ทดลองวัดค่า pH และธาตุอาหารในดินเมื่อรดราดแบคทีเรียสังเคราะห์แสงและ EM

  Рет қаралды 95,701

Glory Farm

Glory Farm

Күн бұрын

Пікірлер: 102
@Akrapasit
@Akrapasit 2 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับข้อมูล และผลการวิเคราะห์ครับ EM มีส่วนประกอบของ จุลินทรีย์สังเคราะแสง กรดซิตริก และจุลินทรีย์ย่อยสลาย จึงให้ค่าปุ๋ยได้ดีที่สุดครับ ส่วนค่า ph คาดว่าใช้นานอย่างต่อเนื่อง ก็จะไม่ลดต่ำลงกว่านี้ เนื่องจากมีการย่อยสลายธาตุอาหารให้พืชตลอดเวลา ...ส่วนจุลินทรย์สังเคราะห์แสง ใช้เพื่อบูสต์ระบบราก และขนาดลำต้น ท่อลำเลียง และใบ ทำให้พืชสามารถสังเคราะห์แสงได้ดีขึ้น จึงผลิตอาหารได้ดีขึ้น แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น จุลินทรีย์สังเคราะแสงเป็นเพียงสับเซ็ทของ em
@บุเรงนอง-ช4ฝ
@บุเรงนอง-ช4ฝ Жыл бұрын
ชอบครับ มีข้อมูลชัดเจน ขอบคุณนะครับสำหรับความรู้ดีๆ 👍😊
@nitilove3263
@nitilove3263 3 жыл бұрын
ขอบคุณมาก เป็นคลิปที่มีความพยายามเจาะลึกสาระดีดี หาข้อเท็จจริง นับถือมาก..พูดจาฉะฉาน ชัดเจน. ถือว่าเยี่ยมมากครับ ผมติดตามดูทุกคลิป 👍⚗ แต่ขออนุญาตติ เรื่องกล้อง ช่างกล้องมือโคตรไม่นิ่งเลย ขยับตลอด แถมบางครั้งไม่จำเป็นต้องซูมเข้า-ออก หรือไม่จำเป็นต้องซูมตามนิ้ว แค่ให้ภาพอยู่ในโฟกัสของเลนส์ก็พอ นี่เคลื่อนไหวตามคนพูดตลอด ทำให้ปวดตา มึนห้วมากๆ+++ แนะนำใช้การตั้งกล้องดีกว่า ขาตั้งราคาถูกๆมีเยอะมาก ไม่ถึง100฿ก็มี ใช้คนถ่ายบางบริบทก็พอครับ
@goodphone6266
@goodphone6266 5 жыл бұрын
ขอบคุณครับกับการทดลอง มีประโยชน์มาก ผมมองว่า สีเขียวสีแดง สีม่วง ธาตุอาหารสำหรับพืชก็วนเวียนอยู่ กับไนโตรเจนและซัลเฟต เป็นหลักรวมถึงกรดอมิโนต่างๆ แต่สีแดงกับสีม่วงมีประโยชน์กับสัตว์ด้วยเพราะตัวมันเองมีโปรตีนสูง สีเขียวน่าจะมีน้อย วงการสัตว์น้ำ กุ้ง ปลา ก็คงชอบสีแดงกับม่วง สีเขียวใช้ไม่ได้มันเป็นบลูกรีนแอลจี เวลาเกิดมากหรือดร็อป มันสร้างปัญหาให้สัตว์น้ำมากๆ emให้ธาตุอาหารสูง เพราะย่อยเก่ง โดยเฉพาะในดินที่มีอินทรีย์วัตถุอยู่ เลยปล่อยธาตุอาหารได้มาก emใช้ได้ดีในวงการสัตว์บกและสัตวัน้ำ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
ที่คุณเข้าใจว่าสีเขียวเป็นบลูกรีนแอลจี หรือสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินนั้นไม่น่าจะถูกต้อง ลองดูการแบ่งประเภทแบคทีเรียเชิงวิชาการดู คู่มือ Bergey's Manual ตีพิมพ์ครั้งที่ 2 แบ่งแบคทีเรียสังเคราะห์แสงออกเป็น 6 กลุ่มดังนี้ 1. Green non-sulfur bacteria อยู่ในไฟลัม Chloroflexi ตัวสำคัญของกลุ่มนี้ เช่น Chloroflexus, Oscillochloris and Heliothrix 2. Green sulfur bacteria อยู่ในไฟลัม Chlorobi (อยู่ในวงศ์ Chlorobiaceae) ตัวสำคัญของกลุ่มนี้ เช่น Chlorobium, Chloropseudomonas, Pelodictyon, Clathrochloris and Chlorobacterium 3. Cyanobacteria อาศัยอยู่ระดับผิวน้ำทะเล สังเคราะห์แสงโดยใช้แสงแดด ออกซิเจน และน้ำ (เป็นตัวส่งผ่านประจุอิเลคตรอน) 4. Purple sulfur bacteria อยู่ในไฟลัม Proteobacteria (gammaproteobacteria) อยู่ในวงศ์ Chromatiaceae ตัวสำคัญ เช่น Thiospirillum, Chromatium, Ectothiorhodospira, Thiocystis, Thiocapsa, Lamprocystis, Thiodictyon, Thiopedia