Suthichai live : มหาวิทยาลัยจะอยู่รอดหรือไม่? 13/06/2562

  Рет қаралды 79,775

suthichai live

suthichai live

5 жыл бұрын

Пікірлер: 160
@tanongsakmhuentoei2715
@tanongsakmhuentoei2715 5 жыл бұрын
ผมเป็นศิษย์เก่านิดาภาคปกติ เมื่อ 30 ปีก่อนสอบเข้าเรียนยากมาก ยุคนั้นการแข่งขันสูง มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนระดับ ป.โท และเอกมีไม่มาก แต่ละแห่งรับจำนวนจำกัด ไม่เหมือนปัจจุบันนี้ เน้นเชิงปริมาณ จ่ายครบจบแน่...น่าอนาจใจ ผมรักนิดาครับ รักทุกๆสถาบันที่สร้างผมมา
@user-ux8ec3ng3z
@user-ux8ec3ng3z 5 жыл бұрын
เราสอนลูกๆเสมอว่าความรู้อยู่รอบตัว และอยู่ในทุกที่ ไม่ได้มีแต่ในหนังสือ เราพยายามให้เขามองโลกในความเป็นจริง และการเปลี่ยนแปลงที่เร็วมาก
@goto4u...tomorrow
@goto4u...tomorrow 5 жыл бұрын
หมดยุคอาชีพครูอาจารย์...ทุกคนคือครูอาจารย์...ได้ทั้งสิ้นแค่เปิดใจ...
@AranArayawattana
@AranArayawattana 5 жыл бұрын
KZbinr กลายเป็นครู
@goto4u...tomorrow
@goto4u...tomorrow 5 жыл бұрын
You Tuber เป็นเพียงสื่อสารมวลชนสายพันธุ์ใหม่...คนในคลิปทุกท่านคือครู...แม้แต่คนติดตามและให้คำตอบในรูปแบบต่างๆคือครู...
@likemamama
@likemamama 4 жыл бұрын
บางอาชีพ ต้องมีครับ แพทย์ ยังต้องมี คงไม่มีใครยอมให้คนอื่นผ่าตัดให้ตัวเอง ด้วยการเปิด youtube ดูแน่ๆ หรือจะกล้านอนบนเตียง ให้ AI มันผ่าให้ ก็สุดแท้แต่ความพอใจของคนนั้น
@user-jp7ok2rx4e
@user-jp7ok2rx4e 4 жыл бұрын
สมัยนี้ครูอาจารย์ไม่ค่อยมีความสำคัญแล้ว เวลาสอนก็ให้ไปค้นคว้าเอง ไม่ค่อยอยากสอน ตอนนี้ครูอาจารย์ที่ดีที่สุด คือกูเกิล ยูทูป เฟสบุค เรียนแล้วเสียเงินน้อย เสียแต่ค่าเน็ต ค่าซื้อโทรศัพท์ ชาร์ทไฟ แต่ความรู้มากมายกว่าครูอาจารย์มากมายหลายเท่า5555
@foxalone674
@foxalone674 5 жыл бұрын
เราเสียเวลามากไปในระบบการศึกษา ไปมหาลัยทั้งวันบางครั้งเรียนไม่กี่ ชม.แถมยังมีแต่น้ำ
@ninphakhwan9299
@ninphakhwan9299 5 жыл бұрын
4right เห็นด้วยค่ะ ทรัพยากรบุคคลของชาติ เสียเวลาไปเปล่าๆ อย่างน้อย 3+4=6 ปี ×จำนวนนักศึกษาทั้งประเทศ จะ=ทรัพย์สินทางปัญญาแบบองค์รวมของชาติ เป็นการสูญเปล่าแรงงานและปัญญาที่มหาศาลมาก
@user-dd7qw2br1c
@user-dd7qw2br1c 4 жыл бұрын
อันนี้จริงคับ​ บางทีช่วงอนุบาล​ ประถม​ ยังจริงจังกันมาก​ ทั้งๆที่ระดับนี้ยีงไม่มีผลต่อการทำงานเลย
@user-te9bj4nv2f
@user-te9bj4nv2f 4 жыл бұрын
เสียเวลาจริง​
@duangdeekab8287
@duangdeekab8287 4 жыл бұрын
ถูกต้องครับ
@duangdeekab8287
@duangdeekab8287 4 жыл бұрын
@@user-dd7qw2br1c การศึกษาไทยหมาหางด้วน
@nokpollard1688
@nokpollard1688 5 жыл бұрын
ณ.นาทีนี้ตัดสินใจกับสามีจะให้ลูกเข้าโครงการ apprenticeship เรียนด้วยทำงานไปด้วยมีงานทำก่อนจบปริญญาตรีแถมไม่ต้องจ่ายค่าเรียนเพราะบริษัทนั้นๆจะสปอนเซอร์ให้จนเรียนจบ พอจบมาก็ไม่ต้องเป็นหนี้
@m.b24
@m.b24 5 жыл бұрын
7.ใช่ป่าว
@benpisit
@benpisit 5 жыл бұрын
มหาลัยดังๆ ในตปท.ก็ปรับตัวมานำเสนอคอร์สออนไลน์สั้นๆ มากขึ้นในหัวข้อที่น่าสนใจ และที่พีคมากที่สุดคือมีเจ้าหน้าที่โทรมาติดต่อเราโดยตรง จากประสบการณ์ตรงเมื่อผมคลิกขอเนื้อหาคอร์สนึงจาก MIT
@user-mu7rl5zz9w
@user-mu7rl5zz9w 5 жыл бұрын
ลุงกำลังจะเรึยนรู้ จากคุณนั่นแหละ/
@suwannamongkoladisai3118
@suwannamongkoladisai3118 5 жыл бұрын
ลูกชายกำลังเรียนคอร์ส Advance AI ออนไลน ของ MIT ค่าลงทะเบียน 300 เหรียญ คอร์สแบบนี้น่าเชื่อถือไหมคะ
@xenxx1192
@xenxx1192 5 жыл бұрын
ถ้าเปนคอสของmitจริงก็ต้องน่าเชื่อถืออยู่เเล้วครับ
@Rm-ps3my
@Rm-ps3my 4 жыл бұрын
สอนแบบออนไลน์หมายถึง ม.ห้องแถว ที่ รมต. ที่มีข่าวว่าเคยติดคุก ไปเรียน ดร รึป่าว5555
@kunpichettipkoson2655
@kunpichettipkoson2655 5 жыл бұрын
อาจารย์วิเคราะห์เยี่ยมมาก 👍
@naruthep
@naruthep 5 жыл бұрын
อยากแสดงความคิดเห็นครับแต่ไม่รู้ว่าคุณสุทธิชัยจะได้อ่านไหม แต่ถ้าได้อ่านก็คงดี ผมคิดว่าสิ่งที่จะทำพรุ่งนี้ทำถูกต้องและเป็นทิศทางที่ดีมากการเปิดคอร์สระยะสั้นเหมาะสำหรับคนที่ต้องการจะเรียนรู้เป็นเรื่องซึ่งคอร์สออนไลน์ในขณะนี้ผมคิดว่าข้อจำกัดของเขาคือการที่ไม่มีการรับรองในเมื่อสังคมไทยต้องการการรับรองแต่สังคมสมัยใหม่ต้องการเรียนรู้อย่างรวดเร็วการจะรั้งคนไว้ในสถาบันการศึกษา 3 ปี 4 ปีเพื่อได้กระดาษมา 1 ใบอาจจะไม่คุ้มค่าแต่ถ้าหากมหาวิทยาลัยปรับตัวในการผลิตคอร์สระยะสั้นและสามารถนำข้อต่างๆรวบรวมและไป ทดสอบเพื่อได้มาซึ่ง ประกาศนียบัตรหรือปริญญาบัตรที่การันตีความรู้ความสามารถผมคิดว่าทางนี้น่าจะเป็นทางออก ของการศึกษาประถมศึกษาในอนาคตที่ดีอีกทางนึงครับผมเองก็เป็นคนหนึ่งที่อยากเรียนในระดับมหาบัณฑิตแต่พอนึกถึงว่าต้องทุ่มเท เวลาในการศึกษาจึงจะให้ได้กระดาษมา 1 ใบ จับเวลาที่เสียไป ในการทำงานก็เริ่มรู้สึกช่างจ่ายค่อนข้างมากแต่ถ้าหากวิธีการนี้ใช้การได้จริงผมคิดว่านอกจากมหาวิทยาลัยจะขยายปีกให้กว้างไกลขึ้นแล้ว ผู้เรียนก็มีความเชื่อมั่นมากขึ้นว่าจะสามารถ ผลิตปริญญาบัตร ที่เป็นที่ยอมรับ ของสังคมได้
@franklamprad544
@franklamprad544 5 жыл бұрын
เป็นความรู้ครับ ขอบคุณที่จะทำรายการ ดีมีสาระขอบคุณครับ
@mamiaowyoung1748
@mamiaowyoung1748 5 жыл бұрын
สวัสดีค่ะ คุณสุทธิชัย ชอบหัวข้อนี้มากๆค่ะ
@TK-hf2do
@TK-hf2do 5 жыл бұрын
เด็กสมัยนี้ปริญญาบัตรอาจจะไม่ตอบโจทษ์ความต้องการของคนรุ่นใหม่อีกต่อไปเพราะด้วยเทคโนโลยีที่พัฒนา(โดยต่างชาติ) มหาวิทยาลัยและองค์ต่างๆจำเป็นจะพัฒนาตนเองในความรู้ใหม่ๆเฉพาะด้านนั้นๆที่คุณมีความชำนาญอย่างแท้จริง ซึ่งควรเป็นคอร์สแบบสั้นๆเอาแต่ประเด็นสำคัญและจำเป็นเพื่อเสิร์ฟความรู้ให้กับคนรุ่นใหม่ๆที่มีปัจจัยด้านเวลาเป็นกุญแจสำคัญตัวนึงในการตัดสินใจซื้อคอร์ต
@satapornhempanom7258
@satapornhempanom7258 5 жыл бұрын
อย่าคิดแค่เรื่องมหาวิทยาลัยครับ มันแค่เป็นส่วนหนึ่งของปัญหาชาติเท่านั้น ปัญหาใหญ่คือการศึกษาทั้งระบบ เด็กไทยเรียนมากเกินไปแต่ได้ความรู้ที่ต่อชีวิตได้ค่อนข้างน้อย ทบทวนดีๆมูลค่าทางเศรษฐกิจที่หมดไปกับการศึกษาห่วยๆนั้นแพงเหลือเกิน ด้วยระบอบประชาธิปไตยเสรีนิยมปัจจุบัน เด็กเก่งๆระดับโอลิมปิกไม่ได้รับการต่อยอดจากภาครัฐ กระทรวงวิทย์ กระทรวงอุตสาหกรรม คิดไม่ได้ว่าจะเอาเด็กพวกนี้มาช่วยประเทศอย่างไร มันเกินมันสมองและวิสัยทัศน์ของเขา น่าเสียดาย ส่วนเอกชนไทยเกือบทั้งหมดหากินกับซื้อมาขายไป งานวิจัยกลายเป็นเรื่องใช้เวลา ใช้เงิน ยุ่งยาก ถ้าไม่มีใครคิดอย่างจริงจัง การศึกษาไทยก็คงย่ำกับที่ต่อไป
@mooling4667
@mooling4667 5 жыл бұрын
sataporn hempanom เห็นด้วยครับ โดนทุกดอก ความจริงทั้งนั้น
@Moohnoy37
@Moohnoy37 5 жыл бұрын
ใช่ครับ. ปัญหาสำคัญ คือการศึกษาภาคบังคับนี่แหล่ะ. ทั้งที่เป็นเรื่องที่ดีที่จัดให้ แต่ถ้าจัดมาไม่ดีขอเรียนเองได้ไหม
@akearch4794
@akearch4794 5 жыл бұрын
พีค
@armorgonwielder4082
@armorgonwielder4082 5 жыл бұрын
โห เนื้อหาคุณสั้น กระชับ ตรงประเด็น ดีมากเยยครับ
@armorgonwielder4082
@armorgonwielder4082 5 жыл бұрын
@Driving Pleasure อันนี้เหงด้วย เพราะทุกวันนี้ platform เจ้ามาแทนที่การซื้อมา ขายไปแบบเดิมๆมากขึ้น
@hs5hdrtv
@hs5hdrtv 5 жыл бұрын
เนื้อหาวิชาการอาจได้จากที่ิิ่อื่น นอกห้องเรียน แต่ความชำนาญ เช่นการผ่าตัด การทำการเพาะพืช อาจต้องพึ่งอาจารย์มากอยู่ ที่สำคัญ ต้องการเพื่อนที่เรียนสาขาเดียวกัน & วิสัยทัศน์ จากสถาบันต่างๆที่ อบรมมาต่างกัน จุฬาฯ & มธ. เป็น ตัวอย่างที่ดี
@Nontalee.R
@Nontalee.R 5 жыл бұрын
เทปนี้ดีมากค้ะ หัวข้อน่าสนใจมาก
@sonkong6482
@sonkong6482 5 жыл бұрын
ตอนนี้น่าสนใจมากครับ เอาปีญหาแบบนี้มาพูดคุยบ่อยๆครับ
@cupcakeyummy6125
@cupcakeyummy6125 5 жыл бұрын
มหาลัยมันก้อคือธุระกิจเหมือนโรงพยาบาล จบมาแล้วตกงานแถมเป้นหนี้เงินกู้หัวโต เมกาเลยไม่ค่อยเรียนมหาลัยกันเพราะอาจารที่สอนหลายคน สอนบัชชี แต่สอนในหนังสือไม่ได้เป้นนักบัชชี สอนการตลาด แต่ไม่เคยทำงานด้านนี้ ไม่มีประสบการ เรียนแล้วไม่ได้อะไร เอาเงินค่าเรียนมาทำธุระกิจดีกว่า ยกเว้น คนรวย
@goto4u...tomorrow
@goto4u...tomorrow 5 жыл бұрын
ติดตามจุดจบของอุดมศึกษา...หมดยุคกระดาษ...อวสานของการศึกษาโลก...เราจะปรับตัวเน้นทางประสบการณ์ทางปฏิบัติงาน...นอกตำราคือทางเลือกรู้ตัวช้าของครูอาจารย์เลิกตามตะวันตก...เอเชียเฃามีภูมิรู้มากจากที่คุณรับรู้ได้...
