องพึ่ง Driver อยู่เพราะการทำงานของวินโดว์ยังต้องอาศัย Driver ซึ่งบริษัทที่ผลิตอุปกรณ์จะต้องผลิตซอฟต์แวร์ที่รองรับอาร์ม 64 ซึ่งมันยากกว่าโอเอสที่ไม่ต้องอาศัยไดเวอร์ในการทำงาน
@Leung_ta_long4 жыл бұрын
ดีนะไม่เล่าตั้งแต่ Z80 แฮร่ เท่าที่รู้มา การ Coding OS ส่วนใหญ่จะใช้ C เพราะ เป็นภาษาระดับที่ Hardware เข้าใจ
@wasinpromsonti93024 жыл бұрын
ตอนนี้ดู RISC V กับ ARM ครับ สงครามการค้า ระหว่าง จีน กับ อเมริกา
@CyberSnake3484 жыл бұрын
ผมว่าที่ MS ทำไม่ได้ ไม่อยากทำเพราะ kernel ไม่ใช่ linux ต้องเขียนใหม่ยกยวงหรือเปล่า
intel เคยเอา CPU ตัวเองมาลง Mobile และเป็น x86 ตอนนั้นน่าจะ intel atom ส่วนตัวคิดว่าดีพอสมควรเลย
@jod7788954 жыл бұрын
apple เคยมีประสบการณ์การย้าย platform มาครั้งหนึ่งแล้วสมัย mac ใช้ cpu ของ moto มาใช้ cpu ของ intel (x86) เลยมีคนเอา notebook ที่ออกแบบสำหรับ windows เอา mac os มายัดลงไปและทำงานได้ อีกอย่างการเอา สถาปัตยกรรมรุ่นทวด มี H/D แค่ 30 m ใช้งาน เทียบกับรุ่นเหลน แล้วมาบอกว่าดีกว่า เอา discrete ic มาเทียบกับ 7 nano chip ได้ไง
@siamchanelby4 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับพี่หลามความรู้ล้วนๆตอนนี้ผมรู้จักแล้ว ว่า x86 กับอาร์มมันแตกต่างกันอย่างไร มันเป็นอย่างนี้นี่เองครับแต่ติดตามตอนต่อไปนะครับขอบคุณครับพี่หลาม
@TheDiagonalo3 жыл бұрын
สุดยอดครับ ep ต่อไปอยากให้ทำเรื่อง หลักการของ application ครับ
@karnjansuriyawat75384 жыл бұрын
พี่หลามย่อย x86 กับ arm มาเล่าให้ฟังแบบเข้าใจง่ายมากกกกก สุดยอดจริง ๆ
ไม่ใช่ครั้งแรกที่ Apple จะกลับไปใช้ CPU สถาปัตยกรรมแบบ RISC - ถ้าย้อนกลับไปช่วงปี 1994 Apple ได้ทำ Mac OS 7 (System 7.1.2) เพื่อซัพพอร์ต CPU PowerPC 601 ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ RISC ในเครื่อง Power Macintosh 6100 - และย้ายกลับไปอีกครั้งปี 2006 ได้ทำ Mac OS X Tiger (10.4) หันกลับไปใช้ CPU Intel’s Core 2 Duo ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ CISC ในเครื่อง iMac (Late 2006) - และก็ย้าย (อีกแล้ว) ในปี 2020 ได้ทำ macOS Big Sur (11.0) ไปใช้ CPU Apple M1 (ซื้อแบบ Core CPU จาก ARM) ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ RISC ในเครื่อง MacBook Air , MacBook Pro และ Mac Mini
@weerapahatsune89933 жыл бұрын
พี่หลามทำนายไว้วันนี้ ipad มาใช้ชิพของ ARM แล้วครับ
@yanaputzaa55043 жыл бұрын
แทบทั้งคลิปแทบสรุปได้ถูกต้องทั้งหมด แต่ติดอยู่อย่างนึงตรงที่ยกตัวอย่างโปรแกรมเวิร์ดแล้วเทียบว่าบนมือถือไม่ซับซ้อนเท่าบนคอม อันนี้น่าจะยังไม่ค่อยถูกต้องเท่าไหร่ เพราะสถาปัตย์ทั้งสองแตกต่างกันที่การเขียนคำสั่งเท่านั้น ถึงอย่างนั้นทั้งสองก็สามารถเขียนให้ประมวลผลคำสั่งที่ซับซ้อนได้เหมือนกันทั้งคู่ (แค่ต้องเปลี่ยนรูปแบบการเขียนหน่อย) ดังนั้นจึงไม่ส่งผลกับฟังก์ชันและการออกแบบ ui ของแอพแน่นอน ที่ word หรือโปรแกรมต่างๆ บนมือถือมักจะถูกออกแบบมาให้ minimal ฟังก์ชันน้อยกว่าบนคอมเพราะโดยปกติมือถือจะถูกใช้งานทั่วไป ไม่ได้ใช้งานหนักหรือจริงจังมากเท่าไหร่ การใส่ฟังก์ชันเลยใส่มาให้แค่พอดีใช้เพื่อประหยัดพื้นที่ กลับกันพอเริ่มเป็นฝั่งแท็บเล็ตหรือโน้ตบุ๊คที่ใช้ arm ก็มีฟังก์ชั่นเยอะปกติไม่แพ้ x86 pc เลย เพราะผู้พัฒนาเขาเขียนใส่ให้แล้ว อีกอย่างที่สองคือแอพบนมือถือมักจะโหลดฟรีเป็นส่วนมาก หลายแอพจะล็อกฟังก์ชันระดับสูงไว้สำหรับตัวโปรที่เสียเงินซื้อเท่านั้น ทางชุด office ก็ใช้โมเดลนี้เช่นกัน