SMR โรงไฟฟ้านิวเคลียร์จิ๋วเปลี่ยนเกมพลังงานไทย | Secret Science EP.12

  Рет қаралды 122,322

THE SECRET SAUCE

THE SECRET SAUCE

Күн бұрын

Пікірлер: 427
@TheSecretSauceTH
@TheSecretSauceTH Ай бұрын
01:48 เกริ่นนำ 04:50 ทำไมโลกให้ความสนใจเรื่อง SMR 14:33 ปัญหาของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาดใหญ่คืออะไร 19:56 ความเสี่ยงของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาดเล็ก (SMR) 26:35 กระบวนการทำงานโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั่วไป 35:05 ความคุ้มค่าในการลงทุนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาดเล็ก 42:11 ร่างแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ PDP 2024 45:38 ประเทศไทยควรมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาดเล็ก (SMR) หรือไม่
@trumanyoutub
@trumanyoutub Ай бұрын
รอนิวเคลียร์ฟิวชั่นดีกว่า สะอาดกว่า และไม่มีกากกัมมันตรังสี SMR กว่าจะสร้างเสร็จ นิวเคลียร์ฟิวชั่นมาพอดี
@FatherTellStoryToChild
@FatherTellStoryToChild Ай бұрын
ก่อการร้ายง่าย โดรน มาบอมบ์เลยจบๆๆ มีกลุ่มก่อการจัดแน่นอน ง่ายมาก
@FatherTellStoryToChild
@FatherTellStoryToChild Ай бұрын
เคน ไปหาความรุ้เรื่อง นิวเคลียร์ ฟิวชั่น ฟิชชั่น เขาไม่สร้างกันแล้ว แต่จีน มันบริษัทรับสร้างมันแค่ทำโมเดลธุรกิจ ญี่ปุ่น เขาไปฟิวชั่นแล้ว รอฟิวชั่นดีกว่าเยอะ มากๆ
@PattanapongGap
@PattanapongGap 8 күн бұрын
ขอบคุณมากครับ
@dong3349
@dong3349 Ай бұрын
ทำไปโลดครับ เทคโนโลยีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ยิ่งเป็นยุคใหม่นี้ปลอดภัยมาก แต่คนไปติดภาพจำจากเหตุการณ์เชอร์โนบิลซึ่งเป็นเทคโนโลยีเมื่อ 40-50 ปีก่อน มันคนละเรื่องกับตอนนี้เลย ใครไม่เข้าใจลองไปดูคลิปนายอาร์มครับ
@ไพรัชมีสุข
@ไพรัชมีสุข Ай бұрын
งั้นไปสร้างเเถวบ้านคุณนะครับ ทีว่าปลอดภัย และหาวิธีกำจัดกากนิวเครียร์ด้วยนะครับ
@jobnakkaew1211
@jobnakkaew1211 Ай бұрын
@@ไพรัชมีสุขถ้าให้ใช้ไฟฟรี 30 ปี ผมเอาครับ มาตั้งบ้านผมได้เลย
@rocky.s9035
@rocky.s9035 Ай бұрын
@@ไพรัชมีสุข มาเลยครับ กลัวหัวหดต่อไปตามบาย
@FuHaruka2545
@FuHaruka2545 Ай бұрын
@@ไพรัชมีสุข ผมกำลังปลูกบ้านที่นาของผมคับ เอามาตั้งไว้ไกล้ๆได้คับ แต่ผมต้องได้ใช้ไฟฟ้าฟรียะคับ เพราะบ้านผมยังไม่เดินไฟมา กำลังจะติดตั้งโซล่าเซลอยู่คับ คุณลุงไพรัช มีสุข
@weibhexe5997
@weibhexe5997 Ай бұрын
@@ไพรัชมีสุข ไม่ศึกษา ถึงได้กลัวสินะครับ
@bordinsuetrong
@bordinsuetrong Ай бұрын
วิศวะนิวเคลียร์ เป็นสิ่งที่น่าเรียนมากครับ สำหรับเด็กที่กำลังจะจบ ม ปลาย ในวันนี้ ถ้าจะต่อโท ควรเลือกมหาลัยที่มี reactor ให้เล่นนะครับ โลกกำลังเข้าสู่ยุคที่ portable reactors เป็นเรื่องปกติ สะอาด ปลอดภัย และจำเป็น มันจะสร้างความเจริญ สร้าง smart farms และความมั่นคงทางพลังงานให้ชนบทของประเทศ
@bjw7666
@bjw7666 Ай бұрын
รุ่นนี้เรียนไปคงหางานทำยากหน่อย ต้องรุ่นเหลนของพวกเราครับ คงพอเริ่มมีงานให้ทำละ 😂
@m.parkdee9218
@m.parkdee9218 Ай бұрын
คิดจะทำงานสายนี้คงหวังเมืองนอกเป็นหลัก พอรู้จักดอกเตอร์ด้านนี้จากเมืองนอกด้วยทุนมหาลัยรัฐ กลับมาต้องเปลี่ยนสายสอนด้านอื่น เพราะมหาลัยให้ทุนไม่มีศักยภาพในโครงสร้างพื้นฐานด้านนี้.
@bordinsuetrong
@bordinsuetrong Ай бұрын
เราอาจมองว่าจบวิศวะนิวเคลียร์แล้วหางานยาก แต่... ปัญหาเรื่องสังคมสูงวัย, generation gap และ ปัญหาเรื่องสมองไหล เป็น known issues ระดับชาติครับ เด็กไทยวันนี้ต้องเจอเรื่องพวกนี้เข้าเต็มๆแน่นอน มันเป็นชีวิตเขาที่ต้องคิดเองแก้เองให้ได้ เมื่อแก้ไม่ได้ก็ควรหาทางเปลี่ยนปัญหาให้เป็นโอกาส ถ้ามีเพื่อนเป็นอาจารย์วิศวะในสถาบันระดับ top ลองคุยเรื่องต่างชาติเข้ามา hunt วิศวกรจบใหม่ของไทยดูสิครับ นักศึกษาวิศวะที่เก่งจริง (ไม่ใช่เก่งแค่ทำข้อสอบ) ในทุกภาควิชารวมถึงวิศวะนิวเคลียร์ ถ้ามีการสื่อสารที่ดีกับโลกภายนอก หางานไม่ยากหรอกครับ แต่คงต้องเตรียมตัวให้พร้อมสำหรับตลาดงานของโลกหรืองานในประเทศเพื่อนบ้านเราไว้บ้าง แม้แต่ในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ ที่โรงเรียนเขาก็สอนเด็กให้พร้อมแข่งขันในระดับโลกครับ วันประชุมผู้ปกครองยังมีแอบสอนพ่อแม่ให้เข้าใจเรื่องพวกนี้เพื่อเตรียมความพร้อมให้ลูกหลาน สมัยนี้งานดีๆ ไม่ได้รอให้ talent มาสมัคร หรือดูแค่ transcript แล้วครับ เด็กจบใหม่ส่วนใหญ่ไม่มี work experience อะไรมาก นอกจากผลการเรียน เค้ารู้จักคุณจาก community, recommendation, award, publication และ contribution ที่คุณมีให้กับวงการ รวมไปถึงความเข้ากันได้กับวัฒธรรมองค์กร และคุณมีเวลา 4 ปีในชีวิต ป ตรี ที่จะสร้างสิ่งเหล่านี้เพื่อเข้าแข่งขันในตลาดโลก ถ้าคุณจบมามีแค่ใบปริญญา ภาษาอังกฤษก็ไม่ได้ เพื่อนฝูงก็ไม่มี ไม่ว่าจะจบอะไรก็หางานยากทั้งนั้นครับ เพราะคุณกำลังขายของที่ตลาดไม่อยากซื้อ ในที่สุดต้องขายถูกๆ เข้าเรียนวิศวะได้ก็มีโอกาสดีแล้ว ถ้าเรียนเพราะชอบและมีเป้าหมายในชีวิต คิดจะเรียนต่อ ก็สะสม GPA ไว้เยอะๆ สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับอาจารย์ที่จบจากสถาบันที่คุณจะเรียนต่อไว้หน่อย (getting the recommendations and mentoring you need) ถ้าคุณเก่งจริง ส่วนใหญ่ก็จะมีอาจารย์หรือรุ่นพี่ และ community หรือ network ของคุณนั่นแหละครับ ชวนไปทำโน่นนี่ หาเงินได้ก่อนเรียนจบด้วยซ้ำ ไม่ต้องรอให้จบหรอกเพราะงานสมัยนี้เน้นแก้ปัญหา เน้นทักษะการลงมือทำ จากนั้นคนจ้างถ้าเขาพอใจจะแนะนำต่อ งานบางอย่างคุณ work from home สร้าง passive income ได้ด้วยซ้ำ เด็กจบใหม่มีความได้เปรียบเรื่องทันโลก ทันเทคโนโลยี อ่านงานวิจัยรู้เรื่อง บางคนได้ช่วยอาจารย์เขียนงานวิจัยและมีชื่อตัวเองอยู่ในนั้นให้คนเห็นทั้งโลก ถ้าสนใจเรียนวิศวะเพราะงานและเงิน ลองพิมพ์ What is the highest paid engineer? ในกูเกิลนะครับ แล้วดูเป็นแนวทางว่า รายได้ต่อปีของ nuclear engineers เทียบกับสาขาอื่น เป็นอย่างไร และผมแนะนำให้ลืมเรื่องโรงไฟฟ้า ลืมเรื่องกากนิวเคลียร์เรืองแสงสีเขียวๆที่เห็นในหนังไปก่อน แล้วศึกษานิดนึงว่า portable nuclear reactor คืออะไร SDGs คืออะไร ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางพลังงาน สำคัญอย่างไร เวลาขับรถไปเที่ยวต่างจังหวัด ลองดูเครือข่ายถนนที่กำลังก่อสร้าง ดูระบบ logistics ที่กำลังจะเกิด ดูทุ่งนา ดูสวน ดูแหล่งน้ำ ดูชีวิตชนบท ดูวิธีการรับจ่ายเงินจากมือถือของพ่อค้าแม่ค้า แล้วจินนาการถึงวันที่ smart farms (จริงๆคือ smarter farms) ไปเกิดแถวนั้นสิครับ วันที่ลูกหลานกลับไปสร้างความเจริญความอบอุ่นให้บ้านเกิด เป็นฐานให้เกิดธุรกิจใหม่ๆ นี่คือมหาอำนาจบ้านนาชัดๆ อยากบอกว่า ในต่างประเทศ farmers คือครอบครัวคนรวย และเขาใช้เทคโนโลยีในการสร้างผลผลิตและธุรกิจครับ มันจะเกิดไม่ได้ถ้าไม่มีไฟฟ้า แล้วกลับมาศึกษาอีกทีนะครับว่า Generation IV reactor มันแก้ปัญหาอะไร และวิศวกรนิวเคลียร์ช่วยอะไรได้บ้าง สำหรับเด็กประถมวันนี้ อนาคตของน้องอาจอยู่ที่งานวิจัยด้าน Gen-V nuclear energy และ additive manufacturing
@Monkeyharikato
@Monkeyharikato Ай бұрын
รุ่นพี่ผมจบ สาขา ฟิสิกส์ นิวเคลียร์ มน. ปัจจุบันทำงานทหาร
@puimeena
@puimeena Ай бұрын
ลูกชายกำลังเรียนปีสามวิศวะนิวเคลียร์ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยา
@nineyeebs
@nineyeebs Ай бұрын
ควรมีนานแล้วครับ ไทยเป็นประเทศที่ไม่ค่อยมีภัยภิบัติธรรมชาติ คนไทยชอบติดภาพเชอร์เนอร์บิลกับฟุกุชิมะ แต่ทุกวันนี้ค่อนข้างปลอดภัยมาก ใช้ต้นทุนและพลังงานน้อย แต่ได้พลังงานเยอะ และเป็นพลังงานสะอาด 100% บางคนคิดว่าไอปล่องขวัญเนี่ยมันปล่อยขวัญละจะพลังงานสะอาดยังไง มันคือไอนำ้นะครับไม่ใช่มลพิษ เกิดจากเครื่องหล่อเย็นจนละเหิดเป็นไอนำ้
@ตรีจินดาวัฒน์
@ตรีจินดาวัฒน์ Ай бұрын
ไม่ควรมีนั้นถูกแล้ว ไฟฟ้าเมืองไทยเหลือกินเหลือใช้โรงไฟฟ้าสร้างไว้เฉยๆไม่ได้ใช้งานมีตั้งหลายโรงแต่ค่าไฟยังแพง ถึงจะมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แต่เชื่อเถอะว่าประชาชนก็ยังคงจ่ายแพงอยู่ดีคนที่ใด้ประโยชน์ก็แค่คนเพียงกลุ่มเดียว และอย่าไปเชื่อพวกนักวิชาการเหล่านี้เพราะพวกนี้ก็คือกลุ่มคนที่ใด้ประโยชน์ เราควรไปเน้นเรื่องพลังงานสะอาดพลังงานที่เราพึ่งตัวเองได้
@channel-nm4jh
@channel-nm4jh Ай бұрын
แล้วบริษัทกัลป์จะอยู่ยังไงล่ะครับพูดอะไรไม่รู้จักคิด
@MrMoth-ic9ym
@MrMoth-ic9ym Ай бұрын
@@ตรีจินดาวัฒน์ นิวเคลียร์ไม่ใช่พลังงานสะอาดหรอครับ
@beer1517
@beer1517 Ай бұрын
​@@ตรีจินดาวัฒน์ เหลือใช้ขนาดนั้นทำไมค่าไฟมันมีแต่ขึ้นครับ ขอความรู้
@Mr_DarK-NesS
@Mr_DarK-NesS Ай бұрын
​@@ตรีจินดาวัฒน์ไฟเหลือแล้วทำไมขึ้นค่าไฟล่ะครับ แพงขึ้นเรื่อยๆ แล้วบอกไฟเหลือ ปีหน้าก็จะขึ้นอีก
@somsakmaneepong1579
@somsakmaneepong1579 Ай бұрын
นายกใหม่ของญี่ปุ่นประกาศนำโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ปิดปรับปรุง มาเปิดใช้อีกครั้ง และเริ่มทดลองเดินเครื่องแล้ว เขาคงสู้ราคาพลังงานไม่ไหว และความต้องการพลังงานในอุตสาหกรรมใหม่สูงขึ้น
@BundidKungwannarongkun
@BundidKungwannarongkun Ай бұрын
39:48 highlights 😂กำลังตั้งใจฟัง ช๊อตฟิว ขำก๊ากเลยครับ ขอบคุณสำหรับเนื้อหาและสาระด้านพลังงาน
@cuzzeart
@cuzzeart Ай бұрын
ขำแห้งเลยครับช็อตนี้555
@mrzgamechannel77
@mrzgamechannel77 Ай бұрын
ดีจริง ค่าไฟจะำด้ถูกลงมากๆ
@asangphonchalee2002
@asangphonchalee2002 Ай бұрын
เจอสัมปทานไปอีก ความถูกจะหายไป
@KUROSAKIEJIKO
@KUROSAKIEJIKO Ай бұрын
มันไม่ถูกลงทันที่ครับเพราะมันยังมีค่าสร้าง และค่าเชื้อเพลิงอยู่แต่ก็ลดลง
@naipattaranun266
@naipattaranun266 Ай бұрын
คิดว่าไม่น่าจะถูก ถ้าให้เอกสารสร้าง รัฐต้องลงทุนเอง
@Tanapawnjardrith
@Tanapawnjardrith Ай бұрын
@@naipattaranun266 น่าจะยากครับรัฐทำเอง ไม่น่าพ้นนายทุน อย่างน้อยต้องผ่าน รัฐวิวาสหกิจขนาดกลางขนอดใหญ๋แน่นอน
@SiriVonNari
@SiriVonNari Ай бұрын
ตอนเจอแก๊สในอ่าวไทย เราก็พูดแบบนี้ละค่ะ😂
@Hethom
@Hethom Ай бұрын
ดีใจ และอยากเห็น ครับผม เชื่อว่าถ้าทำได้จริง เราลดการพึ่งพาการนำเข้าพลังงานได้มหาศาล