@KaeCherdsak
@KaeCherdsak 5 жыл бұрын
เรียนไปก็เสียเวลาครับ ในโลกการทำงานค่าของคนอยู่ที่คนของใคร ปริญญาไม่ได้มีความหมายเลยครับ
@duangdeekab8287
@duangdeekab8287 4 жыл бұрын
จริงครับ
@ekkornthanchol7630
@ekkornthanchol7630 4 жыл бұрын
ครูเด็กอนุบาล ครูประถม ครูมต้นมปลาย. ยังคงจำเป็น อ่านออกเขียนได้คิดเลขพอเป็น พออายุ12-18เด็กๆอยากรู้อะไรเขาก็ หาในมือถือ เด็กอายุ13ขึ้นไปควรเริ่มทำงานหาเงินในงานที่พอทำได้ ส่วนเขาจะหาเรียนอะไรเสริมเป็น ระยะสั้นๆ แล้วได้เอาไปทำงาน อายุ 13-25ปี เขาจะได้ค้นหาลองผิดถูกหาสิ่งที่เขาต้องการ ดังนั้นรัฐต้องดูแลตรงนี้ มหาลัยจะสลายตัว เล็กลง ครูที่เก่งและมีเอกลักษณ์จะอยู่รอด. ใบประกาศจะไม่มีความจำเป็น.
@proffont1689
@proffont1689 5 жыл бұрын
สร้างจิตสำนึกของเด็ก ให้รู้จักคำว่าคุณภาพมีมาตรฐานชีวิต ทุกคนมีความคิดพุ่งไปที่ความประสบผลสำเร็จใบปริญญาทางการศึกษา แต่จิตสำนึกกลับมองข้ามไปเสีย สภาวะจิตสำนึก เกิดคุณภาพเกิดมาตรฐานเกิดนี่คือเป้าหมายทางการศึกษาที่แท้จริงครับ สุขและสันติภาพ เจริญ อยู่คู่โลกต่อไปตราบนานเท่านาน
@julioannukgo3997
@julioannukgo3997 5 жыл бұрын
พูดได้ดี คิดอ่านได้ดี คนไทยต้องการแค่ใบปริญญาเท่านั้น ผมอยากได้รัฐบาลทีมีความคิดแบบนี้ ไม่โลภจะซะก่อน
@user-mk4is1px1s
@user-mk4is1px1s 5 жыл бұрын
ชอบ อาจารย์คนนี้ค่ะวิเคราะห์ และมีวิสัยทัศน์ที่ก้าวหน้า ไป กับ โลกความจริง และ รู้จักปรับเปลี่ยนแปลง ให้ทันกับโลก ยุค 4-5 G . ( อยากให้นายกประยุทธ์ฟัง จัง จะ ได้ปรับเปลี่ยนแปลง โลก เดินหน้า ก้าวทัน กับ ยุค 4-5 G ค่ะ)
@Rabbit_Burrow_Nitan
@Rabbit_Burrow_Nitan 5 жыл бұрын
งานวิจัยที่ไม่ได้ตอบสนองสังคม ทำไปเพื่อผลาญงบประจำปี ทำแล้วก็เป็นแค่หนังสือที่ไม่มีใครอ่านในห้องสมุด อันนี้น่าคิดนะ...ว่ายังจะมีอีกมั๊ย
@okaroon1028
@okaroon1028 5 жыл бұрын
อาจารย์ so cute
@janjirathanomsat1177
@janjirathanomsat1177 4 жыл бұрын
ตอนนี้อยู่ม.6กำลังคิดจะดรอปเรียนจนกว่าระบบการศึกษาไทยจะเปลี่ยนเพราะเวลาไม่เคยรอใคร และต้องการโฟกัสเป้าหมายอย่างจริงจังไม่ใช่เข้าเรียนแล้วครูเปิดหนังสืออ่านให้ฟังและให้ทำแบบฝึกหัด เรียนวันละ8ซม. แต่ที่เรียนมาแทบนำมาใช้จริงไม่ได้ การศึกษาไม่เปลี่ยนแต่เราจะเปลี่ยนเอง
@user-mj2qb9he4x
@user-mj2qb9he4x 5 жыл бұрын
ทำให้มากอ่านให้น้อยความรู้ที่ได้จากการลงมือทำมันลึกซึ้งกว่าการอ่าน ระบบการศึกษาทุกวันนี้ไม่ปรับตัวเลยยังเน้นที่การท่องจำอยู่เลย คอมมันก็มีแล้วจะไปแย่งงานคอมมันทำไม
@SuanKasetPP
@SuanKasetPP 5 жыл бұрын
ผมเห็นโอกาสในเรื่องการเรียนการสอนแล้วครับหลังจากดูคลิปนี้คือ ผมจะทำตัวเป็นอาจารย์ในมือถือ แล้วให้นักเรียนที่ สนใจจะเรียนรู้กับของเข้ามาหาผม ภายใต้แนวคิดที่ว่าให้ลูกศิษย์เป็นคนเลือกอาจารย์
@armorgonwielder4082
@armorgonwielder4082 5 жыл бұрын
แนวคิดนี้ก็มีแพลตฟอร์ม เรียนออนไลน์ ทำกันเยอะละนิครับ
@SuanKasetPP
@SuanKasetPP 5 жыл бұрын
จริงดิ เดี๋ยวไปดูว่า Platform นั้น ใช้อย่างไร ทำอย่างไร?
@meirattanawan3421
@meirattanawan3421 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ นี่แหละมหาลัยชีวิตเลยค่ะจริงๆ
@anuchalovescience1964
@anuchalovescience1964 5 жыл бұрын
ความรู้อยู่รอบตัวคนเราทุกคน.......อยู่ที่ว่าคนๆๆๆนั้นจะเรียนรู้หรือเป่ลา......???