and Amoebobacter spp. ในขณะที่ Green and Purple sulfur bacteria สังเคราะห์แสงโดยไม่มีอากาศ (ไม่ใช้ออกซิเจน) โดยใช้ส่วนผสมของซัลไฟด์ (sulfide) ธาตุซัลเฟอร์ ไธโอซัลเฟต รวมทั้งอนุภาคเหล็กและไฮโดรเจน เป็นตัวส่งผ่านประจุอิเลคตรอน แต่แตกต่างกันก็ตรงที่ - Purple sulfur bacteria เมื่อใช้ตัวส่งผ่านประจุไฟฟ้าแล้ว ก็เริ่มสะสมเม็ดเล็กๆ หรือจุดละเอียดๆของซัลเฟอร์ภายในเซลล์ของมัน - Green sulfur bacteria สะสมเม็ดเล็กๆ ของซัลเฟอร์ภายนอกเซลล์ของมัน 5. Purple non-sulfur bacteria (alphaproteobacteria) 6. Purple non-sulfur bacteria (betaproteobacteria) ตัวสำคัญในกลุ่ม Purple non-sulfur bacteria เช่น Rhodospirillum, Rhodopseudomonas, Rhodomicrobium, Rhodopila, Rhodocyclus and Rhodobacter จากวงศ์ Rhodosprillaceae จะเห็นว่าที่เกษตรกรเพาะกันอยู่และได้สีเขียวนั้นก็คือแบคทีเรียสังเคราะห์แสงสีเขียวประเภทไม่สะสมกำมะถัน ส่วนจะนำไปใช้เป็นประโยชน์ต่อสัตว์น้ำได้หรือไม่ได้นั้นอันนี้ไม่ทราบครับเพราะว่าไม่เคยมีประสบการณ์เลี้ยงสัตว์น้ำ เผื่อจะเข้าใจะระดับลึกขึ้นลองตามคลิปนี้ดูครับ kzbin.info/www/bejne/jZXIiZxsYpKGn9U
@ศักดาติยาภักดิ์
@ศักดาติยาภักดิ์ 6 жыл бұрын
เป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องการทำงานเชิงวิจัยแบบง่ายๆนอกห้องแล็ป ขอบพระคุณมากครับ
@apornkantiya9349
@apornkantiya9349 3 жыл бұрын
วิชาการคุ้มค่า ความรู้เพิ่มพูน ขอบคุณมากๆคะ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 3 жыл бұрын
ยินดีครับ
@mekoendo3874
@mekoendo3874 5 жыл бұрын
ขอบคุณมากๆครับ สำหรับการสละเวลาทดสอบ ทดลอง เพื่อประโยชน์ของเกษตรกรที่ได้เข้ามาชมคลิปนี้ เป็นประโยชน์มากๆครับ
@aisaisbuddy6877
@aisaisbuddy6877 3 жыл бұрын
ขอบคุณครับ เป็นเหตุเป็นผลเชิงวิทยาศาสตร์ ควรชื่นชม ควรติดตาม
@lumrahkehidupan4916
@lumrahkehidupan4916 4 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ สำหรับการทดลอง แต่อยากให้ อ.ทดลองในกระถางที่ปลุกพืชไปพร้อมๆกันเลยค่ะ จะได้เห้นการเจริญเติบโตและความแตกต่างของพืชที่ใช้สารอาหารที่ต่างกันค่าา..ขอบคุณค่ะ
@suphodmungjeemklang1310
@suphodmungjeemklang1310 4 жыл бұрын
ดีมากครับ, แต่ผมยังเพิ่งเริ่มทดลองทำแบคทีเรียสังเคราะห์แสงอยู่เลยครับ, ขอบคุณความรู้ดีๆครับ
@สมปองมีบุญ-ด9ผ
@สมปองมีบุญ-ด9ผ Жыл бұрын
ชัดเจนทุกขั้นตอน
@Tnee27
@Tnee27 2 жыл бұрын
ขอบคุณข้อมูลดีๆ ค่ะ ทำให้มั่นใจในการทำปุ๋ยน้ำไว้ใช้มากขึ้นไปอีกค่ะ
@titimafrcho5828
@titimafrcho5828 4 жыл бұрын
ขอบคุณมากนะคะ สำหรับความรู้ที่เผยแพร่ ทำแค่ผักสวนครัวไว้ทานเอง แล้วเพิ่งเริ่มทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง ทำมาได้ 20 วัน เพิ่งเริ่มเป็นขวดเดียวแล้วเป็นสีเขียว ทีแรกคิดว่ามันเน่าใช้ไม่ได้ กำลังเปิดหาข้อมูลพอดีเลยคะ ขอบคุณมากๆนะคะ
@iampeople.1709
@iampeople.1709 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ. เป็นตัวอย่างที่ดีของการเก็บข้อมูลคุณภาพดิน. ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นมากของเกษตรกร.