@fanchev2953
@fanchev2953 Ай бұрын
คนมีอำนาจที่เสียผลประโยชน์มันคง สกัดไม่ให้เกิดขึ้นอยู่ดี
@paradonraksakaeo3197
@paradonraksakaeo3197 Ай бұрын
​@@fanchev2953คนมีอำนาจที่เสียผลประโยชน์ ก็จะยุยงชาวบ้าน ให้ร้ายโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ว่าไม่ดีอย่างนั้นอย่างนี้ และแจกเงินให้ชาวบ้าน ออกมาประท้วงกัน ทั้งที่ชาวบ้านไม่รู้จริงๆว่าเทคโนโลยีนี้มันเป็นยังไง
@somaithongdee2374
@somaithongdee2374 Ай бұрын
ถึงมี โรงไฟฟ้า นิวเคลีย ก็ต้องใช้เชื้อเลงนิวเคลีย ที่ต้องนำเข้าอยู่ดี
@PattanapongGap
@PattanapongGap 8 күн бұрын
ความรู้ล้วนๆ ขอบคุณนะครับ
@sample299
@sample299 Ай бұрын
สนุก ได้ความรู้ ขอบคุณครับ
@NickyDIY101
@NickyDIY101 18 күн бұрын
อาจารย์อธิบายเข้าใจง่ายดีครับ ฟังเพลินเลย เรื่องเทคโนโลยีต่างๆเนี่ย ไทยไม่ติดปัญหาหรอก แต่พอเอกชนจะลงทุน มันจะเริ่มละ ไปติดไปชะงักที่เรื่อง ข้อกฎหมาย + การเมือง + กลุ่มทุน + หลักเกณฑ์ ต่างๆนานาๆ
@palmsutthinan8781
@palmsutthinan8781 Ай бұрын
ความกลัวส่วนใหญ่บนโลกมักเกิดจากความไม่รู้ วิธีสู้กับความกลัวที่ดีที่สุด ก็คือการทำความรู้จักกับมัน เพราะเมื่อเรารู้จักมันมากขึิน ความกลัวเราจะน้อยลงเอง เช่นเดียวกับนิวเคลียร์ เรากลัวเพราะเราไม่รู้ว่ามันอันตรายมากน้อยแค่ไหน เราจะหยุดยั้งความอันตรายนั้นได้ไหม หรือถ้ามันเกิดปัญหาเราจะรับมือมันอย่างไร ซึ่งความกลัวเหล่านี้สามารถลดลงได้ด้วยความรู้
@AllyApitchaya
@AllyApitchaya Ай бұрын
ชูป้ายไฟ อาจารย์สมบูรณ์ค่า 🎉
@MRTHANARAT
@MRTHANARAT Ай бұрын
00:30 พูดถึงดิติทัลวอเล็ทว่าแต่เมื่อไรจะได้ แต่จริงๆเอาเงินไปพัฒนาโครงการแบบนี้ก็ดีหรือไม่ก็ด้านโครงสร้างพื้นฐานในด้านต่างๆ เช่น แนวชายฝั่งกั้นนํ้าทะเล ไฟฟ้า เขื่ิอน ถนน คงจะดีกว่ามาแจกเงินสุดท้ายเงินที่แจกก็เข้านายทุนส่วนใหญ่อยู่แล้ว
@tobitobitobi890
@tobitobitobi890 Ай бұрын
เห็นคลิปของจารย์เจษฎ์ ที่ไปจีนเพราะ กฟผ. ชวนไป น่าสนใจมาก ๆ ได้เห็นแนวคิดใหม่ ๆ อีกเยอะ ถ้าเอามาใช้ได้จริง มีโครงการจริง คงช่วยลดราคาพลังงานในไทยได้อีกเยอะ หวังว่าจะไม่โดนนายทุนกินเรียบหมดก็พอ
@wayron..3386
@wayron..3386 Ай бұрын
มันก็เหมือนกับตอนเปิดชิงนั่นแหละ ครั้งแรก..ก็อาจจะยากและคิดหนัก แต่พอได้ลองแล้ว ก็ติดใจ อยากเอาอีก😅 😂 😊
@PbigPbig-g9z
@PbigPbig-g9z Ай бұрын
พูดได้ดีครับ
@m.parkdee9218
@m.parkdee9218 Ай бұрын
ที่น่ากลัวคือคุณภาพของคน ลองดูการทำงานหน่วยงานกำกับดูแล แค่เรื่องง่ายๆอย่างอุตสาหกรรมและมลพิษ ทุจริตคอรัปชั่นเป็นเหตุสำคัญ กับเรื่องปรมาณูที่หากเสียหายแล้วก็ยากแก้ไขนั้น การปนเปื้อนกรณีเหมืองทอง เหมืองตะกั่ว การลักลอบทิ้งขยะอุตสาหกรรมเกิดขึ้นตลอดเวลา ทั้งที่เป็นสิ่งที่เกิดความเสียหายต่อสิ่งเวดล้อมรุนแรงแทบเป็นไปไม่ได้จะทำให้เหมือนเดิม คำว่าการเตรียมพร้อมที่สำคัญคือคุณภาพคน คุณภาพระบบราชการ ความโปร่งใส ไม่อาจกำกับการจัดการตรงไปตรงมา ข้าราชการ/หน่วยงานกลัวเอกชนฟ้อง สิ่งต่างๆเกิดเพราะคน ถ้าจัดการเรื่องคนไม่ได้ก็ไม่ควรทำ.
@Tunner-d1u
@Tunner-d1u Ай бұрын
คิดแบบนี้ชาติไทยก็ไม่ต้องทำอะไรกันแล้ว จะทำอะไรก็บอกคอรัปชั่น อย่าทำเลย ก็หวังว่าเด็กรุ่นต่อไปจะปลดแอกกรอบความคิดคนไทยแบบนี้ได้ แทนที่จะมุ่งมั้นว่าเราต้องมี ต้องทำให้ได้ และทำไงถึงจะมีได้และต้องปลอดภัย กลับไปโฟกัสว่า เฮ้ยเดี๋ยวมีทุจริตนะอย่าทำเลย ปลอดภัยกว่า บ้านเราถึงได้ไม่ไปไหน เป็นประเทศกำลังพัฒนาตั้งแต่ผมเด็กๆจนป่านนี้จะเลข 5 แล้วก็เหมือนเดิม คนบ้านเรามีทัศนคติแบบนี้ไม่เคยมุ่งมั้นจริงจัง แบบมีแผนแห่งชาติแล้วมุ่งมั้นไปให้ถึง แต่เหยาะแหยะ ทำๆหยุดๆ กลัวปัญหา play save เป็นตั้งแต่ข้าราชการยันประชาชน จนเป็นเหมือนระบบความคิดประจำชาติเป้นแบบนี้ แทนที่จะตั้งเป้าและมุ่งมั้นไปให้ถึง ปัญหาหลักคือ คนไทยขี้กลัว ไม่กล้าเสี่ยงใดๆทั้งสิ้น ไม่แปลกใจที่ตามไม่ทันเขา
@mongkolieatk43
@mongkolieatk43 28 күн бұрын
คิดแบบนั้นไม่ต้องทำอะไรแล้ว..วัน เวลาเปลี่ยนไป ปัจจุบันทุกอย่างถูกควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ มีวิศวกรค่อยกำกับดูแล โรงงานแยกก๊าซ โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ โรงไฟฟ้าถ่านหินอันตรายพอๆ กัน ถ้าปล่อยปะละเลย ระบบเซฟตี้ต่างๆ เป็นเรื่องสำคัญ โรงไฟฟ้าถึงอยู่มาได้ทุกวันนี้
@customman1719
@customman1719 Ай бұрын
ไม่อยากถางป่าทำฟาร์มโซล่าเซลล์ หรือสละป่าทำเขื่อน ก็พลังงานนิวเคลียร์นี่แหละที่มีเสถียรภาพและสะอาด
@ppchanel4423
@ppchanel4423 Ай бұрын
กากมันเอาไว็ที่บ้านพี่ใช้ไหมครับ
@opartuaryporn9451
@opartuaryporn9451 Ай бұрын
ผมเอา โรงไฟฟ้านิวเคลีย มาสร้างใกล้ๆบ้านได้เลย ผมจบมาทางนี้เข้าใจเทคโนโลยี่ใหม่ๆ ไม่น่ากลัวอย่างที่คิด ญี่ปุ่นมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาเล็ก หลายโรง
@PAP.99
@PAP.99 26 күн бұрын
กากเค้าก็มีวิธีจัดการอยู่แล้วครับ….เผื่อยังไม่รู้ เรามีเตาปฏิกรณ์อยู่ในกรุงเทพมาหลายสิบปีแล้วครับ ไม่เห็นจะเป็นอะไร
@fedusks