@wisuteo
@wisuteo 5 жыл бұрын
อยู่รอดแน่นอน เพราะภาคเอกชนส่วนใหญ่ ยังใช้การคัดกรองบุคลากรผ่านวุฒิการศึกษา เรียกง่ายๆ ให้สถาบันศึกษาแยกแยะคุณภาพให้ในขั้นต้น
@armorgonwielder4082
@armorgonwielder4082 5 жыл бұрын
ม. ดังๆ ยังยุรอดนะแหละในไทย
@ohmthenizer8984
@ohmthenizer8984 5 жыл бұрын
ตัวอย่างการปรับตัวของ มหาลัยที่สิงคโปร์ ที่คุณสุทธิชัยนำมาแชร์ ผมเห็นด้วยอย่างยิ่งกับโลกสมัยนี้และอนาคต ปัจจุบันอาชีพที่ผมทำก็เอาประสบการณ์ไปต่อยอดการเรียนในมหาลัยเพื่อเติมเต็มบางเรื่อง เช่น งานวิจัยฯ ต่างๆ ซึ่งผมทำเองไม่ได้
@user-ws2ut1tb3x
@user-ws2ut1tb3x 5 жыл бұрын
คนเรียนจากตำราเล่มเดียวกันมันเลยมีแนวคิคใปแนวเดียวกัน ก็เลยทำให้คิดซ้ำซากคล้ายกัน..โดยนิสัยคนไทยไม่กล้าที่จะออกไปนอกตำราที่เคยเรียน ชีวิตเลยต้องวนเวียนอยู่กับการเป็นมนุษย์เงินเดือน!..ช่วยนายทุนใหัรวยขึ้นๆๆๆๆแต่ตัวเองจนลงๆๆๆ..ทั่งที่เงินเดือน,รายได้เพิ่มขึ้น แต่กลับกลายเป็นสะพานเชื่อม..ถ่ายเทรายได้จากทุนอุตสาหกรรมไปส่งให้ทุนฝั่งการเงินด้วยความเต็มใจและภาคภูมิใจ!..ทุกวันนี้เด็กไทยที่กำลังเรียนก็ยังจงรักภักดิ์ดีกับระบบมนุษย์เงินเดือนอยู่เกือบทั้งหมด เพราะง่ายกับชีวิต..คือเรียนจบหางานทำ..ผ่อนบ้าน,รถ รับเงินจากทุนส่งไปให้อีกทุนหนื่ง..จบ ไม่ต้องเหนื่อยและรับผิดชอบเหมือนคนทำนอกกรอบ ที่สากกะเบือยันเรือรบ แม้แต่กระดาษแผ่นเดียวหรือน็อต1ตัวย้งต้องเก็บ!วันนี้ยากที่จะให้คนรุ่นใหม่ทำ..มันเหนื่อย,ลำบาก,ต้องอดทนและใช้เวลานาน..ชึ่งคุณสมบัตินี้เกือบจะไม่มีแล้วในสังคมคนไทย!!!
@linkerman8267
@linkerman8267 5 жыл бұрын
ในไทยยังจำเป็นและจำเป็นมากๆ อยู่ครับ เนื่องด้วยระบบความคิดยังหลังเขาอีกมากโข ระบบการสมัครงานยังมีคำว่า "วุฒิการศึกษา" ค้ำคออยู่ กพ มันจะขวางทุกวิธีการ เพราะเดี๋ยวมันจะตกงานเอา เว้นแต่จะไปทางประกอบอาชีพเองแต่คนโดยทั่วไปยังไม่ยอมรับ ปล. จบ ปโท โง่ๆ เกาะเพื่อนจบก็เยอะแต่มันดูดีเพราะมี ป โท
@armorgonwielder4082
@armorgonwielder4082 5 жыл бұрын
จริงซะยิ่งกว่าจริงอีกครับ ที่คุณพูด ในไทยมันบ้ายศ
@user-wg8vs3sn3w
@user-wg8vs3sn3w 4 жыл бұрын
ตกไปข้อนะ ถึงจะเก่งแต่ไม่มีคนใน ก้ออย่างว่าค่าฝุ่นเกินเพราะเตะฝุ่น
@suchaiviratchai4430
@suchaiviratchai4430 5 жыл бұрын
เอกชนกำลังประสบปัญหา ไอ้ที่เรียนเก่งจริงๆ มันไม่มาสมัครงาน มันเน้นแต่จะไปรวมกลุ่มทำธุรกิจของตัวเอง
@witthayabunchon
@witthayabunchon 5 жыл бұрын
ถาม ดร.บูรพา ชดเชย มีการลงภาคสนามจริง ทำงานจริงในสายวิชา workshop
@user-mu7rl5zz9w
@user-mu7rl5zz9w 5 жыл бұрын
หากสอนแล้ว ดัง ก็ ต้อง"ทำให้ดู". รอดแน่/
@henryabac
@henryabac 5 жыл бұрын
อยู่รอด สะกดแบบนี้อ่าครับผม "อยู่รอด" ไม่ใช่ สระอุ อ่าครับผม
@ninphakhwan9299
@ninphakhwan9299 5 жыл бұрын
" เป็นไปได้สูงที่การศึกษาในระบบจะหมดยุคแล้ว และการศึกษานอกระบบเข้ามาแทนที่ "
@songphonboonyasomphob1922
@songphonboonyasomphob1922 4 жыл бұрын
หลักสูตรช้ำชัอนมหาลัยมหาหลอกใหัเจ๊งเยอะดีเหยีบขีไก่ไม่ฝ่อนักวิชาการน้ำเน่า
@bat1845
@bat1845 5 жыл бұрын
สุดยอเคับ
@nonamednone3442
@nonamednone3442 5 жыл бұрын
ถ้าบรรดาอาจารย์ในมหาวิทยาลัยไม่อยากอยู่ใต้กำกับรัฐ ก็คงต้องไปเช่าที่ตั้งมหาลัยในประเทศอื่น แล้วค่อยมาแนะแนวเพื่อรับเด็กมัฐยมไปครับ
@user-xb9rh1yc6j
@user-xb9rh1yc6j 4 жыл бұрын
ถูกต้องครับ
@positivewithnegative
@positivewithnegative 5 жыл бұрын
เมื่อโลกถูกเชื่อมโยง ความรู้สิ่งใหม่ก็ต้องถูกเชื่อโยงเข้าด้วยกัน อยากรู้อะไรต้องได้รู้ อยากเรียนมหาวิทยาลัยที่ไหนก็ได้ เลือกเรียนกับอาจารย์คนนี้ ก็เลือกได้ เรีบนได้ทุกที่ ทุกเวลา ออนไลน์ได้ทั้งโลก ไม่ใช่อยู่กับทั่ไม่เปลี่ยนแปลง ปรับตัว เมื่อทุกคนในโลกยุคใหม่สามารถเข้าถึงความรู้ ไม่ต้องไปมหาวิทยาลัยเพื่อหาความรู้หรือเข้าห้องสมุด ความรู้ในมหาวิทยาลัยต้องเข้าหาคน อยากเรียนในสาขาวิชาใด บางตัวของวิศวะ แพทย์ เคมี เศรษฐศาสตร์ โบราณคดี ประวัติศาสตร์ บัญชี บริหาร ทำก็ได้ เพราะโลกทุกวันนี้ ปริญญาบัตรไม่สำคัญกว่าการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์อะไรได้มากกว่า เรียนมา 4 ปี อาจใช้ความรู้แค่ 10% ที่เหลือใช้ประสบการณ์ การปรับตัวเข้ากับโลกที่เปลี่ยนแปลง ทุกๆคนจะมีอาจารย์คนเดียวกัน เรียนรู้เหมือนกัน สุาบันเดียวหรือต่างสถาบัน บางวิชา ไม่มีรุ่นพี่รุ่นน้อง ไม่มีระบบ sotus ไม่เข้าใจเรียนซ้ำทบทวนได้หลายครั้ง สามารถเก็บวิชาในต่างสถาบันได้ หากครบทุกวิชาตามสาขานั้น สามารถเทียบเอาใบปริญญาหรือใบประกาศนียบัตรได้เช่นกัน สร้างแอปของวิชา สาขาในแต่ละวิชาชีพขึ้นมา โปรไฟล์อาจารย์สำคัญ สอนเก่งต่างกัน ออนไลน์สอบประเมินผล ไม่ต้องสอบแข่งขันกันเข้ามหาวิทยาลัย