@toffyland7443
@toffyland7443 6 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆ ครับ ผมได้ลองซื้อเครื่องวัดค่าปุ๋ย+PH สีดำสามขา มาลองใช้ และได้ลองวัดค่าในกระถาง 3 จุด ต่างกันสุดขั่วครับ จะไม่ใกล้เคียงกันสักจุด ทั้งที่ถอดมาเช็ดล้างเครื่องมือ
@kunjai11aeiou
@kunjai11aeiou 6 жыл бұрын
ดีใจ มีการร่วมมือกันเกิดขึ้น เราจะโตเราจะโต(ต้นไม้ดีใจ) ขอบคุณมากๆ เก่งๆๆๆมาก
@cafedum9825
@cafedum9825 3 жыл бұрын
ขอบคุณนะครับ ปล. ลายมือสวยมากครับ....นับถือ
@patama5725
@patama5725 3 жыл бұрын
เยี่ยมค่ะหายข้องใจ
@jillareenukul
@jillareenukul 6 жыл бұрын
ขอบพระคุณมากครับ ชัดเจนแจ่มแจ้งเลยครับผม
@adoonpetchakrai8744
@adoonpetchakrai8744 6 жыл бұрын
การทดลอง...ช่วยให้การใช้แบคทีเรียทั้งสีม่วงและสีเขียว...มีความมั่นใจย่ิงขึ้นครับ ขอบคุณมากครับสำหรับข้อมูลดีๆที่นำเสนอครับมีประโยชน์มากครับ
@protnimsomboon1223
@protnimsomboon1223 5 жыл бұрын
เยี่ยมมาก ครับ ได้ความรู้ มาก ครับ
@pattanapattana6014
@pattanapattana6014 6 жыл бұрын
ขอบคุณครับสำหรับความรู้ดีๆ
@m10226677
@m10226677 4 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับการทดลองดีๆ ครับ
@kittaykhumtonwong9560
@kittaykhumtonwong9560 6 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ สำหรับข้อมูลประกอบความรู้
@กุมภาเสลาหลัก
@กุมภาเสลาหลัก 6 жыл бұрын
ดีมากครับ เพื่อเป็นความรู้ความเข้าใจกับเพื่อนเกษตรอินทรีย์ซึ่งมีมากขึ้น
@เกษตรพื้นบ้าน-ท2ม
@เกษตรพื้นบ้าน-ท2ม 6 жыл бұрын
ชัดเจน หายสงสัย ขอบคุณครับ
@ningning7448
@ningning7448 3 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ ได้ความรู้และเปรียบเทียบให้เห็นชัดเจนมากค่ะ
@supaaekarum8822
@supaaekarum8822 4 жыл бұрын
ขอบคุณคะ เป็นประโยชน์มากคะ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 4 жыл бұрын
ยินดีครับ
@Huahinfarm
@Huahinfarm 5 жыл бұрын
สุดยอด ขอบคุณที่แบ่งปัน
@ธีระพงษ์เอี๊ยมหุ่น
@ธีระพงษ์เอี๊ยมหุ่น 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ
@golanyugonviseanavipa8141
@golanyugonviseanavipa8141 2 жыл бұрын
คุณลุงใช้เครื่องได้ถูกประเภทค่ะของใช้เฉพาะจะไปใช้ทั่วไปมันก็กระไรอยู่ใช่มั้ยค่ะ👍👍👍
@เฉลิมพรบุญแทน
@เฉลิมพรบุญแทน 6 жыл бұрын
ได้ความรู้เพิ่มเติมขอบคุณมากครับ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 6 жыл бұрын
ยินดีครับ
@praditsriprasert9273
@praditsriprasert9273 6 жыл бұрын
อธิบายเข้าใจง่ายได้ความรู้รายละเอียดดี ผมพึ่งทดลองทำเเพาะเชื้อได้หนึ่งอาทิตย เป็นสีเขียว์
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 6 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@มงคลท่อนพุทรา
@มงคลท่อนพุทรา 2 жыл бұрын
สุดยอดมากครับ
@napapornakkapin7421
@napapornakkapin7421 6 жыл бұрын
ชอบมากเลยค่ะ เพิ่งติดตามดูคลิปค่ะน่าสนใจมาก
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 6 жыл бұрын
ลองติดตามดูคลืปอื่นๆ ที่ผมนำเสนอนะครับ เผือได้ความรู้ความเข้าใจเรื่องแบคทีเรียสังเคราะห์แสงมากยิ่งขึ้น