@fedusks Ай бұрын
เรื่องระบบความปลอดภัยของตัวโรงไฟฟ้าไว้ใจได้แหละโรงไฟฟ้านิวเคลียร์สมัยใหม่มันไม่ได้ระบบล่มแล้วเร่งไปเรื่อยๆแบบรุ่นสมัยก่อนถึงไม่เจออุบัติเหตุใหญ่ๆกับโรงไฟฟ้าใหม่ๆเลย แต่ก็นั่นแหละซีเซียมไม่ได้ขายได้เท่าไหร่เลยอยู่ในสถานที่ที่ไม่ให้คนนอกเข้าไป อยู่เฉยๆยังหายได้ อะไรก็เกิดขึ้นได้ที่นี่
@sanook4673
@sanook4673 Ай бұрын
เห็นด้วยที่ไทยควรจะมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ครับ ควรจะมีตั้งนานแล้วด้วย แต่พอจะสร้างจริงชาวบ้านที่ไม่รู้เรื่องก็กลัวตั้งแต่ได้ยินชื่อ รัฐบาลควรออกมาให้ความรู้ว่ามันดีกว่ายังไงและปลอดภัยขนาดไหนคนจะได้ยอมรับและจะได้สร้างจริงๆสักที
@dogecoin3457
@dogecoin3457 Ай бұрын
มีได้แต่ ขอไฟถูกแบบ เติร์กเมนิสถาน ได้ไหม เดี๋ยวจะได้ขุดบิทคอยน์ทำเหมืองไปเลย😂
@gavintraithip6624
@gavintraithip6624 Ай бұрын
ปัญหามันมีเรื่องการหล่อเย็น ก็จัดตั้งในพื้นที่ใกล้เขื่อนเลยครับ หรือจุดที่น้ำท่วมขัง ที่ลุ่มมากๆ ได้ระเหยน้ำทิ้งด้วย น้ำที่มีมาก็ไม่ต้องใช้ระบบปั้ม ปล่อยไหลเข้ามาได้เลย
@plawan00021
@plawan00021 Ай бұрын
การหล่อเย็นแกนนิวเคลียร์มันซับซ้อนกว่าแค่การเอาน้ำไปทำให้เย็นลงมันเลยยากกว่าที่คิดมากๆ
@bankbank8477
@bankbank8477 Ай бұрын
มันต้องสังเคราะห์น้ำมวลหนักครับ น้ำธรรมดาปนเปื้อนตายแหละครับ
@rocky.s9035
@rocky.s9035 Ай бұрын
SMR ไม่ต้องกังวาเรื่องหล่อเย็นแล้วครับ แถมมันใช้พื้นที่แค่ 1% ของพื้นที่โรงงานนิวเคลียร์แบบดั้งเดิมด้วยซ้ำ
@user-rl4cj4en3g
@user-rl4cj4en3g Ай бұрын
ประเทศไทย แทบไม่มีภัยธรรมชาติ แบบ รุ่นแรง ได้เปี่ยบไป ครึ่งหนึ่งญี่ปุ่น เจอหนัก กว่าเราเยอะ
@pipobpiya
@pipobpiya Ай бұрын
เห็นว่าจะไปทำตรงอุบลราชธานี
@panuvitkanghae8231
@panuvitkanghae8231 Ай бұрын
ฟัง 9arm เพิ่มจะเข้าใจขึ้นมาก
@PrasongLimsirichai
@PrasongLimsirichai 4 күн бұрын
น่าจะ ทำวิจัย สร้างต้นแบบ กันได้
@esildu1
@esildu1 Ай бұрын
สนับสนุนครับ ไอที่มันเกิดอุบัติเหตุก็เพราะภัยธรรรมชาติครั้งใหญ่เท่านั้นแถมเป็นเทคโนโลยีเก่าๆโรงไฟฟ้าเก่าๆ วิศวไฟฟ้าทุกๆคนที่เรียนมาแล้วมีความฝันถึงโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ทั้งนั้น
@lcezy7935
@lcezy7935 Ай бұрын
ผมโคตรสนับสนุนพลังงานนี้เลย เพราะรู้ว่ายุคนี้มันปลอดภัยมากและมีyewสูง สูงกว่าแสงแดด,ลม อีกซึ่งผมว่ามันถ่วงเวลามากพอให้เรา สร้างพลังงานแบบยั่งยืนจริงๆได้
@4ltima
@4ltima Ай бұрын
มันเกิดยากเพราะมีคนเสียผลประโยชน์ น่าเหนื่อยหน่าย
@srichaith.5766
@srichaith.5766 Ай бұрын
ใช่เลยกลุ่ม​ทุนที่ผลิต​ไฟฟ้า​ขายให้รัฐตอนนี้​ มันจะขายให้ใครล่ะทีนี้​
@Hiyaa-ks9sy
@Hiyaa-ks9sy Ай бұрын
​@@srichaith.5766กลุ่มทุนเค้าก็แค่ต้องลงทุนสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แบบในคลิปนี้ขายให้รัฐไงไม่อยากเพราะยังไงก็มีทุนอยู่แล้ว แต่กลุ่มที่น่ากลัวที่สุดคือกลุ่มที่ขายพลังงานเชื่อเพลิงต้นน้ำในการผลิตไฟฟ้าเช่นถ่านหินมากกว่าว่าจะขายให้ใคร
@Ekkyth88
@Ekkyth88 Ай бұрын
มันมาทำเองอยู่แล้วล่ะ ไม่ปล่อยให้ใครมาแข่งหรอก
@mongkolieatk43
@mongkolieatk43 28 күн бұрын
รัฐบาลต้องให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตเป็นผู้ริเริ่มก่อน ถ้าให้เอกชนทำคงยาก ไทยแลนด์ รัฐวิสาหกิจต้องเป็นแบบอย่างก่อน
@pansaks2743
@pansaks2743 Ай бұрын
ถ้ามีแล้วค่าไฟจะเท่าไหร่ครับ มันคือเตาปฏิกรณ์ในเรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ที่นำมาใช้เชิงพานิชย์ใช่ไหมครับ แล้วมันสามารถขนส่งด้วยเครื่องบินได้ไหมครับ
@TheedaWindows
@TheedaWindows 12 күн бұрын
ถ้าใช้ SMR ในนิคมอุตสาหกรรมน่าจะดี แต่ส่วนตัวคิดว่า ตามบ้านคนต่างๆ จริงๆแล้วเป็นไปได้ว่าทุกบ้านสามารถมีพลังงานสะอาดใช้ได้ด้วยตัวเอง คือ มีพลังงานจาก แสงอาทิตย์ ลมและน้ำ ใช้เอง เพราะจริงๆแล้ว พวกกังหันรุ่นใหม่ และพลังงานน้ำ เดี๋ยวนี้ก็ถูกลงมาก บางทีก็ทำเองได้ น่าช่วยกันคิดผลิตแผ่นพลังงานแสงอาทิตย์ให้ถูกลงอีกได้ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จริงๆแล้วทุกบ้านควรสามารถสร้างพลังงานเองได้ และถ้ามีครบทั้ง 3 แหล่งพลังงานในบ้าน ค่าเบ็ตเตอรี่ก็จะถูกลงมากๆๆเลย การที่ทุกบ้านผลิตไฟฟ้าได้เอง คือความปลอดภัยทางพลังงานที่แท้จริง เกิดสงครามหรืออะไรขึ้นก็จะไม่มีผลกระทบต่อสังคมประเทศชาติเป็นโดมิโน่ และพลังงานเหมือนได้ฟรีทั้งหมดจากธรรมชาติ ถ้าเป็นแบบนั้นคิดว่าเราคงไม่จำเป็นต้องลงทุนหมาศาลในพลังงานเหมือนปัจจุบัน ที่ลงทุนจริงๆคือ ความคิด นวัฒกรรม ที่ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ฟรีๆ เอาไปทำเองได้ หรือยริษัทจะเอาไปพัฒนาพิ่มเติมเพื่ออำนวยความสะดวกเป็นธุรกิจได้ ยกเว้นแต่ที่ที่จำเป็น เช่นนิคมอุตสาหกรรม และการบริหารจัดการมหึมา เช่น ท่อไฟ เสาไฟ ของการไฟฟ้าแห่งประเทศไทยก็จะลดความสำคัญลง หรือไม่จำเป็น เอาเงินตรงนี้ไปพัฒนาตรงอื่นแทน
@kercheng
@kercheng Ай бұрын
SMR นี่ ละลายก็ ละลายข้างในนั้นแหละ ไม่มีรั่วไหลเลย ปลอดภัยสุดๆ แถมถ้าละลายแล้วมันจะหล่อเย็นเองเลยแบบไม่ต้องกดปุ่มเลย ควรไปเปิดภาคใต้ เพราะโรงไฟฟ้าภาคใต้มีน้อยไม่พอเปิดนิคม
