ญี่ปุ่น ยุคซามูไรคนสุดท้ายสู่มหาอำนาจเมจิ ตอน 1/4 | Global Economic Background EP.27

  Рет қаралды 489,673

THE SECRET SAUCE

THE SECRET SAUCE

Күн бұрын

Пікірлер: 376
@theextrajapan
@theextrajapan Жыл бұрын
ในที่สุดเฮียวิทก็เจาะญี่ปุ่น ในฐานะสาวกเฮีย ผมนี้ดีใจสุดๆ (น้ำตาไหล ฮืออออ) ขออนุญาตเฮียวิทย์ คุณเคน และทีมงาน เพิ่มเติมข้อมูลที่เกี่ยวพันนิดนึงนะครับ 1. ฮิเดโยชิ / โอดะ โนุบนางะ / โตกุกาว่า อิอายาสึ เป็นก๊วนเดียวกัน ไม่เคยรบกันโดยตรง 2. ในสมัยเอโดะที่ญี่ปุ่นปิดประเทศ อยุธยาต้องค้าขายกับญี่ปุ่ยผ่านจีนหรือริวกิว (โอกินาว่า) หรือผ่านพ่อค้าชาวดัตช์ ค้าขายโดยตรงไม่ได้ 3. โชกุนสุดท้ายเป็นคนหัวก้าวหน้ามากๆ ตั้งใจจะทำให้ตระกูลโตกุกาว่าเป็นหัวหอกในการปฏิรูปประเทศ ทำให้กลุ่มเจ้าเมืองฝ่ายใต้ที่จะปฏิรูปเดิม เกรงกลัว ผสานพล้งจนล้มตระกูลโตกุกาง่าได้ในที่สุด 4. โชกุนคนสุดท้ายยอมแพ้ก่อนจ5ะเกิดสงครามโบชิน (สงครามล้มระบอบโชกุน)กองทัพจักรพรรดิจีงสามารถยึดปราสาทเอโดะโดยไม่มีการสูญเสียมากเท่าไร ซึ่งส่วนนึงก็มาจากการดำเนินนโยบายของอดีตโชกุนที่เอาสตรีจากตระกูลเกาะใต้มาป็นภริยา ทำให้ภริยาเหล่านี้สามารถประนีประนอมกับกองทัพจักรพรรดิที่มาจากฝ่ายเกาะใต้เช่นเดียวกันได้ ลดการปะทะ 5.ธงอาทิตย์อุทัย (ดวงอาทิตย์อยู่ตรงกลางมีรัศมีโดยรอบ) เป็นธงของ "กองทัพบก" ซึ่งโดยแบนจากหลายๆประเทศโดยเฉพาะจีนและเกาหลี ส่วนธงที่ราชนาวีญี่ปุ่นใช้ ดวงอาทิตย์จะเยื้องมาทางซ้ายเล็กน้อย ถือเป็นคนละธงกัน ไม่ได้โดนแบน 6 สงครามกบฏซัตสึมะ กองทัพของทั้งสองฝ่ายล้วนทันสมัย ใช้ปืนสู้ก้น (ต่างจากในหนัง) มีแต่สมรภูมิท้ายๆเท่านั้นมี่ฝ่ายซัตสึมะต้องใช้ดาบสู้ เพราะกระสุนหมด 7. ญี่ปุ่นต้องการเกาหลีไม่ได้เกิดจากแนวคืดการขยายอำนาจเป็นหลัก เหตุผลหลักๆคือ ต้องการป้องกันตัวเองจากมหาอำนาจ เพราะเกาหลีถือเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญ ชาติไหนยึดเกาหลีได้ ก็สามารถยกพลมาโจมตีญี่ปุ่นได้ง่ายที่สุด ญี่ปุ่นจึงต้องชิงขยายอิทธิพลเข้าไปครอบครองก่อน 8. แนวคิดอยากอยู่เหนือฝรั่งมาเกิดจริงๆจังๆ หลังสงครามจีน-ญี่ปุ่น ครั้งที่1 ซึ่งญี่ปุ่นชนะ แล้วได้คาบสมุทรเหลียวตงมาครับ ซึ่งตรงนั้นทำให้รัสเซียซึ่งวางแผนจะเช่าพื้นที่ตรงนี้เป็นท่าเรือน้ำอุ่นไม่พอใจ ไปแทคทีมเยอรมัน ฝรั่งเศส เป็นก๊วนสามมหาอำนาจมากดดันให้ญี่ปุ่นถอนตัวออกจากคาบสมุทรนี้ ซึ่งพอญี่ปุ่นยอม ก็แบ่งชิ้นเค้กในพื้นที่นั้นกันจนสนุก จนญี่ปุ่นรู้สึกเหมือนโดนฝรั่งดูถูก ทั้งที่ญี่ปุ่นเล่นเกมแบบฝรั่ง (ได้อาณานิคมจากวสงคราม) แต่ฝรั่งกลับกีดกันไม่ให้ญี่ปุ่นได้ผลประโยชน์นั้น เป็นจุดเริ่มต้นของการอยากอยู่เหนือฝรั่งของญี่ปุ่นครับ (มาเข้มข้นอีกมีหลังสงครามโลกครั้งที่ 1ที่ญี่ปุ่นอยู่ฝ่ายชนะสงคราม แต่ได้ผลประโยชน์น้อยจนงงนั่นแหละ) รออีพี 2 นะครับบบบ
@Sittivaekin
@Sittivaekin Жыл бұрын
ปลื้มเลยครับ ข้อมูลดีขนาดนี้ ขอบคุณมากๆๆๆเลยครับ ✌️✌️🇯🇵🇯🇵🇹🇭🇹🇭
@popular8822
@popular8822 Жыл бұрын
ช😊
@Smildchanel
@Smildchanel Жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ😄
@sogsadcia5909
@sogsadcia5909 Жыл бұрын
ข้อ 7. มันคุ้นๆ น่ะเหมือนรัสเซียเคยใช้ข้ออ้างนี่รุกรานยูเครน
@Eisatz_Paul
@Eisatz_Paul Жыл бұрын
@@sogsadcia5909 เพิ่มเติมจากเคสเกาหลีนะครับ ตอนแรกญี่ปุ่นสนับสนุนให้เกาหลีปฏิรูปประเทศให้ก้าวหน้าตามโมเดลตัวเอง ตีตัวออกห่างจากจีนและมาใกล้ชิดญี่ปุ่นแทน แต่การปฏิรูปนี่ไม่ถึงไหนและเจอกบฏปีกเดิมยึดอำนาจ ญี่ปุ่นในตอนแรกอ่อนแอเกินกว่าจะผนวกเกาหลีที่อ่อนแอได้ ตอนแรกเลยสนับสนุนให้เข้มแข็งเหมือนกันและใกล้ชิดตัวเอง แต่อย่างว่า เมื่อญี่ปุ่นเข้มแข็งขึ้นมากและแผนปฏิรูปไม่ไปถึงไหน ก็ช่างหัวละกัน ใช้อำนาจแข็งยึดอำนาจภายในเกาหลีและลงมือทำตามเป้าเองเลย เลิกทาส ปฏิรูประบบราชการ ยกเลิกการสอบจอหงวน ฯลฯ จนกษัตริย์เกาหลียังทึ่งว่าพยายามมานับ 10 ปี ญี่ปุ่นทำมันได้ภายในวันเดียว ต่อมาลัทธิการขยายดินแดนของญี่ปุ่นก็ทรงอำนาจขึ้นก็อย่างว่าครับ มีทั้งพวกที่ไม่อยากขยายและอยากขยาย ก็ไล่ตี จีน รัสเซีย ตามลำดับห่างกัน 10 ปี สมดุลย์อำนาจที่เคยมีเสียศูนย์หมด แล้วโดนผนวกปี 1910
@anongkanamanitpisithkul8295
@anongkanamanitpisithkul8295 Ай бұрын