@ชาวสวนธารโตพาชม
@ชาวสวนธารโตพาชม 3 жыл бұрын
ได้ความรุ้ครับผม
@คมกริชพนิชนาพันธ์-ส7ด
@คมกริชพนิชนาพันธ์-ส7ด 6 жыл бұрын
เยี่ยมครับ ติดตามตลอด
@moojoezaa
@moojoezaa Жыл бұрын
เป็นไปได้ไหมครับว่า สีเขียว เหมาะกับเอาไปผสมอาหารเลี้ยงสัตว์ เพราะมีโปรตรีนด้วย
@แ-ม-ว-เ-ป้-า-90s
@แ-ม-ว-เ-ป้-า-90s 2 жыл бұрын
🙏 ขอบคุณค๊าบ
@ช่างศักดิ์-ณ3ฌ
@ช่างศักดิ์-ณ3ฌ 3 жыл бұрын
ชัดเจนมาก ขอบคุณครับ
@พลพลคนรักปืน
@พลพลคนรักปืน 6 жыл бұрын
เยี่ยมเลยครับ
@yupapornlimsakul3285
@yupapornlimsakul3285 4 жыл бұрын
สรุปแล้วเราควรใช้EM ตอนไหน และควรใช้แบคทีเรียสังเคราะห์แสงตอนไหน และควรทิ้งช่วงการใช้ห่างกันนานเท่าไหร่ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพกับพืชมากที่สุด เพราะทั้งEM และแบคทีเรียสังเคราะห์แสง วัดค่าphออกมาใกล้เคียงกัน ขอบคุณค่ะ
@แจ็กกี้ตันตัน
@แจ็กกี้ตันตัน 2 жыл бұрын
เครื่องวัด ยี่หอ ราคา ซื้อได้ที่ไหนครับ ขอบคุณมากครับ
@kaisuwan6966
@kaisuwan6966 5 жыл бұрын
มีประโยชน์ครับ..ยอแชร์ครับ
@kissmalineelakcharoen1323
@kissmalineelakcharoen1323 3 жыл бұрын
ขอบคุณนะคะ
@ung2002
@ung2002 4 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@zeedoui99
@zeedoui99 5 жыл бұрын
ดีมากครับ
@apiwanchiyasaeng9378
@apiwanchiyasaeng9378 4 жыл бұрын
อาจารย์คะ,เมื่อจุลินทรีย์มีสีแดง,หรือเขียวแล้ว,นานเท่าไหร่จึงสามารถนำไปใช้ได้คะ?
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 4 жыл бұрын
สีเข้มก็เริ่มใช้ได้แล้ว ควรใช้ให้หมดภายใน 3 เดือนครับ
@ไตรณรงค์ทองคํา
@ไตรณรงค์ทองคํา 4 жыл бұрын
ขอบคุณครับ สำหรับคำแนะนำชี้แจงให้ความรู้ที่ดีมากๆครับ..
@panumartlamangtong2514
@panumartlamangtong2514 4 жыл бұрын
ขอโทษนะครับ... ขอชมภาพ-ก่อน-และ-หลัง... ต้น อะโวคาโด้...จะได้มะครับ? ปฏิบัติให้ดูบ้างนะครับ...มีแต่-ทฤษฎี... ผมอยากเห็น-ผล-จาก/ของการ-ผลิต-แบ็คทีเรีย อ่ะครับ... ด้วยความเคารพ...ขอบคุณครับ...
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 4 жыл бұрын
ลองเข้า google map มี load ภาพ ล่าสุดต้นอะโวคาโดที่ติดดอกออกลูกครับ goo.gl/maps/6eWxmgXW9EdcTPAp6
@ทรงสําอางมุ่งกลาง-ค7ส
@ทรงสําอางมุ่งกลาง-ค7ส 4 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ
@alienmuaythai1509
@alienmuaythai1509 6 жыл бұрын
จะหาซื้อเครื่องมือวัดค่าแบบนี้ที่ไหนได้บ้าง ขอบคุณครับ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 6 жыл бұрын
ลอง search หาดู คงไม่เกินความพยายาม
@suraponharindech4489
@suraponharindech4489 5 жыл бұрын
ใช้ได้
@linuxintranet
@linuxintranet 4 жыл бұрын
นักวิจัยมือ 1 ของประเทศไทย
@ธีรภัทรกลยนีย์
@ธีรภัทรกลยนีย์ 5 жыл бұрын
ใช้กับสัตว์ได้ไหมคับ
@giuseppepiacquadio6886
@giuseppepiacquadio6886 4 жыл бұрын
can these types of products also be used for hydroponics and aquaponics? if you eat fruits and vegetables using these types of fertilizers they are dangerous for humans thanks.