@user-rl4cj4en3g
@user-rl4cj4en3g Ай бұрын
พวก ล้อรถบัสก็ วิ้งเข้าไปทำระเบิด หมด😂
@ประยุท-ฃ4ฏ
@ประยุท-ฃ4ฏ Ай бұрын
เจอพวกเลาะบึ้มอ่ะดิ
@ctm-vo6dn
@ctm-vo6dn Ай бұрын
จากมุมมองนะ ประวัติศาสตร์ โคบอล 60 เป็นบทเรียนที่ดี่ ถ้าตอนนี้สามารถป้องกันได้แล้ว ก็ok
@SuaksornNiti
@SuaksornNiti Ай бұрын
ฟังแล้วมันขัดนิดนึง บอกว่า ขนาดเล็กแล้วจะปลอดภัย เพราะถ้าเกิน meltdown สามารถหล่อเย็นด้วยน้ำโดยไม่อาศัยพลังงานจากภายนอกเลย คือยังไม่เคลีย ถ้า meltdown ยังไงก็เอาจากที่อื่นมาปั่นปั๊มอยู่ดี บอกเอาจากน้ำตกลงมา เอาน้ำขนาดนั้นมาจากไหน ต้องสร้างใต้เขื่อนเหรอ แล้วเขื่อนไม่ใช้พลังงานในการ operate เหรอ ไม่เห็นจะต่างจาก รฟฟ ขนาดใหญ่เลย ถ้าจะต้องพึ่งพาภายนอกเหมือนเดิม
@Tunner-d1u
@Tunner-d1u Ай бұрын
แล้วไงต่อ ถ้าเขามีคำอธิบายที่ไม่ตรงใจคุณแล้วคุณจะทำไง คือ มันหนีไม่พ้นหรอก ยังไงพลังนิวเคลียร์ก็ต้องมา ทำใจเถอะ เพราะโลกยุคต่อไปจะใช้พลังงานที่เยอะกว่ายุคนี้อีกหลายเท่า รถไฟฟ้า AI หุ่นยนต์ ยังไงพลังงานไฟฟ้ามหาศาลจากพลังงานหมุนเวียนก็ไม่พอ พลังงานไฟฟ้าจากฟอสซิล ก็แลกกับมลพิษมหาศาลซึ่งโลกยุคต่อไปคงรับไม่ได้ ถ้ายังไม่มีเทคโนโลยีฟาร์มโซล่าเซลล์ในอวกาศ ถ้าไม่มีแหล่งพลังงานอื่นๆที่มีประสิทธิภาพพอยังไงพลังงานนิวเคลียร์มาแน่
@SuaksornNiti
@SuaksornNiti Ай бұрын
​@@Tunner-d1u ไม่ตรงใจ? ผมแค่ฟังแล้วไม่เคลียที่บอกว่า SMR ปลอดภัยกว่า ถ้ามีข้อมูลก็เสริมมาได้ครับ เพราะถ้าให้ผมโหวด SMR ตอนนี้ ผมไม่เอา เพราะไม่เห็นว่าปลอดภัยกว่า การสร้างโรงใหญ่ที่เดียว ก็เสี่ยง meltdown ถ้าขาดพลังงานภายนอกเหมือนกัน ทำไมต้องเอาความเสี่ยงไปกระจายหลายๆที่ด้วย บุคลากรยังไม่พอ สร้างโรงใหญ่ที่เดียวไม่ดีกว่าเหรอ
@SAMUROSANG
@SAMUROSANG Ай бұрын
ปกติ ระบบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จะมีระบบ safty แบบต้องต้องใช้ ไฟฟ้า กับไม่ใช่ทั้งคู่ครับ ในกรณีไม่ใช้ไฟฟ้า ตัว containment จะมี tank น้ำขนาดใหญ่อยู่ด้านบนเพื่อสามารถปล่อยน้ำจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำได้ และน้ำพวกนั้นสามารถนำไปใช้ลดความร้อนของ reactor ได้ครับ ส่วนที่ว่าต้องใช้น้ำมากขนาดนั้นเลยไหม ต้องเข้าใจคำว่า meltdown ก่อนครับ คือ คำว่า meltdown คือเชื่อเพลิงที่ได้รับความร้อนเกินจุดหลอมเหลวจนละลาย เพราะน้ำในที่รับความร้อนจาก reactor เกิดการเดือดขึ้น ณ ตอนนั้น reactor shut down ไปแล้วครับ การแก้คือการชดเชยน้ำส่วนนั้นและลดความร้อนของ reactor ครับ
@SuaksornNiti
@SuaksornNiti Ай бұрын
@@SAMUROSANG แต่สุดท้ายถ้าน้ำที่ปล่อยจากที่สูงหมด ก็ต้องใช้พลังงานจากภายนอกอยู่ดี คำถามคือ แล้วโรงเล็กกับโรงใหญ่มันจะแตกต่างกันตรงไหน สู้ไปสร้างที่เดียวที่ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ น้ำท่วม แผ่นดินไหว มีความมั่นคงทางไฟฟ้าสำรอง ไม่ปลอดภัยกว่ากระจายไปหลายๆที่เหรอ
@Blacky-1404
@Blacky-1404 Ай бұрын
@@SuaksornNitiวนกลับไปตรงที่เค้าบอกเรื่องเชื้อเพลิงครับ ตรงเมนทอสกับแท่งโมบาย SMRแท่งพวกนี้มันเล็กและมีปริมาณน้อยกรณีเกิดmeltdownถ้ายังไม่ทะลุchamberออกสู่ภายนอกน้ำที่เตรียมสำหรับเติมเข้าไปจะอยู่ได้72ชม. ระหว่างนั้นถ้าสถานการณ์ไม่เลวขนาดที่ฟุกุชิม่าจะมีระบบสำรองไว้ครับทั้งน้ำสำหรับเติมจากภายนอก ระบบปั๊มสำรองแบบน้ำมัน ส่วนที่บอกว่าทำไม่ไปสร้างในที่ปลอดภัยแล้วสร้างขนาดใหญ่ไปเลยมันก็จะวนกลับไปว่าทำไมถึงคิดสร้างSMRขึ้นมาครับ ถึงจะมีรฟฟ.ขนาดใหญ่ผลิตไฟให้จำนวนมากแต่มีที่เดียวปัญหาการซ่อมบำรุงจะเยอะมากครับ ทั้งระยะเวลาการหยุดเพื่อซ่อมบำรุงตามระยะเวลา ซ่อมฉุกเฉิน ส่วนเรื่องระบบสายส่งจะทีปัญหามั้ยยังไม่แน่ใจ
@honda7458
@honda7458 Ай бұрын
ทุนและความเสี่ยงของ SMR ต่างจากเขื่อนอย่างไรครับ?
@rocky.s9035
@rocky.s9035 Ай бұрын
SMR ใช้พื้นที่น้อยมากๆๆๆ ขนาดแค่ประมาณโกดังขนาดเล็ก-กลาง ก็เพียงพอแล้ว ไม่ต้องใช้น้ำหล่อเย็น ไม่ต้องมีคนคอยดูแล ตลอดเวลา โครงสร้างส่วนใหญ่อยู่ใต้ดิน ทนต่อภัยธรรมชาติทุกอย่าง ถึงเกิดปัญหาที่ตัวแกนก็ไม่ melt down และไม่ระเบิด และถ้าใช้พื้นที่แค่ประมาณ 2 งาน ก็ผลิตพลังงานได้เทียบเท่า solar cell 10 ตร.กม.
@suncarnegie4747
@suncarnegie4747 Ай бұрын
เม็ดยูเรเนียม นิวเคลีย กับโมบายกุ๊งกิ๊ง 😁😁😁 อาจารย์ ตะมุตะมิ มากมาย 😁😁
@Shawnchoy1
@Shawnchoy1 Ай бұрын
สนับสนุนโครงการนี้ค่ะ
@MananPrache
@MananPrache Ай бұрын
พัฒนา​ไปเถิด​ครับพัฒนา​ไปเรือย​ๆ​ หาสิ่งที่ดี่​ แต่ยังค่าไฟก็แพงอยู่ดี
@Ekkyth88
@Ekkyth88 Ай бұрын
ดีครับ ประเทศเราจะได้มีเจ้าสัวใหม่มาเพิ่มอีก
@พี่เฟิร์ส-ช8ภ
@พี่เฟิร์ส-ช8ภ Ай бұрын
มาตั้งแถวบ้านผมได้เลย แต่ขอได้ใช้ไฟฟ้าในราคาครึ่งเดียว โอเคเลย💯😂
@susuriyan
@susuriyan 14 күн бұрын
ไฟฟ้าสำรอง หรือที่เรียกง่ายๆ ว่าผลิตเกินความต้องการเกือบ 50% ทำมาหลายปีแล้ว ทำให้เราจ่ายค่าไฟเกินจริงมานาน และจะต่อเนื่องไปอีกนาน ถ้ามี รฟ นิวเคลียร์ จะลดไฟฟ้าสำรอง และลดค่าไฟได้ใหมครับ?