สุดยอดมากค่ะ เล่าเรื่องได้ละเอียด ทำให้เข้าใจประวัติศาสตร์ได้ชัดเจนขึ้นมากๆ ชอบมากที่เฮียนำประวัติศาสตร์ไทยมาเปรียบเทียบ จึงเห็นภาพความเป็นไปในช่วงเวลานั้นชัดขึ้น ถ้าเป็นไปได้ อยากให้ทำคลิปที่เทียบช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ของบรรดาชาติในเอเชียที่ต้องรับมือกับภัยคุกคามจากลัทธิล่าอาณานิคม น่าจะชวนให้เห็นภาพความเป็นไปของแต่ละชาติที่สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบันได้ชันมากขึ้น ต้องขอบคุณคุณเคนด้วยนะคะที่ตั้งข้อสงสัยกับเฮีย จนทำให้ผู้ชมได้ความรู้ที่แตกยอดและละเอียดในหลายๆ ส่วนมากขึ้น ชื่นชมค่ะ จะติดตามไปทุกๆ คลิปค่ะ🎉❤❤
@eak10
@eak10 Жыл бұрын
เฮียวิทย์นี่ สุดยอด มาก ทั้งประสิทธิภาพการสื่อสาร ข้อมูล ความสนุกในการเล่าเรื่อง ความจำ เรียกว่า ทุกมุม นี่ เหนือ มากๆ ขอบคุณมากจริงๆ ครับ
@flossygirl2055
@flossygirl2055 Жыл бұрын
ถ้าหมอเก่งคือจดหมายเหตุฝังการแพทย์ พี่วิทย์ก็คือจดหมายเหตุของโลก เล่าได้สุดยอดเลยค่ะ
@ShinobiMeowMeow
@ShinobiMeowMeow Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นเป็นเรื่องที่เราฟังมาครั้งแล้วครั้งเล่า ทั้งในบทเรียนและนอกบทเรียน แต่การที่ได้ฟังจากหลายๆท่าน หลายๆแหล่ง มันยิ่งทำให้องค์ความรู้ของเราแน่นขึ้นไปอีก ที่สำคัญได้รู้ทัศนคติและมุมมองของผู้เล่าด้วย เพราะแต่ละท่านก็จะมีวิธีการเล่าที่ไม่เหมือนกัน คิดไม่เหมือนกัน ซึ่งคุณวิทย์ก็เป็นอีกคนที่เล่าสนุก ชอบมากค่ะ
@peekayla3110
@peekayla3110 Жыл бұрын
ไปญี่ปุ่นมา 3 รอบ มีสิ่งที่รู้สึกอิจฉาและรู้สึกเห็นใจคนญี่ปุ่นพร้อมๆกัน สิ่งที่น่าอิจฉาคือ ความสวยงามของบ้านเมือง เป็นระเบียบ อากาศดี หายใจแล้วสดชื่น ไม่มี pm 2.5 เหมือนบ้านเรา การคมนาคมด้วยระบบสาธารณะยอดเยี่ยม ปลอดภัย อาหารอร่อย คนไม่เห็นแก่ตัวเหมือนคนไทย สิ่งที่เห็นใจคนญี่ปุ่นคือ ญี่ปุ่นไม่ได้รุ่งเรืองเหมือนสมัยยุค 90 แล้ว งานในประเทศญี่ปุ่นมีแต่งานบริการ ซึ่งรายได้อาจจะไม่มากเท่ากับภาคอุตสาหกรรม ซึ่งปัจจุบันโรงงานอุตสาหกรรมของญี่ปุ่นล้วนแล้วอยู่นอกประเทศทั้งสิ้น ชีวิตคนญี่ปุ่นดูเครียด มีกรอบ ค่าครองชีพสูงแต่รายได้คนในญี่ปุ่นไม่ได้สูงมากนักถ้าเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว
@jiga2392
@jiga2392 Жыл бұрын
ก่อนเห็นใจญี่ปุ่น เห็นใจประทศเราดีกว่า ประเทศไทย นี่เข้าสู่ aging society เรียบร้อยแล้ว ทั้งที่ยังเป็นประเทศกำลังพัฒนาอยู่เลย เรียกได้ว่า แก่แล้ว ยังลำบาก (ไม่รวย) เป็นประเทศที่ติดอยู่กับดักรายได้ปานกลางมา 40 ปีแล้ว ส่วนญี่ปุ่น เข้าสู่ยุค aging society ก็จริง ปรชากร อายุ 65 ปี มีถึง 29% แต่ญี่ปุ่นประชาชนมีเงินออมสูงสุดในโลก แถมเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ลำบากน้อยกว่าไทยเยอะ เลย พูดได้เลยประเทศไทยเรานี่แหละ จะตายเอา
@ธวัชชัยรณรงค์
@ธวัชชัยรณรงค์ Жыл бұрын
@@jiga2392 ผมไม่เอาด้วยฅนไอ้ยุ่นจอมรวงโลกตาผมรบกับญี่ปุ่นลำบากลำบน7 ปีเต็ม
@jiga2392
@jiga2392 Жыл бұрын
@@ธวัชชัยรณรงค์ พูดไรงง ดมกาวมาหรอ
@natthaphongprasertjitt470
@natthaphongprasertjitt470 Жыл бұрын
สงสารคุณตา หลานเอ๋อจัด
@angelinadanilova2154
@angelinadanilova2154 Жыл бұрын
@@ธวัชชัยรณรงค์ อย่าเอาความผิดพลาดของคนในอดีตมาเป็นข้ออ้างให้กับคนรุ่นใหม่ที่เขาไม่ได้รู้เรื่องอะไรด้วยเลย หนูเอ๋ย
@peepee8688
@peepee8688 Жыл бұрын
ได้ความรู้มากๆครับ อิจฉาเด็กสมัยนี้ที่มีสื่อการเรียนที่หลากหลาย หลายมุมมอง เห็นภาพ เข้าใจง่าย
@slashtum3143
@slashtum3143 Жыл бұрын
หลักคือชอบสินค้าญี่ปุ่นครับ คือรับประกันคุณภาพได้เลย ราคาก็ไม่แพงด้วย ถ้ามาจากจีนนี้คือต้องคิดดูก่อน
@Hold789
@Hold789 Жыл бұрын
อาริกาโตะโกไซมัส 🙏อาจารย์วิทย์ และพี่เคนมากๆ มาเปิดโลกวิถีแห่งซามูไร 🇯🇵เคยอ่านหนังสือการ์ตูน Vagabond คะ ชอบมากๆเลยคะ ❤️🌸🌈
@Mr.jodzaa
@Mr.jodzaa Жыл бұрын
คนญี่ปุ่นไปเรียนที่ต่างประเทศหรือประเทศตัวเอง ทำไมถึงมีเครื่องบินรบ เรือรบเยอะขนาดนั่น ลงทุนสร้างออกแบบเอง หรือซื้อครับ
@kittinanpanyathanya4722
@kittinanpanyathanya4722 Жыл бұрын
ชอบมากครับ … แต่ข้อแก้นิดนึงนะครับ โอดะ โนบุนากะ โทโยโทมิ ฮิเดโยชิ และ โตกุกาว่า อิเอยาสึ สามคนนี้ไม่เคยรบกันเองนะครับ ทั้งฮิเดโยชิและโตกุกาว่า ในตอนแรกเริ่มเป็นแม่ทัพที่เป็นข้ารับใช้ใต้ร่มธงตระกูลโอดะ โทโยโทมิ ฮิเดโยชิเป็น 1 ใน 5 แม่ทัพอันเกรียงไกรของตระกูลโอดะ ( 5 แม่ทัพคือ ชิบาตะ คัทซึอิเอะ อะเคจิ มิตซึฮิเดะ โทโยโทมิ ฮิเดโยชิ นิวะ นากาฮิเดะ และทากิซาว่า คาซุมาสึ) ส่วนโตกุกาว่า อิเอยาซึแห่งมิกาว่าเป็นแม่ทัพสำคัญคนนึงที่ขึ้นกับตระกูลโอดะ ตั้งแต่ที่กองทัพโอดะชนะกองทัพอิมากาว่าในยุทธการที่โด่งดังที่โอเกฮาซามะ ซึ่งก่อนหน้านี้อิเอยาสึเป็นข้ารับใช้ของตระกูลอิมากาว่า โอดะ โนบุนากะได้บัญชาให้ทั้ง 5 ทัพแยกกันไปออกรบกับกองทัพไดเมียวตระกูลอื่นๆในภูมิภาคต่างๆเพื่อรวบรวมญี่ปุ่น เช่น ตระกูลโฮโจ ทาเคดะ อุเอซึกิ ชิมาซึ ฯลฯ แต่หลังจากที่โอดะ โนบุนากะถูกสังหารจากการก่อกบฏของอะเคจิ มิตสึฮเดะที่วัดฮอนโนจิ โทโยโทมิ ฮิเดโยชิซึ่งติดพันการรบกับตระกูลโมริ ได้ขอสงบศึกเพื่อกลับมาแก้แค้นให้โนบุนากะ ทำให้เกิดตำนานการครองแผ่นดิน 13 วันของอะเคจิ มิตสึฮิเดะ ทำให้โทโยโทมิ ฮิเดโยชิได้ครองอำนาจต่อจากโนบุนากะเป็นผู้รวบรวมแผ่นดินญี่ปุ่นได้สำเร็จ โทโยโทมิ ฮิเดโยชิคนนี้ยังเป็นผู้ยกทัพบุกเกาหลีอีกด้วย หลังจากฮิเดโยชิสิ้นชีพลง ความมั่นคงทางอำนาจของตระกูลโทโยโทมิก็อ่อนแอลงเพราะบุตรชายของฮิเดโยชิ ชื่อ ฮิเดโยริยังอายุน้อย สุดท้ายก็ถูกโตกุกาว่า อิเอยาสึยึดอำนาจและอิเอยาสึได้เสนอแผนผังตระกูลปลอมเพื่ออ้างว่าตนมีเชื้อสายตระกูลมินาโมโตะเพื่อให้มีสิทธิ์ในตำแหน่งโชกุนต่อองค์จักรพรรดิ จึงได้ดำรงตำแหน่งโชกุนสำเร็จ เป็นการเริ่มต้นของยุคโตกุกาว่า บาคุฟุ
@gadgetgirljj
@gadgetgirljj 8 ай бұрын
ใช่ค่ะ ถูกต้องค่ะ
@arkomratanasoon7482
@arkomratanasoon7482 Жыл бұрын
ญี่ปุ่นก็สบายเข้ารูปรอยไปแล้ว ประเทศเจริญมั่งคั่งแบบเห็นๆ ก็เหลือแต่สารขัณฑ์กับรอบๆนี่แหละยังอำนาจนิยมกันอยู่ กรูมีอาวุธมีปืนมีรถถังแต่สมองกลวงก็อยากเป็นจัง
@charlielowes8495
@charlielowes8495 Жыл бұрын
10:52 เอาจริง จักรพรรดิญี่ปุ่นถือว่าหมดอำนาจไปนานนนนมาก ก่อนสมัย คามาคุระ (Kamakura) พอสมควรครับ ตั้งแต่สมัยนารา(Narra) จักรพรรดิญี่ปุ่นก็แทบไม่ยุ่งเกี่ยวกับงานบริหารบ้านเมืองแล้วครับ มีตระกูลที่โด่งดังมากในยุคนั้นคือ "Fujiwara" กุมอำนาจแทบทั้งหมดในราชสำนัก หน้าที่หลักของจักรพรรดิในยุคนั้นคืองานพิธีกับงานศาสนา เพียงแต่รากฐานอำนาจในยุคนารา ยังมีราชสำนักเป็นศูนย์กลางอยู่ หมายความว่าราชสำนักจะส่งข้าหลวงไปดูแลมณฑลต่างๆ เเล้วส่งภาษีกลับเข้าเมืองหลวง หรือแม้แต่ในปลายยุคเฮอัน อำนาจก็ยังคงวนเวียนอยู่ในราชสำนัก ในยุคสมัยนี้จะมีตระกูลดังๆที่มีอำนาจ 4 ตระกูล ที่เราได้ยินบ่อยๆคือ ไทระ(Taira) มินาโมโตะ(Minamoto) ทาชิบานะ(Tachibana) และ ฟูจิวาระ(Fujiwara) จะบอกว่าบารมีราชวงศ์ Yamato หรือองค์จักรพรรดิไม่เหลือเลยก็คงเกินไป เพราะ 3 จาก 4 ตระกูลคือ มินาโมโตะ ไทระ กับ ทาชิบานะ ก็เป็นพวกเชื้อพระวงศนี้แหละ แต่สมัยนั้นญี่ปุ่นมีเชื้อพระวงศ์มากเกินไป ราชสำนักเลี้ยงดูไม่ไหว เชื้อพระวงศ์บางส่วนเลยถูกถอดยศ แล้วบังคับให้เปลี่ยนไปใช้นามสกุลอื่นเเทน ยกตัวอย่าง มินาโมโตะ ภาษาญี่ปุ่นแปลว่า จุดกำเนิด (จะสื่อว่ามีต้นกำเนิดมาจากองค์จักรพรรดิ) ตอนหลัง ญี่ปุ่นเริ่มวุ่นวาย แต่ละตระกูลแข่งกันเป็นใหญ่ในราชสำนัก เกิดสงครามใหญ่ระหว่าง มินาโมโตะ กับ ไทระ (จริงๆคือญาติห่างๆกัน เพราะสืบเชื้อสาย Yamato ทั้งคู่) สงครามครั้งนี้ยาวนาน แต่ละตระกูลผลัดกันคุมอำนาจในราชสำนัก ในตอนหลัง ไทระ เริ่มถือไพ่เหนือกว่า คุมอำนาจในราชสำนักสำเร็จ (ใหญ่ถึงขั้นสั่งกักบริเวณจักรพรรดิ หรือเผาวังทิ้ง เพราะจับได้ว่าจักรพรรดิแอบติดต่อกับตระกูล มินาโมโตะแบบลับๆ) ช่วงที่มินาโมโตะถึงขีดต่ำสุด ผู้นำตระกูลมินาโมโตะ ซึ่งถูกเนรเทศไปอยู่นอกเมืองหลวง ได้ไปตั้งตัวที่ Kamakura จากนั้นสร้างกองทัพ แล้วเข้ายึดเมืองหลวง ต่อด้วยส่วนอื่นๆของประเทศญี่ปุ่นจนหมด ยุคนี้ถือว่าราชสำนักหมดอำนาจของจริง เพราะหลังจากผู้นำมินาโมโตะยึดญี่ปุ่นได้หมดเเล้ว เขาไม่ได้อยากเป็นใหญ่ในราชสำนักเหมือนบรรพบุรุษ แต่เขาสร้างระบอบการปกครองขึ้นมาใหม่เลย โดยมีเมือง Kamakura เป็นศูนย์กลาง เกิดเป็น Kamakura shogunate หรือระบอบโชกุน นี้เป็นครั้งแรก ที่ศูนย์กลางอำนาจไม่ได้อยู่ในราชสำนักอีกแล้ว หลังจากนั้นศูนย์กลางอำนาจก็ไม่ได้อยู่ในราชสำนักอีกเลยจนถึงการปฎิวัติเมจิ แต่เป็นที่น่าสังเกตุว่าคนญี่ปุ่นในยุคสมัยก่อนการปฎิวัติ ให้ความสำคัญกับระบอบศักดินาหนักมาก คือคุณต้องสืบเชื้อสายตระกูล Big 4 ที่พูดไปตอนต้นเท่านั้น ถึงจะมีโอกาสแจ้งเกิด หลังยุคสมัย Kamakura คือยุคอาชิคากะ(Ashikaga) โชกุนในยุคนี้ก็สืบเชื้อสาย มินาโมโตะ เหมือนกัน หรือในยุคเซ็นโกคุ โอดะ โนบุนากะ ก็สืบเชื้อสายไทระ หรือแม้แต่ โทคุกาวะ อิเอยาซุ ที่ในคลิปพูดถึงบ่อยๆ ก็เป็นตระกูลสาขาของ มินาโมโตะ คือ Big 4 หมดเลยจริงๆ มีคนเดียวที่แจ้งเกิดจนเป็นคนที่มีอำนาจมากที่สุดในญี่ปุ่น