@user-cg4km5ng2k
@user-cg4km5ng2k 4 жыл бұрын
เห็นภาพ เลยครับ ไอเดีย บรรเจิดครับ ผมว่า มันต้องไปในทิศทางนั้นครับ แต่ วิศัยทัศ ผู้บริหารยัง ไปไม่ถึงไหนครับ 555
@akkaraphongsukontaphong4928
@akkaraphongsukontaphong4928 5 жыл бұрын
ธุรกิจการศึกษากำลังลังจะจบถ้ายังไม่ปรับปรุงจบแน่ๆ เด็กรุ่นใหม่เข้าคิดได้เองไปถึงไหนกันแล้ว
@Sakon554
@Sakon554 5 жыл бұрын
เรียนไปงานทำก็น้อย โรงเรียนมัธยม นักเรียน หายไปครึ่งนึง ส่วนหนึ่งเด็กจำนวนน้อย ส่วนหนึ่งไปทำงาน (จำนวนเด็กที่โรงเรียนสกลนคร )
@jobdo8635
@jobdo8635 5 жыл бұрын
ถ้าเป็นเพียงสถาบันผลิตบัณฑิต ถ่ายเดียว รอวันสลาย ผลิตผู้ใฝ่รู้ รอด
@ZtaroStudio
@ZtaroStudio 5 жыл бұрын
บางมด มีนะครับวิจัยแล้วให้เอกชนไปต่อยอดเป็นธุรกิจ
@berichman2968
@berichman2968 5 жыл бұрын
นิด้าค่าเทอมแพงไปอ่ะคับ หลายคนเรียนเพราะค่านิยม จบมาแล้วไม่ได้เอาความรู้มาใช้เท่าไร
@tarwintaxfartiyee2249
@tarwintaxfartiyee2249 5 жыл бұрын
เมื่อก่อนมาตรฐานเขาดีครับ ผมว่าสมเหตุผลนะ เเต่ ait. ดีกว่ามาก ผมเคยสอนเพราะเป็นอาจารย์ พิเศษ มันมีความจริงอยู่อย่าง อย่าง sap. ที่มีการสอน นักศึกษากว่าครึ่ง เขียนเรียงความภาษาอังกฤษไม่ได้ มันคงพอบอกคุณภาพการศึกษาเมื่ออกไปทํางานได้ครับ
@ekkarachmo2677
@ekkarachmo2677 4 жыл бұрын
ผมคิดว่าการศึกษาตามอัธยาสัย ตามเป้าหมายผู้เรียนศึกษาต่อยอด ไป คือการศึกษายุคใหม่ อาทิ ผู้ที่มีเป้าเพื่อนำการศึกษานำความรู้นวัตกรรมต่างๆเพื่อเป็นหลักขององค์ความรู้ ต้องเรียนหนักตามมาตรฐานทุกอย่างอาจต้องใช้เวลามากขึ้น,ในขณะผู้มีเป้าหมายเพื่อนำองค์ความรู้ไปใช้อาจใช้เวลาน้อยลง แต่คุณภาพการเรียนรู้ต้องอยู่ในระดับดีเช่นเรียนMOOC , เรียนสายวิชาชีพ,เรียนสายปฏิบัติ ผมคิดว่าหลายๆสาขาที่เรียนในเมืองไทยสู้นานาชาติได้ แต่ต้องปรับตัวตลอดเวลา สร้างอัตลักษณ์ให้ประเทศได้ และต่อยอดไปอย่างไม่หยุดยั้ง บางสาขาไม่สามารถเปรียบเทียบกับนานาชาติเนื่องจากเป็นเรื่องของชาติเราเองเช่นสถาปัตยกรรมไทย ได้รับการยอมรับสูงมาก เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญให้คนมาท่องเที่ยวบ้านเราและเราเองก็ยังมีเอกลักษณ์ในด้านอุปนิสัยรองรับการท่องเที่ยวได้ดี จึงควรรักษาส่วนดีพัฒนาต่อยอดจากฐานรากความเป็นตัวตนของเราสู่ชาวโลกให้ดีที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับปรัชญาการศึกษาที่รัชกาลที่ 6 ทรงดำริห์ในการก่อตั้งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย เพื่อรักษาความเป็นชาติไว้ไม่ให้ตกไปในบ่วงใดๆของชาติอื่น
@noknokyang4080
@noknokyang4080 4 жыл бұрын
PIM.ทำสิ่งนี้มานานแล้วคะ​ work basd​ learning
@user-qf4yx3jt6o
@user-qf4yx3jt6o 4 жыл бұрын
เสียเวลาไปเยอะมากมาย เอาเวลา4-5ปีที่เสียไปมาหาตังจะดีกว่าเห้อคิดย้อนไปคงไม่เรียน
@user-pz6ws9zx9v
@user-pz6ws9zx9v 4 жыл бұрын
คิดเหมือนกันเลย😅😅
@user-hk3vu4mh4q
@user-hk3vu4mh4q 4 жыл бұрын
ไม่เรียนแล้วจะรู้หลอ ว่าไม่ต้องเรียน
@user-qf4yx3jt6o
@user-qf4yx3jt6o 4 жыл бұрын
ฟิ โกโล่ ก็เรียนแค่ ปวช ปวส พอดี ถ้าได้ทำงานค่อยต่อยอดเอา
@chalongratchartprasert8258
@chalongratchartprasert8258 4 жыл бұрын
@@user-qf4yx3jt6o ลูกสาวกำลังจะจบม3ว่าจะให้ไปเรียน ปวช เรียนสาขาอะไรดีคะพอจะแนะนำได้มั้ยคะ
@user-qf4yx3jt6o
@user-qf4yx3jt6o 4 жыл бұрын
Chalongrat Chartprasert บัญชี การตลาด ถ้าน้องเรียนเก่งแนะนำ พยาบาล หมอ ไม่มีตกงานค่ะ
@KK-uj6dl
@KK-uj6dl 4 жыл бұрын
ผม.... ม.4-.6​ ครูสอนแบบแจกชีทให้ไปหาทำเอง​ นี้ต้องเรียนพิเศษ​ ซื้อหนังสืออ่านเอง เหนื่อย.... และหลายๆอันก็ไม่เข้าใจ​ สมัยนี้อาจดีหน่อยมียูทูป​ สมัย​ 12​ ปีก่อน​ ยังไม่มี​ ช่อง​การสอนวิชาต่างๆเลย
@dotamaze
@dotamaze 4 жыл бұрын
Knowledge and skill always own but before you could control with a required but now you have no control over that because market gives more opportunities. Old people did not change though , when you try to apply for a job then they still want degree.