@YAN77766
@YAN77766 Ай бұрын
มาเลย มันบริสุทธิ์
@TahBang
@TahBang 11 күн бұрын
ผมก็เห็นตัวว่าประเทศไทยเราควรมีนะครับ ไปตั้งในจุดที่ไม่ค่อยมีภัยธรรมชาติ ก็ถือว่าปลอดภัยแล้วระดับนึง
@chaipatboonprasert1680
@chaipatboonprasert1680 Ай бұрын
ค่าไฟฟ้าจะถูกลงมั้ย ถ้าลงก็ ok
@tatabug007
@tatabug007 Ай бұрын
สมควรเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้านิวเคลียร์ เพราะมันสะอาดที่สุดแล้ว
@somkiatapisit6830
@somkiatapisit6830 Ай бұрын
เมื่อไหร่มันจะได้เท่ากับ ปฎิกรณ์ อาร์ค ที่อยู่หน้าอก โทนี่ สตาร์ค
@georgejdm9579
@georgejdm9579 Ай бұрын
เอาไปทำยานอวกาศได้ไหม จะได้ไม่ต้องเติมเชื้อเพลิง
@aerk5164
@aerk5164 Ай бұрын
ไม่มีใครอยากให้อยู่หลังบ้านหรอกผมว่าไม่งั้นคงสร้างที่กทม.เพื่อความมั่นใจครับ
@Ekkyth88
@Ekkyth88 Ай бұрын
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะสร้างใกล้ทะเล เพื่อความปลอดภัย กรณีมีอุบัติเหตุจะได้มีน้ำหล่อเย็นตลอด
@Tunner-d1u
@Tunner-d1u Ай бұрын
ก็ดีครีบมาสร้างเลยครับผมอยู่บางนา มาสร้างหลังบ้านได้เลย แต่ขอสิทธิ์พิเศษใช้ไฟฟรีหรือถ้าไม่ได้ลดราคาสัก 50% ก็ได้ บอกเลยไม่เคยกลัวเลยครับ เพราะขับขี่รถบนถนนมีโอกาสตายมากกว่าตายด้วยนิวเคลียร์ไม่รู้กี่แสนเท่า
@opartuaryporn9451
@opartuaryporn9451 Ай бұрын
@@Tunner-d1uถูกต้อง พลังงานถ่านหินไม่ได้ใช้แต่โรงไฟฟ้า รู้ไหมถ่านหิน มีโรงงานใช้รอบๆกรุงเทพ ไม่ต่ำกว่า 200 โรงงาน โรงงานอาหาร โรงงานสิ่งทอ โรงงานที่ต้องใช้ความร้อน ใช้ถ่านหินทั้ งนั้น เพราะต้นทุนค่าไฟมันแพง
@thanakornsatthai763
@thanakornsatthai763 Ай бұрын
ก็ดีนะครับ มาสร้างได้เลย แล้วส่งไฟไปภูมิภาคอื่นแทน โดยเฉพาะเส้นภาคใต้ จะได้ไม่เจอไฟตกไฟดับไฟไม่พอ จริงๆทำที่ภาคใต้ซักโรงนึงก็ช่วยกระจายความเจริญได้แล้ว
@PAP.99
@PAP.99 26 күн бұрын
กทม.มีเตาปฏิกรณ์มาหลายสิบปึแล้วครับ แถวๆเกษตร
@Isaraelran
@Isaraelran Ай бұрын
เริ่มช้าไป...ควรเริ่มให้เร็วกว่านี้...ยุคสมัยนี้หมดปัญหาเรื่องความปลอดภัยแล้ว
@piyapornkingnakonthong2806
@piyapornkingnakonthong2806 25 күн бұрын
คำถามจากคนธรรมดาคนนึง 1. มีแล้วค่าไฟฟ้าจะลดลงไหม ลดลงกี่เปอร์เซ็นต์ ถ้าผมต้องจ่ายค่าไฟฟ้าเท่าเดิมหรือน้อยกว่าเดิมแค่ 20% มันก็ไม่มีประโยชน์อะไรเลย เพราะจ่ายค่าไฟเท่าเดิมแต่ดันเพิ่มความเสี่ยงให้สูงขึ้นฟรีๆ 2. ใครเป็นคนได้ประโยชน์จากการมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์สูงสุด เงินจะไปอยู่ที่ใครมากที่สุด ขอให้เป็นประชาชนที่ได้ประโยชน์สูงสุดนะ ไม่ใช่นักการเมืองหรือนายทุน 3. เข้าใจว่าปลอดภัย แต่ถ้ามันมีเหตุเกิดจริงๆจะทำยังไง คุณต้องมีสัญญาประกันให้ครอบครัวละ 20-30 ล้านบาทด้วย ถ้าได้รับผลกระทบจากเหตุการต่างๆ และจ่ายโดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ จ่ายทันที ไม่งั้นใครจะเอาชีวิตไปเสี่ยง ถ้าปลอดภัยจริงๆก็ไม่ต้องกลัวที่จะทำประกันให้คนไทยทุกคน เพื่อให้เขามั่นใจว่าปลอดภัยจริงๆ
@perapongsangklay6902
@perapongsangklay6902 Ай бұрын
ยากครับ..สำหรับประเทศไทย คุณNGO และชุมชนที่อยู่ใกล้จุดสร้างผ่านด่านนี้ยากมากครับ
@duckyoutube-to5dk
@duckyoutube-to5dk 9 күн бұрын
เล็กชงเนี้ยดีมากๆ ผิดพลาด ก็ระเบิดลูกเล็ก ควบคุมได้ไว
@RetinaPig
@RetinaPig Ай бұрын
นับจากแนวคิดก็ใช้เวลาอีก 10-20 ปี คงจะได้เห็นและได้ใช้งาน.....
@mrredthailand
@mrredthailand Ай бұрын
ถ้าต้องการพลังงานไฟฟ้าที่เพียงพอละนะ ด้วยพลังงานฟิวชั่นยังเกินกว่าเทคโนโลยีปัจจุบันไปมาก เตาปฏิกรฟิวชั่นจะให้ความร้อนเป็นล้านล้านองศาในทีเดียวและเป็นระบบปิด เทคโนโลยีในปัจจุบันและอนาคตอันใกล้ เรายังไม่สามารถนำความร้อนเป็นล้านล้านองศาในเตาปฏิกรฟิวชั่นออกมาใช้ได้ และต้องการฮีเลียมสามเป็นจำนวนมากเพื่อให้ระบบเพียงพอที่จะทำงานได้ยาวนาน ฮีเลียมสามไม่มีบนโลกที่จะเพียงพอในการทำให้เตาฟิวชั่นทำงานได้ยาวนาน ซึ่งเราต้องทำเหมืองฮีเลียมสามบนดวงดาวเคราะห์ให้ได้ก่อน ดวงดาวดาวเคราะห์ใกล้ที่สุดที่มีฮีเลียมสาม ก็คือดวงจันทร์เราต้องทำเหมืองบนดวงจันทร์ให้ได้ก่อน และเราต้องมีเทคโนโลยีที่จะนำความร้อนที่เป็นล้านล้านองศาในเตาฟิวชั่นมาใช้ได้ ดังนั้นโรงงานไฟฟ้าแบบ SMRs จึงเป็นทางออกในปัจจุบันและอนาคตอันใกล้ เพื่อจะผลิตไฟฟ้าให้เพียงพอกับการใช้งานในปัจจุบันและอนาคต เอาแค่การชาร์จพาหนะที่ใช้ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า อีวี ในปัจจจุบัน และในอนาคตเครื่องบินเจ็ทต่าง ๆ ก็ต้องใช้พลังงานไฮโดรเจน เราต้องใช้พลังงานไฟฟ้าจำนวนมากในการผลิตไฮโดรเจนจากน้ำทะเล เครื่องบินเจ็ทเราใช้พลังงานไฟฟ้าในการขับเคลื่อนไม่ได้เพราะต้องใช้พลังงานไฟฟ้าเป็นจำนวนมาก แบตเตอรี่ที่จะใช้มันขนาดเป็นครึ่งหนึ่งของเครื่องบินเจ็ทขนาดใหญ่คือมันหนักมาก ถ้าต้องการให้ ยานบิน ใช้ไฟฟ้าจริง ๆ ก็ต้องใช้เตาปฏิกรไฟฟ้า SMRs อยู่ดีเพื่อใช้ในการขับเคลื่อนเครื่องยนต์อีเล็กโตรแมกเนติกพลามาเจ็ทได้
@FatherTellStoryToChild
@FatherTellStoryToChild Ай бұрын
ก่อการร้าย บอมบ์ ง่ายมากๆ โดรน ตุ้มมม จบ😂🎉
@Umie9dy
@Umie9dy 28 күн бұрын
วัตถุดิบสำหรับผลิตสำคัญที่สุด
@boonmatarasena9390
@boonmatarasena9390 Ай бұрын
ถ้า SMR เกิดปังขึ้นมา ความเป็นไปได้ในการตั้งฐานอาณานิคมในดาวจันทร์ หรือ ดาวอังคาร สถานีอวกาศขนาดใหญ่ในการบุกเบิกอวกาศในระยะยาว ก้อคงจะเป็นไปได้ ในการผลิตพลังงานปริมาณสูงในการใช้งานได้
@aeiou07734
@aeiou07734 Ай бұрын
ถ้าได้ลองศึกษา gen ใหม่ๆ แล้วไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิดเลย
@gozillaultraphone5788
@gozillaultraphone5788 Ай бұрын
ความเชื่อมั่นของประชาชนขึ้นอยู่กับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใช้เทคโนโลยีของใคร ไม่ต้องศึกษามากให้เปลืองงบ เอางบไปทำยังไงให้คนพื้นที่เข้าใจเรื่องความปลอดภัยและประโยชน์ที่ได้รับดีกว่า
@คนชั้นกลางมองอย่างกลาง
@คนชั้นกลางมองอย่างกลาง Ай бұрын
ติดตั้งประเทศเพื่อนบ้านแล้วส่งไฟมาไทยก่อน ไทบมักก่อปัญหาใหญ่ก่อนแล้วจึงแก้ไขและป้องกันตามหลังครับ ไทยจะเป็นแหล่งอาหารของโลก ตงพบอุปสรรคอีกครั้ง ความกังวลอาหารที่มีความปลอดภัย แหล่งท่องเที่ยงที่ปลอดภัย จะพังไหมครับ มองมุมผลกระทบต่อสังคมให้มากๆ เช่นเดียงกับเปิดกาสิโน
@misterkay3554
@misterkay3554 Ай бұрын
พลังงาน nuclear เป็นพลังงานที่สะอาดที่สุด ถ้ามีแผนทำจริง ควรให้ความรู้เกี่ยวกับ nuclear เเบบเข้าใจง่ายที่สุดกับประชาชนทั่วๆไปมากขึ้น
@thodsaponthannarin5091
@thodsaponthannarin5091 Ай бұрын
เรื่องของเทคโนโลยียอมรับว่าดีครับ แต่เรื่องของการคอรัปชั่นป็นเรื่องอันตรายมาก ที่จะทำให้ไม่ได้ของตามสเปกที่ออกแบบไว้ ลองมองย้อนกลับไปยังหลายๆโครงการที่หน่วยงานรัฐหลายหน่วยงานที่เป็นข่าวสร้างขึ้นมาแล้วมันไม่ได้สร้างคุณประโยชน์ให้กับสังคม(ไม่ได้พาดพิงกับนิวเคลียร์นะแต่เทียบเคียงกันให้ดูไว้เป็นตัวอย่างครับ) ถึงแม้ว่าจะเป็นเครื่องเล็ก แต่ถ้ามันมันจำนวนมากๆ มันก็น่ากังวลนะ
@rmpimp87
@rmpimp87 Ай бұрын
การจะเดินเครื่องนิวเคลียร์ได้ ต้องผ่านการรับรองขององค์กรต่างประเทศครับ ซึ่งการสร้างโรงไฟฟ้านิวเครียร์ จะไม่ได้จ้างผู้รับเหมาไทยอยู่แล้ว
@CXSORIOUS
@CXSORIOUS Ай бұрын
ดีครับ ลดใช้พลังงานถ่านหิน ลดโลกร้อน ราคาคาไฟถูกลง ไม่ต้องซื้อจากเพื่อนบ้าน
@เกชาเหลืองสุดใจชื้น
@เกชาเหลืองสุดใจชื้น Ай бұрын
ดีใจ ที่รายการความรู้เพื่อประโยชน์ของประชาขนแบบนี้
@wijakmuangsrinun8701
@wijakmuangsrinun8701 28 күн бұрын
เรือพลังนิวเคลียร์กับsmrต่างกันตรงไหน?