โดยที่พ่อแม่ไม่ได้เป็นขุนนาง คือ โทโยโทมิ ฮิเดโยชิ (ผู้สืบทอดอำนาจของโอดะ) แต่จะเห็นว่าเขาก็ไม่ได้ขึ้นเป็นโชกุน เพราะชาติกำเนิดต่ำเกินไป (สุดท้ายฮิเดโยชิ ต่อรองกับราขสำนัก ขอให้รับรองว่าตัวเองสืบเชื้อสาย Fujiwara แต่ก็ไม่เป็นผล) ถ้าใครจะศึกษาประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น แนะนำให้ศึกษาตั้งแต่ยุค นารา เป็นต้นมา แล้วจะเห็นว่า 4 ตระกูลนี้คือแม่งของจริง 5555 ไดเมียวดังๆแทบทุกคนในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น สืบเชื้อสายมาจาก 4 ตระกูลนี้แหละ จะสืบเชื้อสายจริงๆ หรือแอบอ้างเอาเองก็แล้วแต่(ผมเดาว่าครึ่งนึงแอบอ้างเอาเอง เพราะอย่างตอนที่ตระกูลไทระ ถูกตระกูลมินาโมโตะฆ่าล้างโคตร คือมันไม่น่าจะเหลือแล้วอะ แต่ผ่านมา 3-4 ร้อยปี จู่ๆโอดะก็บอกว่าตัวเองสืบเชื้อสายไทระที่เหลือรอดแบบดื้อๆเลย 555 ซึ่งจริงหรือไม่จริงมันไม่มีใครรู้หรอก) จะยังไงก็แล้วแต่ จะเห็นว่ายุคสมัยนั้น การบอกว่าตัวเองมีต้นกำเนิดมาจาก 4 ตระกูลนี่จำเป็นมากจริงๆ ถ้าคุณอยากเป็นใหญ่เป็นโต
@FeeFee1191
@FeeFee1191 Жыл бұрын
ความรู้แน่นๆ
@NICK-qc2bv
@NICK-qc2bv Жыл бұрын
โครตมันส์
@Mr.jodzaa
@Mr.jodzaa Жыл бұрын
คนญี่ปุ่นไปเรียนที่ต่างประเทศหรือประเทศตัวเอง ทำไมถึงมีเครื่องบินรบ เรือรบเยอะขนาดนั่น ลงทุนสร้างออกแบบเอง หรือซื้อครับ
@Victorianus-Romulus-Helena
@Victorianus-Romulus-Helena 2 ай бұрын
​@@Mr.jodzaaช่วงแรกสั่งจากต่างประเทศ และไปเรียนจากสหราชอาณาจักร แล้วลอกมาผลิตเองที่บ้าน
@gzer0999
@gzer0999 Жыл бұрын
มาแล้ววววว ญี่ปุ่น ที่ผมรอค่อย ถ้าเป็นไปได้ผมอยากรู้ว่ามังงะ เกิดมาได้ยังไง และ กลายเป็นเศรษฐกิจจนมีคนรู้จักการ์ตูน มังงะ ทั่วโลกได้อย่างไรครับ กราบขอบพระคุณมากครับ
@AcousticFriday
@AcousticFriday Жыл бұрын
ดันนครับอยากทราบเหมือนกัน 😁 ความคิดเห็นส่วนตัวผมคิดว่า มังงะ เกิดมาจากการที่ชอบจดบันทึกเรื่องราวต่างๆของคนญี่ปุ่นครับ ผมสังเกตุจากบันทึกทางประวัติศาสตร์ต่างๆ ความเป็นอยู่ของคนในสมัยนั้น ทิวทัศน์ ศาสนา วัฒนธรรม ตรงนี้หรือเปล่าที่ทำให้หล่อหลอมให้ มังงะ เกิดขึ้นมาโดยไม่ได้ตั้งใจ
@Dewensky
@Dewensky Жыл бұрын
ดันๆๆๆๆ
@Sittivaekin
@Sittivaekin Жыл бұрын
เดี๋ยวมี เรื่อง Anime กับ เกม นินเทนโด้ ด้วยครับ รอ ep. ถัดๆไปนะครับ
@gzer0999
@gzer0999 Жыл бұрын
@@Sittivaekin ขอบคุณเฮียวิทย์ มากครับที่ทุ่มเททำผลงานคุณภาพระดับสูงให้พวกเราได้รับรู้รับชมกัน Respect เฮียมากๆครับ ไอดอล ขอบคุณครับ
@bankthanakorn6172
@bankthanakorn6172 Жыл бұрын
ดันๆคับ วันพีชน่ะมีอยู่จิงงงงงงงงงงงงงงงง
@Kraisorn_Lee42
@Kraisorn_Lee42 Жыл бұрын
ขอบคุณรายการนี้มากเลยครับ ผมเป็นคนหนึ่งที่ชอบและศึกษาประวัติศาสตร์ทั้งไทย จีน ยุโรป และหนึ่งในประเทศที่อยากศึกษาคือญี่ปุ่น แต่ยังไม่มีโอกาสที่จะได้ศึกษาจนได้ดูรายการนี้ครับ
@duikaa9913
@duikaa9913 Жыл бұрын
กำลัง​ฟัง​เพลิน​ๆจนจะจบเพลงบัตโตไตขึ้นขนลุกเลยฮะ555 epหน้าน่าจะเรื่องสงครามเต็มๆ น่าจะมันส์​สุดๆ ตั้งหน้าตั้งตา​รอเลยครับ🙏🏽
@conqueror3607
@conqueror3607 Жыл бұрын
ห่างหายไปนานน ผมคิดว่ารายการนี้ปิดไปแล้ว ดีใจมากกที่ได้เห็นทั้ง2คนจัดร่วมกันอีก อยู่ต่อยาวๆไปครับ💛💚
@Sittivaekin
@Sittivaekin Жыл бұрын
ขอบคุณที่ติดตามกันครับ ยังไม่ปิด รายการแน่นอนครับ เพราะว่า พวกเรายังมันส์กันอยู่ครับ .. ญี่ปุ่นมีอีก 3 eps. ตามด้วย อังกฤษ ที่คนไทยรู้จักแต่ไม่ได้เชื่อมโยงกันสักเท่าหร่ แล้ว วางแผนว่า ออตโตมัน ที่แม้ว่าจะล่มสลายไปแล้วแต่คือ จุดเริ่มต้นของรัฐใหม่ใน ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือครับ
@tirmiziyahmabyadi200
@tirmiziyahmabyadi200 Жыл бұрын
เป็นอีกหนึ่ง EP. ที่สนุกและได้ความรู้ ขอบคุณ the standard ครับ
@Oorn-q6c
@Oorn-q6c Жыл бұрын
ชอบญี่ปุ่นมาก.ชอบประวัติ ขอบคุณค่ะ
@hardnockday8052
@hardnockday8052 Жыл бұрын
ชอบมากๆเวลาเฮียเล่าประวัติศาสตร์ ฟังเพลินมากๆๆ❤
@โชคชัยประดิษฐ์ศิลป์
@โชคชัยประดิษฐ์ศิลป์ Жыл бұрын
เฮียวิทย์ผมให้อันดับ1🥇ไนใจผมคุณป๋องแป๋งอันดับ2🥈ครับ ในการเล่าเรื่องได้เข้าใจง่ายเห็นภาพ ✅สนุก✅ มันส์✅ เพลิน✅ ได้แนวทางทางความคิด ✅สรุปคือ สุดยอดทั้ง2ท่านครับ🏆❤️🙏
@trigonellams
@trigonellams Жыл бұрын
มันส์มากครับ รอ EP.ต่อไปเลยครับ❤
@txxxnattakid
@txxxnattakid Жыл бұрын
ชอบมากครับ กับการเล่าเรื่องของ ดร.วิทย์ ทำอีกเยอะๆนะครับ!