@eplepl2857
@eplepl2857 5 жыл бұрын
sir...could u translate this method and ingredient in English..psb and gsb..
@ณรงค์เดชบุญพร้อม-ฑ1ฦ
@ณรงค์เดชบุญพร้อม-ฑ1ฦ 6 жыл бұрын
ขอคุณ ข้อมูล ดีๆ ครับ ผมมีข้องสงสัย ครับ ยังหาคำตอบ ไม่ได้ครับ ผม กำลังศึกษาและทดลอง การใช้น้ำหมักต่างๆ กับพื้นที่ดินเสื่อม ครับ และ กำลัง ทดลอง ทำ แบตทีเรีย สังเคราะห์แสง กับพื้นที่ ดู จะใช้ รวมกับน้ำหมัก ต่างๆ เช่น จุลินทรีย์ หน่อกล้ยว ปลาหมัก นมหมัก ฮอร์โมนไข่ พวกนี้ มีฤทธิ์ เป็นกรดสูง ph 2-3 แต่แบตทีเรียสังเคราะห์แสง เป็น ด่าง ph 6-8 ถ้าเรา นำมาผสมรวม กัน ระหว่าง กรด และ ด่าง จะมีผลการ เปลี่ยนแปลง ธาตุ อาหาร ไหมครับ เช่น เราใช้ สังเคราะห์แสง 200 ซีซี ผสม น้ำหมักปลา 50 ซีซี ฮอร์โมนไข่ 50 ซีซี จะมีผลอะไร กับพืช ไหมครับ หรือ เราควร จะใช้ แยกกัน ดีครับ พี่ช่วย วิเคราะห์ ให้ผม หน่อย ได้ไหมครับ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 6 жыл бұрын
จุดสำคัญของการปรับปรุงดินที่เสื่อมโทรมนั้นควรจะเน้นการเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์หลากหลายชนิดในปริมาณที่มาก เพื่ออาศัยจุลินทรีย์ทำงานย่อยซากพืชซากสัตว์ และขับของเหลวที่มีประโยชน์ต่อต้นพืชออกมาให้ใช้ดูดกิน ผมไม่่ห่วงเรื่องการเปลี่ยนแปลงของธาตุอาหารหากใช้จุลินทรีย์จากน้ำหมักหลายๆชนิด เพราะธาตุอาหารก็คือธาตุอาหารอยู่แบบนั้นแหละ ไม่ได้สูญหายไปไหน ประเด็นความเป็นกรดด่างที่ควรมองว่าก็คือความเป็นกรดของน้ำหมักต่างๆ จะมีผลไปฆ่าแบคทีเรียสังเคราะห์แสงสีม่วงและสีเขียวหรือไม่ อย่างไรก็ตามผมเชื่อว่าจะไม่มีผลกระทบเพราะว่าคุณผสมหลายอย่างรวมกันแล้วก็ใช้ฉีดพ่นรดราดทันที ไม่ใช่ผสมกันแล้วหมักตั้งทิ้งไว้อีกหนึ่งสัปดาห์ ถ้าดินเสื่อมแบบนี้น่าจะเน้นขยายแบคทีเรียสังเคราะห์แสงสีม่วงให้มากๆ แล้วใช้ตัวนี้ในปริมาณที่มากหน่อยรดราดปรับปรุงดิน ขอให้สำเร็จครับ
@ณรงค์เดชบุญพร้อม-ฑ1ฦ
@ณรงค์เดชบุญพร้อม-ฑ1ฦ 6 жыл бұрын
Glory Farm ขอบคุณครับ จะทดลอง และเก็บ ข้อมูล ครับ พื้นที่ ที่ผมทำ มีปัญหา มาก เป็น ทราย จัด ทรายรวนเลยก็ว่าได้ ชั้นล่าง เป็น ดินเหนี่ยวมันปู เป็นกรดสูง 4.0- 5.0 สวนใหญ่ อยู่ที่ 4.5 หน้าฝนน้ำขัง ชั้นดิน ไม่ระบายน้ำ ทุเรียน รากเน่า หน้าแล้ง หน้าดิน แข้ง ไม่ซับน้ำ สวนใหญ่ เป็นทรายรวน ขาด อินทรีย์วัตถุในชั้นดิน จะลอง ใช้ แบคทีเรีย สังเคราะห์แสงดู ว่า จะส่งผล ดี มากน้อย แค่ไหน ผมอยู่ จันทบุรี อ มะขาม ครับ และ ขออนุญาต แชร์ คลิป ของพี่ ทางเพจ ในเฟสบุ๊ค ผมครับ เพจผม เก้า คนทำเกษตร ครับ คลิปพี่ มีประโยชน์ มากครับ ช่วยทำให้ รู้จัก แบคทีเรีย สังเคราะห์แสง ได้ ดีขึ้น อยากเห็น คลิป งาน เกษตร ดีดี การใช้ แบคทีเรียสังเคราะห์แสง ของพี่อีกครับ ขอบคุณ ครับ
@arowanacafe99
@arowanacafe99 4 жыл бұрын
อ.ครับ ในน้ำจุลินทรีย์ สังเคราะแสงสีเขียว มีส่วนประกอบของโคโลฟิลล์มั๊ยครับ
@sunzedzad
@sunzedzad 3 жыл бұрын
ทำไมน้ำเปล่าถึงมีธาตุอาหารมากกว่า แบคทีเรียสังเคราะห์แสง ?!! 6.7 ** 6.4 ?!