@Mr125312
@Mr125312 Ай бұрын
ตอนที่นี้ต้องเตรียมหาพื้นที่ก่อน เน้นห่างจากความเชื่อ ห่างพิกัดสงคราม พื้นที่ตามหุบเขาปิดล้อมน่าจะดีที่สุด
@thitipanlamomsai1636
@thitipanlamomsai1636 Ай бұрын
เผื่อใครกลัวและไม่รู้ ประเทศไทยมีเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์วิจัยขนาด1 MW อยู่บางเขนนะครับ 😂 โรงไฟฟ้านิวเคลียไม่ได้น่ากลัวขนาดนั้น ผ่านมา 50 ปี ระบบความปลอดภัยถูกพัฒนามาเยอะมากๆแล้ว
@apinj7831
@apinj7831 Ай бұрын
แล้วการรั่วไหลของรังสีละครับ
@patsakorn786
@patsakorn786 28 күн бұрын
ทำเลยครับแต่ต้องปล่อยภัยสูงสุด
@pak7524
@pak7524 Ай бұрын
ความปลอดภัยของตัวปฏิกรณ์ผมว่าโอเค ไว้ใจได้ แต่ติดนิดนึงตรงประเด็น การจัดการ ขยะนิวเคลียร์ ว่าจะจัดการได้รัดกุมดีขนาดไหน??
@Mueangthai66
@Mueangthai66 Ай бұрын
เป็นไปได้อต่ไม่ง่ายต้องมีความชัดเจน ความมั่นใจในความปลอดภัยนี่คือสิ่งที่คนกังวล และเคยเกิดกระแสต้าน จริงๆทันเคยมีแนวคิด ในรัฐบาลเก่า แต่มีกระแสต้านถึงเก็บเข้าลิ้นชัก
@lazgirl14
@lazgirl14 Ай бұрын
เป็นแผนเดียวของไทยที่ดูเข้าท่า ทันสมัย ทันโลก อาจจะคิดช้าไป แต่ดีกว่าไม่มีแผนเลย
@kitipongchenjalean59
@kitipongchenjalean59 Ай бұрын
ค่าบริการยังถือว่าสูงไปนะคะรับ เพราะราคาระดับเท่าๆกับก๊าซธรรมชาติแล้วนั้น ไม่น่าจะคุ้มค่านะครับ ในอนาคตอันใกล้นี้ ทุกอุตสาหกรรมในประเทศไทยจะเริ่มไปต่อไม่ไหวแล้ว หากไม่สามารถลดต้นทุนทางพลังงาน แรงงาน ค่าเทคโนโลยี ค่าวัสถุดิบให้ลงมาได้ทุกตัว อุตสาหกรรมทุกตัวจะต้องพังหมด
@rocky.s9035
@rocky.s9035 Ай бұрын
ถูกกว่านิวเคลียร์แบบเดิม 20% และลดพื้นที่ใช้สอยได้ 99% เลยนะ
@chokelovemom
@chokelovemom Ай бұрын
ค่าก๊าชที่เพิ่มขึ้นทุกปีๆ น้ำมันขึ้นตลอด เอาอะไรมารับประกันว่าอนาคตพลังงงานไฟฟ้าจะถูก ยกเว้นเรามีก๊าชเหลือเฟือ หรือใช้นิวเคลียร์ที่จ่ายแพงในครั้งแรกแต่อนาคตไม่ต้องสนเรื่องน้ำมันแพงก๊าชแพง สงครามเลยใช้ไปเรื่อยๆจนกว่าจะหมดอายุขัยของโรงงาน
@CIPN892
@CIPN892 Ай бұрын
อยากรู้แค่ มีแล้วค่าไฟถูกลงไหม สร้างเท่าไหร่ถึงจะถูกลง สร้างตรงไหน บ้านเรือนที่ใกล้โรงงานผลได้ผลเสีย ยังไง เช่นใกล้50โลค่าไฟฟรีเฉพาะบ้านเรือนตามระยะห่าง อยากรู้เรื่องนี้ เรื่องอื่นๆ มันไม่ได้ใกล้ตัวคน
@manoplaeli4027
@manoplaeli4027 Ай бұрын
จะโรงไฟฟ้าอะไร ค่าไฟก็แพงเหมือนเดิม ยกเว้นนายทุนขนาดใหญ่ ใช้ฟรี
@thechallengers1383
@thechallengers1383 22 күн бұрын
ถ้าเปลี่ยนเชื้อเพลิงเป็นพลังงานได้70-100%น่าจะดีมากไม่รู้มีใครกำลังพัฒนาอยู่บ้าง
@ทนรวย-ณ1ช
@ทนรวย-ณ1ช Ай бұрын
ตอนนั้น สมัยก่อนนานมาแล้ว 40 กว่าปีที่แล้วมีนักศึกษานิวเคลียร์ไทยทดลองทำเยลโลเค้ก โดนสอบสวนจนวงแตก ทั้งอาจารย์และลูกศิษย์เลิกไป😅
@airfolden4057
@airfolden4057 Ай бұрын
มนุษย์จะกลัวกับสิ่งที่เขาไม่รู้จัก = ต้องศึกกับมันให้ละเอียด
@hotvvvhot
@hotvvvhot Ай бұрын
โซล่าร์เซลส์ดีที่สุด ณ ขณะนี้ เพราะราคาถูกลง เข้าถึงง่าย ผลิตไฟฟ้าได้ทุกบ้าน แบตก็ผลิตเองได้ในราคาถูก แร่สำหรับผลิตแบตมีมากมายในประเทศ มี green energy อีกหลายแบบที่น่าใช้ แค่ประวิงเวลาให้ nuclear fusion สำเร็จออกมา ไฟฟ้ากลางคืนก็ซื้อจากลาวไปก่อน
@mongkolieatk43
@mongkolieatk43 Ай бұрын
เห็นพูดกันมานานนม ให้ความรู้กันมานานนม เรื่องโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จากคนรุ่นปู่จนถึงคนรุ่นใหม่แล้ว เมื่อไหรจะลงมือทำสักที อย่าพูดอยู่เลย ลงมือทำกันได้แล้ว แต่ควรทำในภูมิภาคที่ขาดแคลนไฟฟ้าจริงๆ เป็นโมเดลแรกๆ และให้ทำอยู่ในป่าเขา หรืออาจทำควบคู่กับอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ๆ แต่ที่สำคัญราคาไฟฟ้าต้องถูกลง ไม่ใช่ทำแล้วราคาไฟฟ้าแพงเหมือนเดิม ปัจจุบันโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อาจเจริญขึ้นไปมากแล้ว เดียวนี้เขาทำกันเป็นสล๊อด หรือโมดู่ ยกมาประกอบได้เลย..55 แค่สร้างระบบรองรับ แต่ที่สำคัญคือระบบเซฟตี้ต่างๆ ควรควบคุ้มให้ดี แม้จะมีความปลอดภัยสูงก็ตาม และที่สำคัญเวลาหมดอายุการใช้งาน ควรถอดนำไปกำจัดได้ง่ายๆ
@ณัฐฎ์-ถ3ถ
@ณัฐฎ์-ถ3ถ Ай бұрын
คำถาม คือ..จะลงตรงไหน? หวยจะไปตกที่จังหวัดใด? โรงไฟฟ้า⚡ถ่านหิน ยังเดินประท้วงกันชิปหายวายป่วง. (ไม่ได้ขัดนะ แค่ตั้งคำถาม) อะไรมันดี เป็นประโยชน์ต่อบ้านเมืองก็ดีหมดล่ะ
@rocky.s9035
@rocky.s9035 Ай бұрын
มันใช้พื้นที่นิดเดียวครับ แค่ประมาณบ้านขนาดกลางสองชั้น ฝังใต้ดิน แต่ผลิตพลังงานได้เท่าโซล่าเซลล์กว้างประมาณ 10ตร.กม.