@blueberg-th
@blueberg-th Жыл бұрын
ช่วงเวลาที่คุณวิทย์เล่า เคยเห็นซีรีย์หลายเรื่อง กล่าวถึง เรียวมะ น่าจะมีบทบาทเยอะ อยากให้คุณวิทย์เล่าถึงหน่อยครับ
@kanomkitchen3348
@kanomkitchen3348 Жыл бұрын
ป้าคิดถึง เฮียวิทย์นะ😀 อาเฮียมาแว๊...ว ป้าชอบ วัฒนธรรม ของญี่ปุ่น ดูสงบ มีมนต์ขลัง ในบางมิติ ป้าชอบดูซีรีย์ เก่าๆ เช่น สงครามชีวิตโอชิน:สารคดีเรื่องเกอิชา ฯลฯ ดูซ้ำหลายครั้งก็ไม่เบื่อ 😀
@Aibahm
@Aibahm Жыл бұрын
ฟังเพลินเลยครับ เป็นคนที่ชอบญี่ปุ่นมาก อ่านการ์ตูน เล่นเกม มาตั้งแต่เด็ก ๆ รวมทั้งชอบอาหาร และเพลงญี่ปุ่นด้วย และไปเที่ยวญี่ปุ่นเกือบทุกปี บางปีไป 2 รอบ ญี่ปุ่นยังเป็นแรงบัลดาลใจในอาชีพของผมด้วย (ตอนนี้ทำงานเป็น Game Designer)
@Sunnyflyboy
@Sunnyflyboy 8 ай бұрын
น่าสนใจจังเลยครับ เป็น game designer ให้กับบริษัทไหนครับเนี่ย😊
@Aibahm
@Aibahm 8 ай бұрын
เคยทำกับบ. Corecell, Yggdrazil ตอนนี้ทำที่ Aiya Games ครับ @@Sunnyflyboy
@Ployrikano
@Ployrikano Жыл бұрын
เปนความรุ้มากเลยเลยค่ะ ขอบคุณมากๆ 🙆
@WpeCH
@WpeCH Жыл бұрын
รอมานาน อย่างมันเลยครับประเทศนี้
@ガン-t8g
@ガン-t8g Жыл бұрын
ในที่สุดดด ตอนที่รอมานเนิ่นนานนน ฟังแล้วหยุดไม่อยู่อยากรีบฟังตอนต่อไปเลยครับบบ
@suparatkimsom5866
@suparatkimsom5866 Жыл бұрын
โหสนุกมากเลยครับ ฟังจบแบบ ไม่เบื่อ ไม่สะดุด เลยครับ ขอบคุณมากๆ เลยครับ
@surakarntippimwong9277
@surakarntippimwong9277 Жыл бұрын
เห็นภาพชัดเจนเป็นฉากๆ ทุกอย่างมีเหตุและผลลัพธ์ ขอบคุณมากครับ
@chunyarae4349
@chunyarae4349 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะ ขอบคุณมาก ๆ ทั้ง 2 ท่าน
@bigsnat5818
@bigsnat5818 Жыл бұрын
รอญี่ปุ่นมานาน😆มาสักทีนะครับ ดีใจสุดๆ☺️
@maitreebutrburee9817
@maitreebutrburee9817 Жыл бұрын
ชอบครับ ญี่ปุ่นมาแล้ว โดยเฉพาะ มิยาบิ , โซร่า อาโออิ
@joephotodiff
@joephotodiff Жыл бұрын
มันส์ทุกเม็ด คุ้มค่าการรับชมมากๆครับ
@tptiger309
@tptiger309 Жыл бұрын
นี่แหละสิ่งที่รอคอย
@iskomaxmin
@iskomaxmin Жыл бұрын
อยากรู้ประวัติศาสตร์หนังเอวี
@user-os5wd4gg3m
@user-os5wd4gg3m Жыл бұрын
ขอประวัติ Sakamoto Ryoma ด้วยครับ
@Uunartoq2018
@Uunartoq2018 Жыл бұрын
เรียนทั้งสองท่าน จะแจ้งว่า Episode นี้ เป็นมหากาพย์มากๆครับ ฟังๆแล้ว อยากไปเที่ยว 🇯🇵 เลย
@Mr.jodzaa
@Mr.jodzaa Жыл бұрын
คนญี่ปุ่นไปเรียนที่ต่างประเทศหรือประเทศตัวเอง ทำไมถึงมีเครื่องบินรบ เรือรบเยอะขนาดนั่น ลงทุนสร้างออกแบบเอง หรือซื้อครับ
@snowsdrop
@snowsdrop Жыл бұрын
6.38 คิวชูและชิโกกุนะครับ ไม่ใช่ เซ็นโกคุ //ความรู้แน่นจัง ขอบคุณครับ
@thexza936
@thexza936 Жыл бұрын
Av เกิดมาได้ไง อยากได้ความรู้เพิ่ม
@sarawutmaddamrongnon
@sarawutmaddamrongnon Жыл бұрын
ชอบเฮียวิทย์และน้องเคนมากครับ ข้อมูลเน้นมากๆครับ FC
@maintenancemg8002
@maintenancemg8002 Жыл бұрын
มาแล้วววว เฝ้านับวันรอเลยครับ
@kanpaijantrasri9647
@kanpaijantrasri9647 6 ай бұрын
เปรียบเทียบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่ส่วนต่างๆของโลกในเวลาเดียวกัน โดยเฉพาะกับไทย ทำให้เรารูว่า ณ.ตอนนั่นไทยอยู่ในยุคใหน ดีมากครับ 👍
@บุคคลดี
@บุคคลดี Жыл бұрын
ชอบมาก ณี่ปุ่น อยากไปมาก
@vrmysuccess
@vrmysuccess Жыл бұрын
ขอเป็น fc เฮียวิทย์ด้วยคน เล่าสนุกทุกตอน
@thboy1037
@thboy1037 Жыл бұрын
มักจะมีคำถามคลาสสิคว่า "สยามกับญี่ปุ่นเปิดประเทศพร้อมกันแต่ทำไมญี่ปุ่นไปได้ไกลกว่า" มีหลายกระทู้วิเคราะห์ไว้ลองไปเสิร์ชหาดูได้ครับ แต่หลักๆ เลยคือญี่ปุ่นพร้อมกว่าสยามมาตั้งแต่ต้น ในแง่รัฐชาติ ความเป็นชาติ ญี่ปุ่นเป็นประเทศเชื้อชาติเดียว ชนเชื้อสายอื่นมีน้อยมาก ทำให้พอสร้างรัฐชาติสมัยใหม่ไม่เหนื่อยมากนัก อาจมีการปราบปรามซามูไรที่ไม่เห็นด้วยกับทางการบ้าง แต่ไม่นานนักก็รวมได้ อีกทั้งแม้ในช่วงปิดประเทศ ด้วยค่านิยมแบบเอเชียตะวันออกที่ส่งเสริมการศึกษามาแต่โบราณ (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนามจะคล้ายกันตรงจุดนี้ อย่างที่เราเห็นในหนังจีนที่พ่อแม่จะให้ลูกตั้งใจเรียนเพื่อให้สอบได้เป็นจอหงวน) ทำให้มีการส่งเสริมให้ราษฎรรู้หนังสือ อ่านออกเขียนได้ นอกจากนี้ยังมีการศึกษาวิทยาการตะวันตกมานับร้อยปีในช่วงเดียวกัน พอเปิดประเทศ ก็เลยมีคนมีความรู้ ส่งไปเรียนต่อที่ยุโรปและอเมริกา และนำมาพัฒนาอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมจนก้าวหน้าได้ทัดเทียมตะวันตก แม้แพ้สงครามแต่ด้วยรากฐานอุตสาหกรรมมันมีอยู่ ประกอบกับมีอเมริกาประกันความมั่นคงให้และสนับสนุนเพื่อยันกับคอมมิวนิสต์ เลยฟื้นตัวได้เร็วครับ กรณีของสยาม ในส่วนของการศึกษานั้น สมัยก่อนจะเป็นลักษณะที่เรียกว่า “ตามพืชพันธุ์” คือครอบครัวทำอะไรก็เรียนส่วนนั้น มักเป็นวิชากสิกรรมทำไร่ไถนา บ้างก็เป็นช่าง เป็นศิลปิน ซึ่งถ้าอยากเปลี่ยนสาย ก็ต้องไปฝากตัวเป็นศิษย์ของครูในสำนักต่างๆ และปรณนิบัติรับใช้จนท่านมอบวิชาให้ เป็นที่มาของความผูกพันระหว่างครูกับลูกศิษย์ที่เรียกครูว่าพ่อครูแม่ครู และทำให้อาชีพครูมีความศักดิ์สิทธิ์ ส่วนวิชาหนังสือนั้น จะจำกัดในวัดและในวังเป็นหลัก ในยุคก่อนการมีระบบการศึกษาสมัยใหม่ วัดเป็นแหล่งวิชาความรู้ที่สำคัญที่สุด ตำราโบราณ ความรู้ต่างๆ จะอยู่ที่วัดเป็นหลัก ทั้งเจ้านายและสามัญชนนี่ทรงผนวช/บวชเรียนทั้งนั้น วิชาหนังสือจึงมักจะจำกัดในหมู่ผู้ชายเป็นหลัก เพราะได้บวช โดยชนชั้นเจ้านายและขุนนางจะรู้หนังสือเพราะทรงผนวช/บวชเรียนก่อนทรงรับ/รับราชการ โดยวิชาหนังสือในสมัยก่อนนั้น ตามพระนิพนธ์ของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเล่าว่าจะเน้นอ่านออกเป็นสำคัญ ไม่เน้นเขียนได้ เพราะว่าสามารถบอกเสมียนอาลักษณ์ให้จดได้ และยังต้องเรียนวิชาอื่นๆ เช่น งานราชการ พระธรรมศาสตร์ ปืนไฟ กระบี่กระบอง เพิ่มเติมด้วย (มีต่อ)