@homesweethome4463
@homesweethome4463 5 жыл бұрын
ฟังมาครี่งคลิป Oh my god ยังไม่ปรับตัวกันอีกหรือ
@user-bd2vo8hm1v
@user-bd2vo8hm1v 5 жыл бұрын
นิด้า คนเลิกไปเรียนแล้ว ไม่มีคุณภาพ เพราะการเมือง
@suraponghaha1236
@suraponghaha1236 5 жыл бұрын
สุ แสงดี จริง
@tonydebua
@tonydebua 5 жыл бұрын
เรียนสาขาอื่นสิ เขาดังบริหารธุรกิจ มากกว่ารัฐศาสตร์
@user-wd8iq9zt5x
@user-wd8iq9zt5x 5 жыл бұрын
คิดเหมือนกันเลย
@thadatadaman9265
@thadatadaman9265 4 жыл бұрын
ควรมุ่งเรียนเพื่อจัดระเบียบสมองให้ไว้ที่สุดสัก 10ปี ( ม.3) อายุ 18ควรจะคุยกันรู้เรื่องแล้ว สถาบัญ คณะวิชาตลาดก็ยุบเสีย พวก สังคมศาสตร์ สายศิลป์ ทำนองนั้น เพราะเรียนง่ายฯ ไว้เสริมความรู้ไปเรียน มหาลัยฯเปิดก็ได้...ควรเน้น วิศวะกรรม วิทยาศาสตร์ มากฯ ลงทุนให้ สร้าง นวตกรรมใหม่ ไม่ใช่ แข่งขันแจกถ้วยรางวัลสังกะสี เต็มบ้าน ช่างกิโลก็ไม่มีใครซื้อ ทุกวันนี้ กูรู ครูบาอาจารย์ ผลงาน นวตกรรมก็ไม่เคยมี สอนไป น.ศ.จบมา ก็ไป สอน คนอื่น แลกเงินตรา ไม่นาน กูรู เต็มเมือง
@mrmoscoffee2880
@mrmoscoffee2880 5 жыл бұрын
สอนแต่ ความรู้ และการแข่งขันการเข้ามหาลัย มีหน้ามีตา เรียนมหาลัยแล้ว การันตรี ได้หรือป่าวว่า เรียนมหาลัยแล้ว ได้ทำงานกันทุกคน ทุกวันนี้ เรียนมกาลัย ตกงาน ไม่มีงานทำ เยอะมากๆมีแต่นักวิชาการ ดร เก่งๆ ทั้งนั้น สอน เก่ง แต่เด็กตกงาน เพียบ เยอะ
@smanar5829
@smanar5829 4 жыл бұрын
วิกฤตสถาบันการศึกษาอีกอย่างในยุคนี้คือไม่จำเป็นต้องไปเรียนในณสถาบันการศึกษา ความรู้หาได้ในยูทูปนี่ง่ายกว่าและก็มีเยอะแยะสะดวกรวดเร็ว แต่เห็นข้อมูลพบว่าการวิเคราะห์swotของหน่วยงานมีปัญหา ก็เพราะว่ามองติดในกรอบของต้องรับคนมาเรียนที่สถาบัน คนเราเรียนรู้ตลอดชีวิตครับตั้งแต่เด็กเล็กๆจนแก่ ยุคนี้ไม่จำเป็นที่ต้องมานั่งเรียนที่สถาบัน สิ่งแรกที่ต้องปรับมุมมองคนในสถาบันว่าราชภัฎคือหน่วยธุรกิจหนึ่ง การเข้าหาและเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป็นสิ่งสำคัญ แล้วลูกค้ากลุ่มไหนดี นักเรียนที่เพิ่งจบมัธยม (อย่างที่รู้กันว่าอัตราการเกิดของคนในประเทศลดลงตลอด) รึว่าคนวัยทำงานที่ต้องการความรู้เพิ่ม สำคัญมัยว่าต้องเป็นกลุ่มเดียวหลายกลุ่มดีกว่ามั้ย สำหรับผมคิดว่าควรมองคนที่อยากเรียนและที่มีกำลังซื้อคือใคร ทำอย่างไรคนเหล่านี้จะมาเรียน หลักสูตรเนื้อหาตอบสนองผู้เรียนเหล่านี้รึไม่ มหาลัยมองเห็นจุดอ่อน จุดแข็งและโอกาสตรงนี้อย่างไร ขอให้ข้อมูลเบื้องต้นเพียงเท่านี้ หากคนในองค์กรหรือสถาบันเอาไปเสนอผู้บริหารนำไปใช้
@skkkh1728
@skkkh1728 4 жыл бұрын
ม.ต่างประเทศมีคณภาพออกไปเรียนได้ง่ายขึ้น ม.รัฐต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้นแย่งวัตถุดิบกันเอง และ ประชากรนักเรียนลดลง ต่อไปนิด้าก็จะเจ๊งไปในที่สุด
@duangdeekab8287
@duangdeekab8287 4 жыл бұрын
ผมคนหนึ่งที่เสียเวลากับการศึกษาแต่มีเพื่อนผมคนหนึ่งจบป.4 เขาออกเลยไม่เรียนต่อเขาเริ่มทำสวนจากที่ดินจับจอง25ไร่ ผ่านมาถึงวันนี้เขามีเกือบ500ไร่พอมาเทียบกับปริญญาที่ผมมี พอผมตายปริญญาก็ตายตามผมแต่ถ้าเพื่อนผมตายที่ดินทั้งหมด ตกเป็นมรดก นี่คือข้อคิดที่ฝากให้คิดครับ
@surachaijj79
@surachaijj79 5 жыл бұрын
ดูจากจำนวนกดไลค์และคอมเมนต์แล้วเดาทิศทางการศึกษาของไทยได้เลย
@sfsfsfsfsfgdgdgdkoui3315
@sfsfsfsfsfgdgdgdkoui3315 4 жыл бұрын
บางวิชากว่าจะได้เรียน ต้องนั่งฟัง อาจารย์บ่น เกือบชั่วโมง
@jcioletsako5179
@jcioletsako5179 5 жыл бұрын
การศึกษาสอนแต่เปลือก ไม่สอนแก่น
@dramsterdamederotterdame.6114
@dramsterdamederotterdame.6114 5 жыл бұрын
///@ชื่นชม>*เทพเจ้าวิเคราะห์สถานะการณ์ข่าวระดับโลก&ฯพณฯท่านสุทธิชัย หยุ่น//////เราชาวไทย70/ล้านขอบคุณ นำโลกวิวัฒนาการสูู่สังคมชาติ//+//สุดยอดเกียติยศเราชาติไทย>>>>>>>>>>>>>/?///////////////
@user-rq2zv5jd1r
@user-rq2zv5jd1r 4 жыл бұрын
มันอยู่ที่รัฐบาลและเศรษฐกิกของประเทศ ถ้าเศรษฐกิจไม่ดีงานก็ไม่มี ตนตกงานเยอะ
@jakkrapatk
@jakkrapatk 5 жыл бұрын
Online seems to be the main method of learning. A degree just opens your doors!
@jaysoulivanh2959
@jaysoulivanh2959 5 жыл бұрын
Very true mate, some people still have the perception that degree will lead them to be rich.
