Special Lecture 2 ตัวอย่างการออกแบบฐานรากเสาเข็มรับแรงด้านข้างตอนที่ 1 การออกแบบ Pile Cap

  Рет қаралды 6,282

Amorn PIMANMAS

Amorn PIMANMAS

Күн бұрын

Special Lecture 2 ตัวอย่างการออกแบบฐานรากเสาเข็มรับแรงด้านข้างตอนที่ 1 การออกแบบ Pile Cap

Пікірлер: 8
@gamerbaster2774
@gamerbaster2774 4 жыл бұрын
สอนเข้าใจง่าย ขอบคุณครับอาจารย์ (ติดตามและแชร์ครับ)
@ขวัญชัยเหล่าพิเดช
@ขวัญชัยเหล่าพิเดช 4 жыл бұрын
สุดยอดมากครับ อาจารย์
@puttasukputtaraksa
@puttasukputtaraksa 3 жыл бұрын
ถ้า อจ. ในมหาวิทยาลัย ของรัฐ สอนแบบนี้ เด็กจบออกมา ทำงานได้เลย
@allmondalmond9969
@allmondalmond9969 4 жыл бұрын
เรียนถามอาจารย์ อมร ครับ2ข้อ ข้อ1.ตาม มยผ1301/1302-61 กรณีออกแบบฐานราก แรงเฉือนจากแผ่นดินไหว ต้องคูณ overstrength factor เสมอหรือไม่ครับ ไม่ว่าจะเป็นอาคารปกติ หรือ ไม่สมมาตรก็ตาม ข้อ2. S.F.ของเสาเข็ม2.5 มีค่าพอๆกับ overstrenth factor ของแผ่นดินไหว ตรงนี้ มันมีความสัมพันธ์อะไรกันไหมครับ
@amorn_pimanmas
@amorn_pimanmas 4 жыл бұрын
Allmond Almond ข้อ 1 ขึ้นอยู่กับสูตรแรงเฉือนที่ใช้ใน มยผ. ถ้าใช้สูตร 4.2-2 ต้องคูณ overstrength แต่ถ้า 4.2-3 ไม่ต้อง 2. ไม่เกี่ยวกัน S.F. = 2.5 เป็นเรื่องสภาวะใช้งาน เป็นค่า safe load ของเสาเข็มครับ
@allmondalmond9969
@allmondalmond9969 4 жыл бұрын
Amorn PIMANMAS กรณีออกแบบหน้าตัดองค์อาคารแนวดิ่งครับ แรงเฉือนภายในที่เกิดจากแรงแผ่นดินไหว ต้องคูณค่า overstrength เสมอ ผมเข้าใจถูกต้องไหมครับ ถ้าตาม มยผ ปี61 ในตัวอย่าง มยผ บอกแต่วิธี MRSA ที่อธิบายถึงโหมดพื้นฐาน แต่ถ้าวิธีแรงสถิต ก็ใช้คาบแบบประมาณที่โหมดพื้นฐานมาคิด แรงเฉือนภายในควรจะคูณ overstrength ด้วยหรือไม่ครับ
@amorn_pimanmas
@amorn_pimanmas 4 жыл бұрын
วิธี MRSA รวมผลของ overstrength แล้ว จึงไม่ต้องคูณซ้ำ แต่ถ้าใช้วิธีแรงสถิตย์เทียบเท่ายังไม่ได้รวมจึงต้องคูณด้วยโอเมกาครับ
@allmondalmond9969
@allmondalmond9969 4 жыл бұрын
@@amorn_pimanmas ขอบคุณครับอาจารย์สำหรับคำตอบ ติดตามไปตลอดครับ
А что бы ты сделал? @LimbLossBoss
00:17
История одного вокалиста
Рет қаралды 3,1 МЛН
А что бы ты сделал? @LimbLossBoss
00:17
История одного вокалиста
Рет қаралды 3,1 МЛН