@aeta2802
@aeta2802 Ай бұрын
อย่าไปสนจิ้งหรีด​ จะสร้างไรก็ต้องมีคนไม่สนับสนุนอยู่แล้ว ไม่เคยให้ค่าNGO และนักวิชาการ
@luchailing661
@luchailing661 Ай бұрын
จะกี่แสนล้านในการลงทุน คืนทุน30ปี60ปี ถ้าชิ้นส่วนโรงไฟฟ้าส่วนใหญ่ผลิตในประเทศได้ ใช้แรงงาน บุคลากรในประเทศในการสร้าง และดูแลโรงไฟฟ้าเองได้ ยังไงก็คุ้ม
@Joy_Chan_hi
@Joy_Chan_hi Ай бұрын
ทนายตั้มเขามีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้วยเหรอครับเนี่ย😂😂😂❤❤
@ACXA-297
@ACXA-297 Ай бұрын
18:21 หน้าคล้ายๆกันเฉยๆครับ ทนายตั้มเขารวยไปแล้วอย่าไปยุ่งกับเขาเลย
@Joy_Chan_hi
@Joy_Chan_hi Ай бұрын
@ACXA-297 ทีแรกคิดว่า secret sauce จะเปลี่ยนแนวซะแล้ว😂😂🥰
@kritsanathamngeun9581
@kritsanathamngeun9581 Ай бұрын
ลุยครับ
@CaptNAVA
@CaptNAVA Ай бұрын
เหมือนเอาโทรศัพท์ยุค 70 ไปเทียบกับ iPhone 16 หรือ S24 อะครับ มันคนละเรื่องเลย ที่เกิดยากเพราะเรื่องผลประโยชน์อีกเรื่องด้วย รัฐต้องเด็ดขาดและโปร่งใสไปพร้อมๆกัน
@srichaith.5766
@srichaith.5766 Ай бұрын
ที่ยังทำไม่ได้​คงไม่ใช่​ว่าคนคัดค้าน​แล้ว​ล่ะ​ น่าจะ​กลุ่มทุนพลังงาน​มากกว่า​ที่เสียผลประโยชน์​
@jonin2526
@jonin2526 Ай бұрын
ไทยกว่าจะสร้าง SMR ได้ เวลานั้นต่างชาติอาจจะสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟิวชั่นได้พอดี
@NITIPHONGSiripitipaisarn
@NITIPHONGSiripitipaisarn Ай бұрын
พอมีโรงไฟ้านิวเคลีย ต่อมาต้องมีการป้องกันการโจมตีทางอากาศยานด้วย เผื่อการก่อการร้าย
@rookiekunie
@rookiekunie Ай бұрын
ถ้ารู้จักสิ่งใดดีแล้ว แม้จะมีอันตรายเท่าไหร่ก็ตาม เราๆ ท่านๆ จะอยู่กับมันได้อย่างปกติสุขชั่วชีวิต บางคนอาจจะโต้แย้งผม ไม่เป็นไรครับ ผมจะยกตัวอย่างให้ฟัง เช่น ไฟฟ้าอันตรายมาก ถ้าไม่รู้จักมัน สามารถทำอันตรายต่อเราจนถึงแก่ความตายได้ง่ายๆ แต่ทุกวันนี้เราๆ ท่านๆ ก็ใช้งานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน (แทบ) ทุกคน ขาดมันไม่ได้ แม้มันจะมีอันตรายอย่างสูง แต่เราก็อยู่กับไฟฟ้าได้อย่างปกติสุข น้อยนักที่ไฟฟ้าจะทำอันตรายต่อเรา (เว้นแต่พลาดเพราะประมาทเกินไป)
@thepiggy1853
@thepiggy1853 Ай бұрын
เห็นด้วยกับการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั้งขนาดใหญ่ และขนาดเล็ก ขอให้รัฐบาลสนับสนุนโครงการนี้
@gamesover5039
@gamesover5039 Ай бұрын
Data center เทคโนโลยี AI ต้องใช้ไฟฟ้ามหาศาล Google ยังต้องใช้เตานิวเคียร์ขนาดเล็กในการจ่ายพลังงานให้ระบบ
@ดูไปทั่วมั่วไปที
@ดูไปทั่วมั่วไปที 5 күн бұрын
โครงการ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1 จิ๋ว 1 หลังคาเรือน
@yamal2688
@yamal2688 Ай бұрын
ทำเลนครับประชนทุกคนระดมทุนให้ประชาชนถือหุ้น กำไรได้มาแบ่งปันผลถึงประชาชนตัวเล็ก ๆไม่ผูกขาดคนใดคนหนึ่ง
@isareat
@isareat Ай бұрын
ควรมีได้แล้ว
@bamrungsungnoen352
@bamrungsungnoen352 Ай бұрын
The idea of SMR is not new in Nuclear reactor technology. SMR would suffer from "Economics of scale" that if we try to double size of SMR, it would be expensive than the bigger one with the same MW output as Levelized Cost of Electricity (LCOE) (SMRs might not improve in economics compared to large reactors --> CAPEX and OPEX). From Nuscale project, I am not sure that it would be called as "successful project". for mass production - it would never happen for a nuclear power plant. Each nuclear plant needs a custom design (cannot design identically). A one-size-fits-all design would be way too expensive and overbuilt.
@ชัชพิมุขเจียวิริยบุญญา
@ชัชพิมุขเจียวิริยบุญญา Ай бұрын
ถ้าทำแบบตรงไปตรงมา มันไม่ใช่ปัญหาเลยคับ ห่วงแค่คอรัปชันนี้ละ ขนาดยี่ปุ่นมีแผ่นดินไหวบ่อยมากๆเขายังทำได้ ที่ทำไม่ได้ก็เพราะ นายทุน กับนักการเมืองนี้ละคับ
@lookky1975
@lookky1975 Ай бұрын
ถ้าใช้เทคโนโลยี่​นิวเคลียร์​ทำให้ปลอดภัยขึ้นค่าไฟถูกลง จากหน่วยละ4-5บ.ในปัจจุบั​น เหลือแค่หน่วยละ1-2บ. ค่าไฟบ้านถูกค่าสินค้าอุปโภค​บริโภค​ถูกเพราะต้นทุนผลิตต่ำลง ชาวบ้านจะยอมรับง่ายขึ้น อีกอย่างถึงประเทศเราไม่สร้างเพราะกลัวแต่ถ้าเมื่อไหร่เที่ประเทศอนบ้านสร้างแล้วเกิดอุบัติเหตุ​ขึ้นยังไงเราก็เราผลกระทบอยู่ดี
@mebossrecord537
@mebossrecord537 8 күн бұрын
ถ้าทำแล้ว ได้ใช้ไฟฟ้าฟรี หรือจ่ายค่าไฟน้อยลงมาก มาทำหลังบ้านผมเลยพี่
@lmbrook8980
@lmbrook8980 Ай бұрын
บ้านเรามีระเบียบวินัย พอ ที่จะครอบครอง พลังงานนิวเคลียร์แล้วหรือยัง
@GenBXYZ
@GenBXYZ Ай бұрын
วินัยควรใช้น้อยๆด้วยซ้ำ ทำให้เป็นระบบควบคุมมากที่สุด คนยุ่งให้น้อย
@partanamanewannakon8714
@partanamanewannakon8714 Ай бұрын
จะบอกว่าแถวรังสิตไม่เห็นจะมีปัญหาอะไรเลย แถวนั้นตั้งเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เคยเห็นมันระเบิดไหมหล่ะ
@chanyanuchintiya6795
@chanyanuchintiya6795 Ай бұрын
สุดท้ายเจ้าสัวงาบ ค่าไฟแพงเหมือนเดิม😅
@fanchev2953
@fanchev2953 Ай бұрын
มันแน่นอนอยู่แล้ว เรารับชตากรรมนั้นแย่นอน 🤤
@rattaponinsawangwong5482
@rattaponinsawangwong5482 Ай бұрын
นักวิชาการด้านพลังงานพูดมา 20 ปีแล้วครับ มัวแต่กลัวมันระเบิดก็จ่ายค่าแก๊ส ค่าน้ำมันไปครับ
@NWST0271
@NWST0271 Ай бұрын
ยังมีคนจำนวนมากไม่เชื่อว่าก๊าซกำลังจะหมดอ่าวไทย และคิดว่าไทยมีน้ำมันเหลือเฟือ
@appchecktest
@appchecktest Ай бұрын
ถ้าไม่โยงหรือแขวะไปการเมืองของพรรคการเมืองที่พิธีกรไม่ชอบแล้ว รายการของ The Standard จะดีมาก
@GenBXYZ
@GenBXYZ Ай бұрын
ใช่แขวะแบบนี้
@SomboonDee-o6v
@SomboonDee-o6v 29 күн бұрын
บ้านเราไม่มีแผ่นดินไหว เหมือนญี่ปุ่น ความปลอดภัยน่าจะมีเยอะกว่า สร้างเลย
How Strong Is Tape?
00:24
Stokes Twins
Рет қаралды 96 МЛН