@yahyamoungseetong6421
@yahyamoungseetong6421 3 жыл бұрын
มันเป็นค่าPHเปล่า
@frankwheeler5394
@frankwheeler5394 3 жыл бұрын
👍👍👍❤️
@thkankud3804
@thkankud3804 6 жыл бұрын
สังเคราะห์แสงสีเขียว เวลาโดนแดดจัดๆ สีจะเริ่มค่อยๆจางลง เป็นเพราะอะไรครับ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 6 жыл бұрын
ประสบการณ์ของผม พอโดนแดดจัดๆ สีเขียวจะเข้มมากขึ้น แปลกเหมือนกันที่สีจางลง ลองดูว่าที่จางลงเป็นเพราะทิ้งไว้นานหลายชั่วโมงโดยไม่ได้เขย่าขวดรึเปล่า ตะกอนของแบคทีเรียลงมากองที่ก้นขวดไม๊ย ถ้าลงมากองที่ก้นขวดแบบนี้น่าจะแสดงว่ามันยังแบ่งเซลขยายตัวได้อีก ลองเขย่าขวดเป็นระยะๆดูครับ
@thkankud3804
@thkankud3804 6 жыл бұрын
สังเคราะห์แสงสีเขียวนี้ จะมีกลุ่ม แบคทรีเรีย SS3 อยู่ด้วยหรือเปล่า ขอบคุณมากครับ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 6 жыл бұрын
Green sulfur bacteria ในกลุ่มนี้มี Chlorobium, Chloropseudomonas (Prosthecochloris), Pelodictyon, Clathrochloris and Chlorobacterium คุณช่วยบอกทีว่า SS3 ต้องการหมายถึงตัวไหน มีอยู่ในชื่อเหล่านี้ไม๊ย ลองดู www.biotecharticles.com/Biology-Article/Green-and-Sulfur-Bacteria-705.html
@thkankud3804
@thkankud3804 6 жыл бұрын
Glory Farm (Rhodobacter capsulatus)หรือ ss3 ที่ประเทศญี่ปุ่นประกาศเป็น นโยบายแห่งชาติ ปี2010 เผยแพร่ข้อมูลให้ประชากร ถึงประโยชน์ ของเจ้า ss3 เพื่อประโยชน์ ด้านการเกษตร ปศุสัตว์ และประมุง ครับ
@thkankud3804
@thkankud3804 6 жыл бұрын
www.clinictech.most.go.th/online/pages/blog_view.asp?blog_id=929
@jjjak2148
@jjjak2148 4 жыл бұрын
ถ้าเอาจุลินทรีย์ผสมอีเอ็ม.. จะได้ดินที่เหมาะสมและธาตุอาหารที่สูงขึ้น..
@กะเพราหมูกรอบไข่ดาวสองฟอง
@กะเพราหมูกรอบไข่ดาวสองฟอง 4 жыл бұрын
ผสมกัน จุลินทรีย์ตาย
@jjjak2148
@jjjak2148 4 жыл бұрын
ในอีเอ็มก็มีเชื่อจุลินทรีย์...แล้วจุลินทรีย์ตายได้ไง
@jameji4431
@jameji4431 5 жыл бұрын
ค่า fertility ของ bacteria สังเคราะห์แสง มันแค่ 6.4 แต่ของน้ำเปล่ามัน 6.7 แล้วทำไมสรุปว่ามันเพิ่มขึ้น งงครับ แบบนี้เรารดน้ำเปล่า ค่า fertility ของดินดีกว่าใส่ bacteria นะครับ อันที่จริงผมงงตั้งแต่เอามาผสมทรายและ ทรายมีธาตุอาหารน้อยอยู่แล้วเราก็ทราบกันดี เอามาผสมดิน ค่าธาตุอาหารน่าจะลดลง แต่ผลกลับเพิ่มขึ้นจาก 4 ไปเป็น 6 บบนี้อธิบายยังไงครับ วานผู้รู้ช่วยหน่อยครับ ผมสงสัยมากครับ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
ค่า fertility ของแบคทีเรียสังเคราะห์แสง 6.4 สรุปว่าเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ "ดินปลูกร่วม (ดินถุง 1 ส่วน ผสมทราย 1 ส่วน) มีค่าที่ 6 จึงเพิ่มขึ้นมา 0.40 หน่วย ส่วนค่าธาตุอาหารเมื่อผสมทรายเข้ากับดินถุงแล้วปรากฎว่าเพิ่มขึ้นจาก 4 เป็น 6 นั้น โดยส่วนตัวเข้าใจว่าเนื้อวัสดุของดินผสมทรายมีความแน่นขึ้น ผิวสัมผัสอาจปะทะกับโลหะวัดผลรึเปล่า รอดูเผื่อใครจะมีเหตุผลอธิบายเพิ่มเติมครับ ุ