@compatible2000
@compatible2000 5 жыл бұрын
ปรับตัวเรียนรู้ก็อยู่รอดครับ
@AT-zu3zg
@AT-zu3zg 5 жыл бұрын
เพราะอาจารย์ใยมหาวิทยาลัยทั้งหลายความรู้เยอะ จึงปิดหูปิดตาจนมองไม่เห็นแม้แต่จุดเล็กไปอย่าง "กศน" หรือวิธีการแจกความรู้ของร.ร. ไกลกังวลของในหลวงร.9 มุ่งแต่ล้างสมองให้เด็กเห็นความสำคัญของกระดาษแผ่นเดียวมากกว่าความรู้ที่นำมาใช้งานจริง ฯลฯ
@mes2256
@mes2256 4 жыл бұрын
ก่อนเข้าเรื่อง รอซะเอียนเลย คงสำคัญผิดคิดว่ามีคนอยากดูมาก.... ล้าหลัง
@alfa7alfa
@alfa7alfa 5 жыл бұрын
นักกฏหมาย วิศวกร แพทยศาสตร์ เศรษฐศาสตร์เฉพาะวิชาชีพประมาณนี้เท่านั้น ที่มหาวิทยาลัย จะผลิตเป็นหลัก ที่เหลือ รอดูครับ
@user-mu7rl5zz9w
@user-mu7rl5zz9w 5 жыл бұрын
มีอาจาริย์ หมอคณะทันตแพทย์ศาส จุฬา ท่านหนื่ง ดังในหมู่ นักศืกษา. สื่อมวลชน ยากทึ่จะรู้
@user-zp1jq9kb5z
@user-zp1jq9kb5z 5 жыл бұрын
ไปไกลมากครับสุดยอดเข้าใจง่ายได้ความรู้ทันสมัย
@user-jp7ok2rx4e
@user-jp7ok2rx4e 4 жыл бұрын
สมัยนี้ครูอาจารย์ไม่ค่อยมีความสำคัญแล้ว เวลาสอนก็ให้ไปค้นคว้าเอง ไม่ค่อยอยากสอน ตอนนี้ครูอาจารย์ที่ดีที่สุด คือกูเกิล ยูทูป เฟสบุค เรียนแล้วเสียเงินน้อย เสียแต่ค่าเน็ต ค่าซื้อโทรศัพท์ ชาร์ทไฟ แต่ความรู้มากมายกว่าครูอาจารย์มากมายหลายเท่า5555
@katinte3092
@katinte3092 5 жыл бұрын
อาจารย์พูดดี แต่รำคาญคนสัมภาษณ์ชอบพูดแทรกตลอด
@homesmoll
@homesmoll 4 жыл бұрын
สรุปว่า อีก ไม่เกิน 50 กระทรวงศึกษาถูกยุป มหาลัยไม่ต้องมีหรือครับ โรงพยาบาลต่าง ๆ ผลิตหมอกันเอง โรงงานต่าง ๆ ก็ผลิตคนงานที่เหมาะกับหน้าที่กันเองหรือครับ ตำรวจ ทหาร คนที่จะไปทำหน้าที่ศาล ทนาย นักวิทยาศาสตร์
@user-dd7qw2br1c
@user-dd7qw2br1c 4 жыл бұрын
ปรับหลักสูตรแหละส่งเสริม​ แบบเรียนแบยออนไลน์​ หรือทำงานไปด้วยเรียนไปด้วยสิครับ​ #คหสต.
@user-nc2zs8bl7i
@user-nc2zs8bl7i 4 жыл бұрын
ในเมื่อความรู้ไม่ได้กองอยู่ในที่ใดที่หนึ่งอีกแล้ว ถ้าอนาคตมีการปรับตัวก็ต้องเปิดใจให้คนไม่มีปริญญามีสิทธิ์สอบแข่งขันเข้าทำงานในหน่วยงานอื่นๆด้วย โดยที่เขาไม่ต้องผ่านการประทับตราหรือการันตีจากการลงทุนซื้อตำราและนั่งเรียนกับครูพาเวอร์พ้อยท์ในมหาลัย
@-wits4645
@-wits4645 4 жыл бұрын
ครูอาจารย์ในมหาลัยไม่อยากปรัวตัวหรอกนะ อยู่ใน comfort zone มานานแล้ว ปลาส้มมันเปรี้ยวแล้ว เปลี่ยนไปเป็นปลาแบบอื่นยาก
@akchai262
@akchai262 4 жыл бұрын
เปิดหลักสูตรปฏิวัติ,ปลดงัดเซพ,ัสูตรปล้นเงินคนมีตังหลักสูตรการปล่อยยาเพราะมีตัวอย่างให้เห้นอยู่ว่าทำแล้วได้ดีขนาดไหน
@redshirtbikini
@redshirtbikini 5 жыл бұрын
เทคโนโลยี​ยิ่งทันสมัย​คนจะยิ่ง​อ่อนแอ​ ทุกวันนี้​แค่ไม่มีอินเตอร์​เน็ท​ก็อยู่ไม่ได้แล้ว
@tktk134
@tktk134 5 жыл бұрын
เห็นด้วยค่ะ.
@user-iw1mz6st7o
@user-iw1mz6st7o 5 жыл бұрын
ม แถวรังสิตรอดแล้ว มีหลักสูตรกัญชา
@Jade44968
@Jade44968 5 жыл бұрын
World Economic Forum 21 Century Life Strong Learning, Knowhow can find anywhere anywhere
@jcioletsako5179
@jcioletsako5179 5 жыл бұрын
ใครบอกว่าประชากรลดลง มันไช่หร๋อ?
@user-th4lr1jy4y
@user-th4lr1jy4y 4 жыл бұрын
เรียนแล้วยังตกงาน เก็บเงินล้านที่ใช้เรียนมาทำทุนชีวิตดีกว่า เด็กแถวบ้านเรียนจบหมดเกือบล้าน หางานทำไม่ได้ มาทำขนมขายไปวันๆ จบมหาลัยเงินเดือนหมื่นห้า แต่หางานทำไม่ได้ ต้องใช้วุธ ม.6 ทำงาน รับ9000
@user-dd7qw2br1c
@user-dd7qw2br1c 4 жыл бұрын
หลักสูตร​ 2ปี​ เรียน1ปี​ workshop 1 เทอม​ ฝึกงานข้างนอก​ 1​เทอม​ ก็น่าจะได้ประโยชน์บ้าง
@user-dk9ko2uc4s
@user-dk9ko2uc4s 4 жыл бұрын
ดีแลัวจบออกมาก่อไม่มีงานทำ.เด็กบ้านนอกเส้นสายไม่มี.พ่อ.แม่ส่งเรียนเสิยเงิน.เสยทอง..