@thboy1037
@thboy1037 Жыл бұрын
การรู้หนังสือ อ่านออกเขียนได้ กลายเป็นวิชาบังคับเมื่อสยามรับระบบราชการสมัยใหม่มา ซึ่งในช่วงแรกถึงกับต้องมีการประมูลเงินเดือนสำหรับผู้ที่ทั้งอ่านออกและเขียนได้เลยทีเดียว และเนื่องจากกลุ่มเจ้านายและขุนนางรู้หนังสือดีอยู่แล้ว จึงเป็นกลุ่มแรกๆ ที่ได้ไปศึกษาต่อที่ยุโรป (ส่วนนี้สยามต่างจากญี่ปุ่นที่ญี่ปุ่นมีประชากรอ่านออกเขียนได้จำนวนมากตั้งแต่ก่อนเปิดประเทศ ทำให้ส่งนักเรียนไปศึกษาต่อได้มากกว่าสยาม การศึกษาของราษฎรของสยามเริ่มสมัยรัชกาลที่ห้า) ในยุคนี้เริ่มมีการวางระบบการศึกษาสำหรับราษฎรทั่วไปให้แพร่หลายมากขึ้น โดยยังมีอีกกลุ่มหนึ่งที่เริ่มบทบาทนี้ก่อนหน้านั้น คือกลุ่มมิชชันนารีทั้งโรมันคาทอลิกและโปรเตสแตนท์ เนื่องจากมองว่าผู้ที่เป็นคริสตชนที่ดีต้องรู้หนังสือเพื่อจะได้อ่านพระคัมภีร์ได้ เมื่อเข้ามาเผยแผ่ศาสนาจึงเรียนภาษาไทย (และภาษาถิ่นเช่นคำเมืองหรืออีสาน) แปลพระคัมภีร์และตั้งโรงเรียน (ยุคแรกกลุ่มโรมันคาทอลิกจะใช้ภาษาวัดหรือภาษาไทยที่เขียนด้วยอักษรโรมันเป็นหลัก ต่อมาจึงเริ่มใช้อักษรไทย โดยคุณหมอบรัดเลย์ที่เป็นกลุ่มโปรเตสแตนท์ได้ริเริ่มระบบการพิมพ์ในสยาม) ผลคือแม้นักเรียนจำนวนมากจะไม่ได้เปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ ทว่าก็มีความรู้พอที่จะรับราชการหรือทำงานกับห้างร้านของต่างประเทศได้ บางส่วนก็ได้เดินทางไปศึกษาต่อต่างประเทศทั้งการเดินทางไปกับมิชชันนารีและการสอบทุนเล่าเรียนหลวง (ในยุคแรกของการปฏิรูปสยาม รัชกาลที่ห้าทรงประกาศเสรีภาพทางศาสนาเพื่อให้มิชชันนารีดำเนินการได้ ส่วนหนึ่งเป็นไปเพื่อการให้วางรากฐานการศึกษาในสยามในยุคที่สยามยังมีทุนและบุคลากรไม่มากนัก) โดยการศึกษานั้นได้ขยายมาเรื่อยๆ ในรัชสมัยต่อๆ มา สมัยรัชกาลที่หกมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาฉบับแรก สมัยหลังเปลี่ยนการปกครองโดยเฉพาะยุคจอมพล ป. ก็มีการขยายการศึกษา ส่วนหนึ่งเพื่อเสริมสร้างความรู้สึกเรื่องความเป็นชาติร่วมกันผ่านระบบการศึกษา โดยในหัวเมืองนั้นก็ต้องใช้เวลากว่าพ่อแม่จะยอมรับการศึกษาสมัยใหม่ เพราะสมัยก่อนไม่ได้มองว่าจำเป็น อยากให้ช่วยทำงานมากกว่า กับความเชื่อผิดๆ ว่าถ้าเรียนอาจถูกหลวงเกณฑ์เป็นทหาร ในส่วนนี้ถ้าใครเคยอ่านประวัติของเจ้าอาวาสหรือพระครูที่ท่านทำงานด้านการศึกษาจะเห็นได้ว่าหลายท่านต้องไปตามบ้านเพื่อบอกให้พ่อแม่ส่งลูกหลานมาเรียนที่วัด ต่อมาพอสังคมเห็นคุณค่าของการศึกษามากขึ้น ก็มีการส่งเสริมการศึกษามากขึ้นครับ ส่วนนี้จะต่างจากกลุ่มชาติที่รับวัฒนธรรมจีนอย่างเวียดนาม เกาหลี ญี่ปุ่นที่จะให้ความสำคัญกับการศึกษามานาน ในขณะที่สยามเพิ่งมีการศึกษาของราษฎรสมัยรัชกาลที่ห้า แถมต้องใช้เวลากว่าจะแพร่หลายด้วย (มีต่อ)
@thboy1037
@thboy1037 Жыл бұрын
ถ้าจำไม่ผิด ค่านิยมด้านการศึกษาของไทยที่เรียนหนังสือ มีใบปริญญาเริ่มแพร่หลายก็ประมาณปี 2500 มาแล้วนี่เอง สมัยก่อนหลายบ้านก็ให้เรียนเพียงภาคบังคับ อ่านออกเขียนได้ ทั้งหมดทั้งมวล เมื่อสยามเปิดประเทศ คนมีความรู้จึงน้อยกว่าญี่ปุ่น จึงไปได้ช้ากว่า อีกปัจจัยหนึ่งคือ สยามเป็นอาณาจักรโบราณที่เป็นระบบปริมณฑลแห่งอำนาจหรือ Mandala ที่อำนาจศูนย์กลางรัฐเหมือนแสงเทียน ยิ่งไกลยิ่งเลือนลาง หัวเมืองประเทศราชที่อยู่ไกลออกไปจึงปกครองกันเอง เพียงแต่ส่งเครื่องราชบรรณาการ ต้นไม้เงินต้นไม้ทองมาที่พระนครหลวงตามเวลาที่กำหนด ส่งไพร่พลมาช่วยรบยามมีสงคราม ทำให้คนมีหลากหลายเชื้อชาติและศาสนา พอถึงสมัยรัชกาลที่ห้า จักรวรรดินิยมตะวันตกเข้ามา จึงจำเป็นต้องทรงปฏิรูป เพื่อให้สยามมีอาณาเขตและดินแดนที่แน่นอน ไม่เปิดโอกาสให้ชาติตะวันตกแสวงหาอิทธิพลได้อีก โดยทรงปฏิรูปในส่วนกลางก่อน การสร้างรัฐชาติสมัยใหม่ต้องมีเงินและกองทัพ จึงทรงตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์เพื่อเก็บภาษีเข้าส่วนกลางโดยตรงแทนที่ระบบเจ้าภาษีอากรเดิมที่ใครประมูลได้ก็เป็นผู้เก็บ (มีเรื่องเล่าว่า แม้แต่เงินที่ใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพของรัชกาลที่สี่ พระบรมราชชนก ก็ยังต้องทรงกู้ และทรงใช้เวลาเป็นสิบปีกว่าจะใช้หนี้หมด) และทรงเลิกไพร่ผ่านพระราชบัญญัติเกณฑ์ทหาร เพื่อมิให้ไพร่เป็นกำลังของขุนนางได้ (ในอดีตไพร่เป็นกำลังสำคัญของขุนนางเวลาจะกระทำการต่างๆ จึงมีกฎที่เคร่งครัด เช่น ห้ามขุนนางพบประกันในที่รโหฐาน เป็นต้น) และทรงเลิกทาสเพื่อให้มีอิสระในการประกอบอาชีพ และเป็นกำลังของระบบเศรษฐกิจสมัยใหม่ที่เข้ามาในช่วงหลังสนธิสัญญาบาวริ่ง เมื่อส่วนกลางมั่นคงแล้ว ก็ขยายไปส่วนภูมิภาค โดยทรงให้ชาวตะวันตกมาทำแผนที่ ทรงยกเลิกระบบเจ้าเมืองประเทศราชเดิมอย่างช้าๆ (ยังมีอยู่แต่ไม่มีอำนาจ แต่ก็ทรงอุปถัมภ์ด้านต่างๆ ให้ดำรงสถานะอยู่ได้) แทนที่ด้วยระบบมณฑลเทศาภิบาล ส่งข้าราชการจากส่วนกลางไปปกครอง การสร้างรัฐชาติสมัยใหม่นี้ แม้จะถูกต่อต้านบ้าง ทั้งจากส่วนกลาง (วิกฤตการณ์วังหน้า ที่นำมาสู่การยกเลิกตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้า แทนที่ด้วยตำแหน่งสยามมกุฎราชกุมาร) และส่วนภูมิภาค (กบฏพญาผาบ กบฏเงี้ยวเมืองแพร่ในภาคเหนือ กบฏผีบุญหรือผู้มีบุญในภาคอีสาน กบฏพระยาแขกเจ็ดหัวเมืองในภาคใต้) แต่ก็สงบลงได้ พร้อมๆ กับมีการส่งนักเรียน ทั้งเจ้านาย ขุนนาง และสามัญชน ไปศึกษาต่อที่ยุโรป และเริ่มพัฒนาสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานในประเทศ (มีต่อ)