@kirkk.crowley7465
@kirkk.crowley7465 5 жыл бұрын
ผมก็งงๆ แต่ขอชื่นชม Glory Farm ครับ
@Global.Warning
@Global.Warning 3 жыл бұрын
สิ่งสำคัญไกล้ตัวที่เราจะไม่สนใจไม่ได้แล้วครับ!!!!!! คำเตือนเล็กๆน้อยๆจากครูภวิต....................... เทคโนโลยี่ตามทันกันได้แต่ความหลากหลายของธรรมชาติไม่สามารถตามทันกันได้ ( ขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่ตั้งของประเทศบนโลกกลมๆใบนี้ )ในขณะที่การบริโภคภายในของเรายังไม่แข็งแกร่งและการบริหารจัดการภูมิปัญญาชาวบ้านของเรายังไม่ดีพอ...การรับเอา CPTPP เข้ามาบังคับใช้ในสังคมเราที่ยังไม่พร้อม ต้องระวัง!!! มันจะกลายเป็นปีศาจร้ายที่จะมาทำลายการบริโภคภายในและภูมิปัญญาชาวบ้านของเราให้ย่อยยับในอนาคตได้ครับจะดีกว่าใหมครับ!!!! ถ้าเราหันกลับมาดูแลส่งเสริมและปกป้องทั้งสองสิ่ง( ภูมิปัญญาชาวบ้านและการบริโภคภายใน )ให้แข็งแรงแข็งแกร่งก่อนเพราะเรามีธรรมขอบ I พระคุณชาติและความหลากหลายของ พันธุ์พืชและสัตว์ที่มากกว่าเป็นต้นทุนอยู่แล้วครับ ( ต้องยอมรับว่าความสามารถทางเทคโนโลยีของเราด้อยกว่าซึ่งเป็นจุดอ่อนที่อันตรายมาก ) แต่!!!เรากำลังจะทำลายความได้เปรียบนี้ลงไปอย่างไม่น่าให้อภัยเลยครับเหมือนกับที่เราได้ทำลายสิ่งแวดล้อมและแหล่งท่องเที่ยวของเราที่ธรรมชาติมอบให้ !!! เป็นแหล่งที่ใช้ทำมาหารัปทานของผู้คนในประเทศนี้ได้อย่างยั่งยืนไม่มีที่สิ้นสุดด้วยการอนุญาตให้เกิดนิคมอุตสาหกรรมเป็นดอกเห็ด ( ในขณะที่กฏหมายดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติของเราไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ) ซึ่งประเทศที่พัฒนาแล้วทั้งหมดรวมทั้งประเทศ “จีน” ได้มีการสำรวจ ( ประเทศเราไม่เคยทำ ) และพบว่า ฝุ่นและสารพิษที่ล่องลอยอยู่ในอากาศหรือเจือปนในห่วงโซ่อาหารมากกว่าร้อยละ 75 มาจากโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตครับ นี่จึงเป็นสาเหตุหลักที่ญี่ปุ่นย้ายฐานการผลิตสู่ประเทศไทยในอดีตและจีนก็กำลังทำแบบเดียวกันในปัจจุบัน ประเทศที่รับผลกระทบอย่างโหดร้ายต่อประชาชนของตนเองมาตลอดคือ “ไทย” ครับ โปรดอย่าให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอยโดยไม่คิดแก้ไขก่อนนะครับ ไม่เช่นนั้น ลูกหลานในอนาคตจะร้องว่า “ไอ้ปู่จังไร”. คริปที่ 1 ที่ครูจะขอแนะนำให้เข้าไปชมกันครับ ( ทุนยักษ์จีน "ทุนจีนบุกไทย พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาศหรือหนีเสีอปะจรเข้" kzbin.info/www/bejne/o6elomhqjsmLopY ) ระวัง !!!!!! ต้มยำกุ้ง(วิกฤติการด้านการเงินของประเทศในอดีตเมื่อประมาณ 20 ปีที่ผ่านมา) ทำให้เราเสียอธิปไตยด้านการเงินให้ต่างชาติมาแล้วตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ธนาคารใหญ่ๆและสถาบันการเงินเกือบทั้งหมดของประเทศเราตกไปอยู่ในมือของต่างชาติโดยที่เราไม่สามารถซื้อคืนกลับมาได้เลย ( นั่นย่อมหมายความว่าเราได้สูญเสียอธิปไตยด้านเศรษฐกิจ-การเงิน ธนาคารให้ไปอยู่ในมือของต่างชาติ ) จะไม่มีเหตุการณ์อย่างนี้เกิดขึ้นในประเทศที่เจริญแล้วอย่างแน่นอน(เขาไม่ยอมแน่นอน) ตัวอย่างเช่น ญี่ปุ่น, สิงคโปร์ ประเทศเพื่อนบ้านเราครับ และ ในอนาคตอันไกล้นี้ CPTPP อาจจะทำให้เราต้องเสียอธิปไตยทางด้านการเกษตรของคนส่วนใหญ่ของประเทศให้ต่างชาติไปก็เป็นได้ครับแล้วประเทศของเราจะเหลืออะไรไว้ให้ลูกหลานได้ภูมิใจและดีใจบ้างที่เกิดมาเป็นคนไทยครับ ในทางตรงกันข้ามประเทศของเราจะแก้ปัญหาทุกอย่างได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและจะกลายเป็นเสือติดปีกล้ำหน้ากว่าทุกประเทศในโลกได้ในเวลาอันรวดเร็วถ้าได้ทำสิ่งเหล่านี้ คริปที่ 2 ที่ครูอยากจะแนะนำให้เข้าไปชมกันครับ "บัญญัต 10 ประการของการร่างหรือแก้ไข รัฐธรรมนูญ ให้ชาญฉลาด,ซื่อสัตย์และเป็นที่ยอมรับของผู้คนทั้งในประเทศและในโลก" kzbin.info/www/bejne/Y2rRaZ1-l9mtqqs เพื่อก่อให้เกิดความเชื่อมั่นต่อระบบเศรษฐกิจ,ระบบการเมืองการปกครองและการดูแลเอาใจใส่ต่อสิ่งแวดล้อมอย่างดีเลิศและยั่งยืนสำหรับประเทศของเราตลอดไป.ในท้ายที่สุดนี้ครูขอบอกว่า...................... ความเป็นจริงที่ต้องตระหนักไว้ให้มาก ผู้ที่ต้องการมีอำนาจเหนือผู้อื่น (ในทุกระดับชั้น ) เมื่อมีอำนาจแล้ว สิ่งที่ท่านทำลงไปจะต้องรับทั้งผิดและชอบหรือก็คือ กรรมดีและกรรมชั่วนั่นเอง ถ้าท่านเป็นผู้ใหญ่บ้านมีลูกบ้าน 1000 คน ถ้าท่านทำความชั่วต่อส่วนรวม 1 กรรม ผลคือท่านจะได้รับกรรม 1000 กรรมไปทันที ถ้าท่านเป็นนายกรัฐมนตรีรับผิดชอบต่อผู้คน 70 ล้านคนหรือ หลายร้อยล้านคน ถ้าท่านทำความชั่วต่อส่วนรวม 1 กรรม ผลคือท่านจะได้รับกรรม 70 ล้านหรือหลายร้อยล้านกรรมไปทันที
@ทรงพลหิมทอง-ฎ7ศ
@ทรงพลหิมทอง-ฎ7ศ 4 жыл бұрын
ของดีไมมีกลินคับ
@ammamm6526
@ammamm6526 5 жыл бұрын
ไม่รู้เรื่อง
@ก็แล้วแต่-ช7ด
@ก็แล้วแต่-ช7ด Жыл бұрын
เวลาวัดไม่ต้องปิดเครื่องครับ แค่เช็ดคราบเก่าออก ไม่งั้นเครื่องมันได้ผลแบบเดิมๆ ไม่ตรง
@171111
@171111 2 жыл бұрын
แวะมารับชมจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงเสริมแรงให้กำลังใจให้ครับ
@namm611066
@namm611066 4 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@beercan8566
@beercan8566 5 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@mourikogoro9709
@mourikogoro9709 3 жыл бұрын
ยกให้เป็นคลิปทรงคุณค่าอีกอันนึงของชาวเกษตรเลย
@saranyaphongaphichokveerha6313
@saranyaphongaphichokveerha6313 6 жыл бұрын
ซื้อเครื่องมือวัดค่าที่ไหนได้บ้างครับ
@โอชาสุขอนันตพงศ์
@โอชาสุขอนันตพงศ์ 5 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับที่นำผลการวิจัยมาให้ความรู้กับผู้สนใจ
SISTER EXPOSED MY MAGIC @Whoispelagheya
00:45
MasomkaMagic
Рет қаралды 19 МЛН
Fake watermelon by Secret Vlog
00:16
Secret Vlog
Рет қаралды 32 МЛН
Green sulfur photosynthetic bacteria
20:30
Glory Farm
Рет қаралды 692 М.
จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
16:15
ทรัพย์บนดิน ไร่ศรีตะกร
Рет қаралды 39 М.