@prasitkooha4990
@prasitkooha4990 4 жыл бұрын
หยุ่นเองก็ไม่รอด หมดยุคแล้ว
@user-dd7qw2br1c
@user-dd7qw2br1c 4 жыл бұрын
บอกลูกให้เรียน​ป.ตรีแล้ว​ ลูกสาวยังบอกขอวุฒิปวส.ก่อนพ่อ​ 555
@superkenwy3982
@superkenwy3982 4 жыл бұрын
สมัยนิ้ไม่ต้องเรียนจนจบมหาลัยก็ได้จบมหาลัยใช่ว่าจะเป็นคนดีไปหมดจบ ป 6 ก็ประกอบอาชีพสุจริตอยู่ใจเราสอนเราเอง
@user-tm9uw8bz2f
@user-tm9uw8bz2f 4 жыл бұрын
มหาวิทยาลัยมันเข้ามาถึงในบ้านของทุกคนแล้ว คงไม่เสียเวลาไปเรียนนอกบ้านแล้ว
@bat1845
@bat1845 5 жыл бұрын
สุดวะสวยพี่สวย
@mercilesskaka8694
@mercilesskaka8694 5 жыл бұрын
โดนหลอกให้ไปเรียน
@233yhurssd
@233yhurssd 4 жыл бұрын
เรียนสี่ปีหมดเงินไปกี่บาท จบมาเงินเดือนกี่บาท
@chalongratchartprasert8258
@chalongratchartprasert8258 4 жыл бұрын
อย่างน้อยๆก็ครึ่งล้านคะ จบมาจะมีงานทำรึเปล่ายังไม่รู้เลย
@user-nd4we4mv4i
@user-nd4we4mv4i 4 жыл бұрын
อยู่ๆ เกิดเหตุการณ์แบบนี้ เพราะอะไร หรือคนรุ่นใหม่ต้องการ การเปลี่ยนแปลง เลยหาวิธีกำจัด รึเปล่า
@thekopthailand2885
@thekopthailand2885 4 жыл бұрын
ปัญหาที่เน่าเฟะที่สุดของการศึกษาไทยคือ ครูไม่มีคุณภาพ มันผิดตั้งแต่ตั้งสถาบันวิลัยครู(ราชภัฎ) เกิดการเอาคนที่ ไม่เก่ง ไม่ใช่หัวกะทิ มาเป็นครูตามบ้านนอก หรือแม้กระทั่งโรงเรียนประจำจังหวัด เอาคนไม่เก่ง ไม่รู้กี่รุ่นต่อกี่รุ่นมาสอนเยาวชนชาติ ครู*ส่วนใหญ่ก็มีพฤติกรรมวัตถุนิยม วันๆไม่คิดสอนเด็ก ผ่อนบ้าน ผ่อนรถ สอนพิเศษ ขายแอมเวย์ ทำอาชีพที่2 เกือบทุกครอบครัวครู พอกระทรวงเขาจะผลิตครูที่มีคุณภาพ ให้เงินเดือนเยอะขึ้น ดึงคนเก่งเข้ามา กลับกลายครูเดิมไม่ส่งเสริมกลับอิจฉาริษยา ประท้วงทำไมครูใหม่เงินเดือนเยอะกว่าตัวเอง ผิดที่ระบบสร้างครูตั้งแต่แรก เอาคนคิดไม่เป็นมาสอนเด็ก มันก็เลยแย่ ขอโทษนะที่จี้ใจดำครูทั้งหลาย แต่คือความจริง
@user-ud3gj5oy2q
@user-ud3gj5oy2q 5 жыл бұрын
ดร อมน้ำลายฟรั่งมาพูดแล้วเอามาแอ๊บทำเป็นมีวิสัยทัศ
@noumthailand2965
@noumthailand2965 5 жыл бұрын
เรียนไม่เรียกอีกหน่อยตกงานหมด เพราะ เครื่องจัด ai มันพัฒนาเเบบก้าวกระโดด อีกหน่อยมันจะประกอบมือถือได้เองไม่ใช้คนเเล้ว
@jibzrinyapat2707
@jibzrinyapat2707 5 жыл бұрын
เราคิดมานานเรื่องนี้ตอนนี้ลูกเราอยู่ประถมเค้าจะไม่เรียนมหาลัยเพื่อเอาใบปริญญาเราก็ไม่ซีเรียสเลยนะ
@armorgonwielder4082
@armorgonwielder4082 5 жыл бұрын
จริง ยุคนี้โอกาสเปิดขึ้นมากครับ ถ้ามีแฟนก็คงคุยเร่่องนี้กับแฟนเหมือนกัน ว่สเน้นให้เขาเจอศักยภาพในตัวเองมันคุ้มกว่า ส่วนเรื่องเรียนมหาลัย ไม่ต้องซีเรียสมาก
@nathapong1962
@nathapong1962 4 жыл бұрын
แล้วแต่สาขานะ (คหสต) ถ้าต้องเอาใบปริญญา ไปขอใบอนุญาต ยังไงก็ต้องเรียน มหาลัย เช่น วิศวะโยธา หมอ บัญชี กฎหมาย ผมเป็นห่วง สาขาที่เกี่ยวกับสังคม คนเรียนอาจจะน้อยลง
@user-hk3vu4mh4q
@user-hk3vu4mh4q 4 жыл бұрын
@@nathapong1962 👍 เป็นหมอไม่มีใบเซอ เป็นหมอเถื่อน
@superkenwy3982
@superkenwy3982 4 жыл бұрын
ยุบๆไปบ้างก็ดีชื่อมหาลัยชื่อโก้เก๋แต่ไม่มีคุณภาพมีอยู่เกือยทุกจังหวัดผลิตนิสิตนักศึกษาจบออกมาก็ไม่ได้นำเอาวิชาความรู้มาใช้พัฒนาสังคม
@user-pj8nf6ss1p
@user-pj8nf6ss1p 5 жыл бұрын
เรียนเหี้ยอะรัยเรียนมาแล้วอย่างเหี้ยธนาเรียนฝรั่งเศสจบฝรั่งเศสยังหลงประชาธิปไตยเศสเลยทั้งๆๆคนละสังคมกับประชาธิปไตยของไทย
@bunpharmkwankitsatornkun3028
@bunpharmkwankitsatornkun3028 5 жыл бұрын
ปชตแบบไทยๆ มีมา87ปีทหารยึดอำนาจไป50ปี รปห13ครั้ง ถ้าเผด็จการ​ดีจริงปททเจริญไปนานแล้ว​ เฉลี่ยทุก6ปี รปหครั้ง ปชตมันไม่เคยมีเวลายืนต้นจริงๆ​สักที รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งยืนอยู่ครบวาระมีแค่ครั้งเดียว ไตหวันอยู่ใต้เผด็จการ​ทหารมา40กว่า เพิ่งเป็นปชต ปี1996 ดูตอนนี้สิ เจริญก้าวหน้า​กว่าไทย มันยากที่บางคนจะเปลี่ยนความคิดได้ เพราะโตมากับการโดนยึดอำนาจ ถ้าอยากส่งต่ออนาคตที่คนรุ่นต่อไป ลูกหลานต้องก้มหัวให้พวกอำนาจนิยม ก็เชิญส่งเสริมต่อไปคับ ถ้าเชื่อว่าความคิดตนมั่นคง​ มีหลักการก็จงยืนให้มั่น คลื่น​ลมแห่งยุคสมัยใหม่ มันแรง
LOVE LETTER - POPPY PLAYTIME CHAPTER 3 | GH'S ANIMATION
00:15
Русалка
01:00
История одного вокалиста
Рет қаралды 7 МЛН
Дарю Самокат Скейтеру !
00:42
Vlad Samokatchik
Рет қаралды 8 МЛН
LOVE LETTER - POPPY PLAYTIME CHAPTER 3 | GH'S ANIMATION
00:15