@thboy1037
@thboy1037 Жыл бұрын
จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า รัฐชาติสยามนั้นไม่ได้เป็นปึกแผ่นมาตั้งแต่ต้น อีกทั้งเมื่อมีการสร้างรัฐชาติ ก็มีการต่อต้านมากกว่า ทำให้รัฐชาติสยามเกิดได้ยากกว่าญี่ปุ่น ซึ่งรัฐชาติที่เกิดมานั้นสร้างสำเร็จในเชิงกายภาพสมัยรัชกาลที่ห้า ซึ่งก็ต้องใช้เวลาอีกหลายปีกว่าความรู้สึกที่ว่า เรามี "ความเป็นสยาม/ไทย" เหมือนกัน จะเกิดขึ้น ผ่านระบบการศึกษา ประกอบกับผู้มีการศึกษามีน้อย การศึกษาในช่วงแรกที่ไปศึกษาจากยุโรป จึงมักเป็นวิชากฎหมายและวิชาทหารเป็นหลัก เพื่อการปกครองแบบสมัยใหม่ ด้านวิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรมมีน้อย จึงพัฒนาได้ไม่เท่าญี่ปุ่น ในสมัยคณะราษฎร มีความพยายามที่จะพัฒนา "กอุพากรรม" คือกสิกรรม อุตสาหกรรม พาณิชกรรม ของไทยเอง โดยใช้ญี่ปุ่นเป็นต้นแบบ (หาอ่านได้จากหนังสือ "ตามรอยอาทิตย์อุทัย: แผนสร้างชาติไทยสมัยคณะราษฎร) แต่ทำไปได้เล็กน้อยก็เกิดสงครามโลกครั้งที่สอง กว่าไทยจะเริ่มพัฒนาอุตสาหกรรม ก็มาสมัยจอมพลสฤษดิ์ ที่ไทยเป็นพันธมิตรกับอเมริกาในการต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ในอินโดจีน ไทยได้รับการสนับสนุนทั้งทางทหารและการพัฒนาจากอเมริกาเป็นอย่างมาก มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรก เริ่มพัฒนาอุตสาหกรรมเบาทดแทนการนำเข้า (ยุคเดียวกันญี่ปุ่นเริ่มฟื้นฟูเศรษฐกิจ เกาหลีใต้และไต้หวันที่มีรากฐานอุตสาหกรรมมาจากยุคญี่ปุ่นอยู่แล้วเริ่มพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก โดยอเมริกาสนับสนุน จึงไปได้ไกลกว่า) แม้อเมริกาจะสนับสนุน ประกันความมั่นคงให้ แต่เพราะการศึกษากับอะไรหลายอย่างของไทยไม่พร้อม จึงไปได้ช้ากว่า อีกทั้งหลังจากที่อเมริกาถอนทหารในทศวรรษที่ 1970 ไทยก็ต้องรับมือกับคอมมิวนิสต์ในอินโดจีนแทบจะตัวคนเดียว มีอาเซียน (ตอนนั้นมีห้าประเทศ) และจีนช่วยบ้าง ทศวรรษที่ 1980 ไทยเริ่มพัฒนาอุตสาหกรรมหนักเพื่อการส่งออก ซึ่งทำให้ไทยยกระดับจากประเทศรายได้ต่ำเป็นรายได้ปานกลางในทศวรรษที่ 1990 และปัจจุบันเป็นประเทศรายได้ปานกลางค่อนสูง ถ้าอยากขึ้นรายได้สูง ก็ต้องพัฒนาสินค้านวัตกรรมให้ได้ ประกอบกับพัฒนาด้านอื่นๆ เช่นกระจายรายได้และโอกาส ลดความเหลื่อมล้ำ ไปพร้อมๆ กันด้วย ถึงจะสามารถเป็นประเทศพัฒนาแล้วได้ (มีต่อ)
@thboy1037
@thboy1037 Жыл бұрын
ที่กล่าวมาทั้งหมดจะเห็นได้ว่า ไทยกับญี่ปุ่นนั้นต่างกันตั้งแต่ต้น จึงอาจไม่เหมาะนักที่จะวิจารณ์ไทยว่าเปิดประเทศพร้อมเขาแต่ไปได้ช้ากว่า หลายคนชอบ "ชกข้ามรุ่น" เพราะรับรู้ประวัติศาสตร์มาไม่รอบด้าน เลยคิดว่าไทยควรจะเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ พอไม่ได้ก็น้อยเนื้อต่ำใจ คือถ้าวิเคราะห์หลายๆ ด้านแล้วเมืองไทยอาจไปได้ไกลกว่านี้ แต่จากสภาวะต่างๆ แล้ว ที่ไทยทำมาได้ก็ไม่ขี้เหร่จนต้องถูกด้อยค่าแบบที่คนบางกลุ่มกล่าว เป็นหน้าที่ของคนไทยเราที่ควรจะรับรู้เรื่องราวในอดีตให้รอบด้าน แล้วนำมาเป็นบทเรียนในการพัฒนาประเทศร่วมกันต่อไปครับ
@Melvee99
@Melvee99 Жыл бұрын
มีฝรั่งเศสกับอังกฤษประกบไว้ทั้งสอง ในแง่การต่างประเทศ ไทยก็เป็นรองครับ ฝรั่งเศสในเวลานั้นกระหายดินแดนมาก เพื่อหาดินแดนที่ยิ่งใหญ่ทางอารยธรรมพอๆ กับอียิปต์และอินเดียของอังกฤษ นครวัดนั่นเอง
@her5113
@her5113 Жыл бұрын
ตอนนี้โคตรสนุยเฮีย ขอบคุณมากๆครับ รอของประเทศอินเดียค้าบบบบ
@MY_PLAYGROUND212
@MY_PLAYGROUND212 Жыл бұрын
ขอบคุณครับ รีบทำรีบตัดต่อนะครับ 😊❤️🤭 🤟 กำลังอินเลย
@JiRaNoN1994
@JiRaNoN1994 Жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ครับอาจารย์
@siwapongprated
@siwapongprated Жыл бұрын
สนุกและได้ความรู้มากๆเลยครับ
@nanoonano2622
@nanoonano2622 Жыл бұрын
ชอยมาก ep นี้ ญป พัฒนาเร็ว เละสงครโลก สู้จุดสูงสุดอีกรอบ แล้วก็ค่อยตกยาวๆ
@BraveProShop
@BraveProShop Жыл бұрын
ฟังเฮียวิทได้ทุกเรื่องเลยครับ เสียงหน้าฟังมาก
@005ชัยชนาธิปดวงศรี
@005ชัยชนาธิปดวงศรี Жыл бұрын
เล่าเรื่องยุคเซ็นโกคุหน่อยครับ
@sireeraspan
@sireeraspan Жыл бұрын
โอ๋ยกำลังสนุกเลยยย รอๆๆๆep2
@TuMz_JKP
@TuMz_JKP Жыл бұрын
ไล่ดู ดร.วิทย์ คนนิ้ทั้งหมดล้ะเนี้ยชอบทั้งน้ำเสียงชอบทั้งความรุ้แน่นเลย ไล่ดูของ 8minute ครบหมดล่ะมาหาดูยากช่องนี้ต่อ
@tkkorn5008
@tkkorn5008 Жыл бұрын
อยู่กับลูกพี่สบายเลย
@สมพรไขระวิ
@สมพรไขระวิ Жыл бұрын
มาเเล้ว ยุคการปฏิรูปเมจิที่รอคอย
@sirapopkerdpium9922
@sirapopkerdpium9922 Жыл бұрын
ขอบคุณครับ ชอบมากๆเลยครับ
@ws.safluk2325
@ws.safluk2325 Жыл бұрын
รอมานานครับประเทศนี้ แต่เสียงเบาไปหน่อย ผมชอบเปิดไปฟังแล้วทำงานไปด้วย อยากให้เร่งเสียงขึ้นนิดหนึ่งครับ ญี่ปุ่นทั้งที อุสาหกรรมรถยนต์ต้องมาแล้วครับ
@Sittivaekin
@Sittivaekin Жыл бұрын
อุตรถยนต์ จะอยู่ใน ep 3 ของ ญี่ปุ่นครับ อัดเสียงแล้ว รอนิดนึงนะครับ สนุกแน่นอน ผมมีทฤษฎีฉลามของ อดีตนายกรัฐมนตรี Ikeda Hayato ด้วยครับ
@TheJoker00795
@TheJoker00795 Жыл бұрын
​@@Sittivaekinอยากฟังยุทธศาสตร์ห่านบินครับ
@Sanklocksmith
@Sanklocksmith Жыл бұрын
ชื่นชอบมากครับติดตามทุกตอนเลย
@nuuwi
@nuuwi Жыл бұрын
อยากฟังสเปนค่าาา
@สุภาพบุรุษ-ณ1ฏ
@สุภาพบุรุษ-ณ1ฏ Жыл бұрын
ชอบมากหาคลิปแบบนี้มานาน
@general1140
@general1140 Жыл бұрын
พึ่งฟังเฮียจากเรื่อง ฟุตบอลอีตาลี จากอีกช่อง มาต่อช่องนี้เลย
@HaYaTo_LogresJPRPG
@HaYaTo_LogresJPRPG Жыл бұрын
ขอบคุณทั้งสองท่านและรายการมากๆครับ ที่ผมพูดได้ว่าเป็นการบรรยายให้ความรู้ขอบคุณมากครับ🙏❤️👍✌️
@user-oat101
@user-oat101 Жыл бұрын
ฟังแล้วรู้สึกเล่นเกม total war shogun 2 สนุกขึ้นเยอะเลยทีเดียว
@pattavee-q3h
@pattavee-q3h Жыл бұрын
ชอบเฮียวิทย์ พูดเรื่องฟุตบอล รู้เรื่องโคตรลึกเลย เซียนกัลโช่
@Koga551
@Koga551 Жыл бұрын
Oda Toyotomi Togugawaเค้าไม่ได้รบกันครับ แต่อำนาจมันเปลี่ยนมือกันตามลำดับ
@wilaiwong687
@wilaiwong687 Жыл бұрын
ขอบคุณเฮียมากค่ะ แต่ละตอนดูไม่ต่ำกว่า 2 รอบ บอกเลยว่ามีคุณค่ามาก ๆ ค่ะ
@ttzk5105
@ttzk5105 Жыл бұрын
กลับไปดูเคนชิน ซามูไรพเนจรต่อสนุกเลย❤
@kbk-3921
@kbk-3921 Жыл бұрын
สนุกเข้าใจง่ายเหมือนดูหนังav อิหยังวะ! 🧡🌈
@chairatngoen-nur-di8056
@chairatngoen-nur-di8056 Жыл бұрын
ฟังแล้ว บรรยากาศดาบพิฆาตอสูรลอยมาเลยครับ
@sho-ontv
@sho-ontv Жыл бұрын
ประวัติเล่าออกมาได้ดีครับ แต่ยังออกเสียงผิดอยู่เช่น ไทโช ครับ ไม่ใช่ ไทโช่ นะครับ
@znba8823
@znba8823 10 ай бұрын
ญี่ปุ่นรับอิทธิพลวัฒนธรรมจีนเยอะครับ ตัวอักษรก็ด้วย คําศัพท์ก็ด้วย เสื้อผ้าเครื่องเเต่งกายด้วย เเละอื่นๆ
@ประกาศิตกุลเจริญ-ท1ษ
@ประกาศิตกุลเจริญ-ท1ษ 6 ай бұрын
ก็เหมือนไทยรับอิทธิพลวัฒนธรรมอินเดียนั่นแหละครับ
@znba8823
@znba8823 6 ай бұрын
@@ประกาศิตกุลเจริญ-ท1ษ ไทยรับอิทธิพลจีนด้วยเเละเลียนเเบบด้วย
@tawatchaikarpheng7282
@tawatchaikarpheng7282 Жыл бұрын
ขอขอบคุณ
@Mr.jodzaa
@Mr.jodzaa Жыл бұрын
คนญี่ปุ่นไปเรียนที่ต่างประเทศหรือประเทศตัวเอง ทำไมถึงมีเครื่องบินรบ เรือรบเยอะขนาดนั่น ลงทุนสร้างออกแบบเอง หรือซื้อครับ
@Smildchanel
@Smildchanel Жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆที่ผ่านการย่อย วิเคราะห์มาแล้ว มากครับ ทำให้จับประเด็นเข้าใจง่ายและสนุกไปกับการเรียนรู้มากครับ
@famous577
@famous577 Жыл бұрын
38:28 แล้วกับบัตโตไซนี้ ชื่อเดียวกันไหมครับ เหมือนได้ยินจากการ์ตูน
@karnnaka9234
@karnnaka9234 Жыл бұрын
เยี่ยมมากครับ
@hasannureman3636
@hasannureman3636 Жыл бұрын
สุดจัดทั้ง 2 ท่าน🎉🎉🎉
@boingbkk3084
@boingbkk3084 Жыл бұрын
สนุกมากเพลิดเพลิน
@papapug5571
@papapug5571 Жыл бұрын
ถ้าเป็นไปได้ มีทุกวีคเลยจะดีมากเลยครับ ถ้ากลัวจบไวลงข้อมูลลึกขึ้นก็ไม่ติดนะครับ 👍 คลิปใหม่กว่าจะมาตั้งแต่สวิส ผมฟังวนของเก่าไป2รอบ😅
@Kt-ix3kz
@Kt-ix3kz Жыл бұрын
เฮียวิทน่าจะออกเสียง คำว่า เท็นโน 天皇/てんのう ผิดเป็น เท็งโน รึป่าวครับ
@ipoditoon
@ipoditoon Жыл бұрын
สนุกมาก ก ก ขอบคุณครับ
@Jackvibritannia01
@Jackvibritannia01 7 ай бұрын
เดี๋ยวๆ โนบุนากะ กับโทโยโทมิ ไม่ได้รบกันนะครับ เจ้าลิงเป็นลูกน้องของโนบุนากะต่างหากล่ะ รับใช้โนบุนากะมาตลอด จนกระทั่งโนบุนากะสิ้น ส่วนอิเอยาสึ ก่อนนี้เคยถูกอิมากาวะส่งมาเป็นตัวประกัน ก็เลยได้รับการดูแลจากโนบุนากะครับ สุดท้ายเจ้าลิงกับทานูกิเฒ่าก็ไม่เคยรบกันอยู่ดี
@ks_japarn6897
@ks_japarn6897 Жыл бұрын
มาแล้ววววว รอซี่รีส์นี้นานมากก เย้🎉
@ธนภัทรดาราวิโรจน์
@ธนภัทรดาราวิโรจน์ Жыл бұрын
ผมมีเรื่องสงสัยครับ ราชวงศ์ยามาโตะ เคยเซ็นให้ซามูไรทำรัฐประหารโชกุนใหมครับ
@I9NUZ999
@I9NUZ999 Жыл бұрын
ฟังเพลินมากครับ
@Oorn-q6c
@Oorn-q6c Жыл бұрын
ยังไม่รู้คำว่า ไอ้ยุ่นเลยค่ะ เล่าต่อไปนะค่ะ อยากฟังต่อ สนุกมากๆๆค่ะ
@puttapong2pn
@puttapong2pn Жыл бұрын
โห่ๆๆกำลังสนุกเลย ติดลม แต่จบซะงั้น ไม่นะ😭
@uminh6575
@uminh6575 3 ай бұрын
ซาวน์เสียงตอนบอกว่า สู้เค้านะประเทศญี่ปุ่น คือเพราะ
@bowhipbobow8457
@bowhipbobow8457 Жыл бұрын
รอมานาน
@kantaphatmax9640
@kantaphatmax9640 Жыл бұрын
เสียงพูดพี่เหมือนกับ สิงห์ วรรณสิงห์ มากเลย ถ้าลองหลับตาฟัง จะรู้ว่าเหมือนกันมาก
@thitapatthirawichakchai7445
@thitapatthirawichakchai7445 Жыл бұрын
ชอบมากค่ะ
@john_eiei
@john_eiei Жыл бұрын
รอเลยครับ
@kitjathongpon7349
@kitjathongpon7349 Жыл бұрын
นึกถึง ซามูไรพเนจร เลยครับ
@huahintrainspotters
@huahintrainspotters Жыл бұрын
34:07 กองทัพเรือญี่ปุ่นเรียกอย่างเป็นทางการว่า กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่นครับ Japan Maritime Self-Defense Force (JMSDF)
@kiratijittichalernwit3892
@kiratijittichalernwit3892 Жыл бұрын
มีตอนต่อไปไหมครับ
@โชคดีโมบาย-ต8ฐ
@โชคดีโมบาย-ต8ฐ Жыл бұрын
ปัจจุบันมีความเป็นบึกแผ่น
@krittayachanthawong4286
@krittayachanthawong4286 Жыл бұрын
45 นาที ทำไมผ่านไปไวจัง ขอบคุณมากค่ะ
@isoonthepsaskul6574
@isoonthepsaskul6574 Жыл бұрын
ขอแก้หน่อยนะครับ โอดะ โนบุงากะ กับ โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ ไม่เคยรบกันนะครับ ฮิเดโยชิเป็นลูกน้องที่ภักดีต่อโนบุงากะมาก
How Strong is Tin Foil? 💪
00:25
Brianna
Рет қаралды 70 МЛН
PRANK😂 rate Mark’s kick 1-10 🤕
00:14
Diana Belitskay
Рет қаралды 11 МЛН
What type of pedestrian are you?😄 #tiktok #elsarca
00:28
Elsa Arca
Рет қаралды 17 МЛН
HELP!!!
00:46
Natan por Aí
Рет қаралды 63 МЛН
How Strong is Tin Foil? 💪
00:25
Brianna
Рет қаралды 70 МЛН