Carbon Capture เทคโนโลยีดักจับคาร์บอน พระเอกกอบกู้โลกรวนจริงหรือ | The Secret Sauce EP.565

  Рет қаралды 54,114

THE SECRET SAUCE

THE SECRET SAUCE

Күн бұрын

‘คาร์บอน’ มักถูกมองเป็นผู้ร้ายที่ทำให้เกิดภาวะโลกรวน แต่จริงๆ แล้วปัญหาคือการที่คาร์บอนถูกปล่อยออกสู่ชั้นบรรยากาศมากเกินไปจนทำให้โลกผิดปกติ ซึ่ง ณ เวลานี้มีเพียง ‘Carbon Capture’ หรือเทคโนโลยีการดักจับคาร์บอนเท่านั้น ที่จะสามารถดูดคาร์บอนจากชั้นบรรยากาศ เพื่อนำมากักเก็บหรือนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้
The Secret Sauce ร่วมกับ Quantum Technology Foundation (Thailand) หรือ QTFT พาคุณเชื่อมจุด ทบทวนบทเรียนสมัยเด็ก ตั้งแต่การตอบคำถามว่าคาร์บอนคืออะไร และวิธีการนำคาร์บอนไปใช้ประโยชน์ พร้อมสรุปสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ Carbon Capture เทคโนโลยีที่หลายคนเชื่อว่าจะเป็นพระเอกผู้มากอบกู้โลกไม่ให้รวนไปกว่านี้
00:00 เริ่มรายการ
01:50 เกริ่นนำ
05:42 คาร์บอนคืออะไร
15:43 เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนคืออะไร
21:51 Carbon Capture คือพระเอกจริงหรือ
25:16 วิธีการกักเก็บคาร์บอน
31:02 วิธีการนำคาร์บอนไปใช้ประโยชน์
35:45 แนวโน้มตลาดผลิตภัณฑ์จากคาร์บอน
41:55 แนวทางการนำ CCS หรือ CCU ไปใช้
47:55 ประเทศไทยจะไปถึง Net Zero ได้อย่างไร
________________
ตอนนี้ช่อง THE SECRET SAUCE ของเราได้เปิดให้แฟนๆ เข้ามาจอยเป็น Membership แล้วนะครับ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ ในราคาเพียง 50 บาทต่อเดือนเท่านั้น
โดยคุณสามารถคลิกที่ปุ่ม Join แล้วเลือกช่องทางชำระเงินตามสะดวกได้เลย หรือกดลิงก์ / @thesecretsauceth
มาเป็น The Secret Sauce Club ด้วยกันนะครับ :)
________________
ติดตาม The Secret Sauce ในช่องทางอื่นๆ
Spotify bit.ly/tssspotify
Apple Podcasts bit.ly/tssapple
Google Podcasts bit.ly/tssggpod
PodBean bit.ly/tsspodbean
Website bit.ly/webtss
Facebook / thesecretsauceth
Facebook Group / 643054436428079
#TheSecretSauce #TheStandardPodcast #CarbonCapture

Пікірлер: 63
@mamberserk1934
@mamberserk1934 Жыл бұрын
ชอบช่องนี้จัดเลย สรุปและให้ความรู้ดีมากๆ
@user-wp7vv3kg8d
@user-wp7vv3kg8d Жыл бұрын
รถดีเซล ชอบถอดระบบ egr กัน ควรออกกฏหมายควบคุม
@partypanarroonkit2357
@partypanarroonkit2357 Жыл бұрын
รายการคุณ นครินทร์ มีสาระมาก คลิปนี้ยอดเยี่ยม ในการให้ความรู้ความเข้าใจ Carbon source , Carbon storage CCS , CCU มันเป็นศาสตร์ใหม่ ที่สมควรต่อยอด ผมห่วงตอนปลายนะครับ ผู้ควบคุมศาสตร์ ให้ **ความยุติธรรมต่อโลก ต่อ ประชาชนไหม** คาร์บอนเครดิต ในรูปแบบเดิม ล้มไปแล้ว เพราะความไม่ยุติธรรม คาร์บอนฟุตปริ้นท์ ศาสตร์คู่กัน มันจำเป็นและเป็นการวัดค่า คาร์บอนฟุตปริ้นท์ และ คาร์บอนเครดิต มันจะอยู่ใน ขั้น Carbon source แค่นั้นเอง ดังนั้น **ความยุติธรรม** ที่จะต้องมี ใน Carbon Capture **มันเป็นเรื่อง ที่สำคัญ มาก** ไม่เช่นนั้น มันก็ล่ม เพราะโลก เรียกร้องความยุติธรรม อย่าปล่อยให้มันเป็นแค่เครื่องมือของเหล่านายทุนที่เห็นแก่ตัว ผมชอบนะ ศาสตร์นี้ และ รายการนี้
@starwarpega7068
@starwarpega7068 Жыл бұрын
แหกตา ดักจับปฏิรุ้เรื่องหรือปล่าว
@partypanarroonkit2357
@partypanarroonkit2357 Жыл бұрын
@@starwarpega7068 ดักจับ อะไรครับ ปฏิ ไม่เข้าใจ
@user-be1rk2ko3o
@user-be1rk2ko3o Жыл бұрын
ดีใจครับที่มีแนวคิดจะหยิบจับคาร์บอนเป็นแนวคิดปรับปรุงขั้นสูงสุดเรื่องการควบคุมปริมาณคาร์บอนที่ก่อปัญหาโลกร้อน... ...แต่ฝากอาจารย์ต่อนะครับ เพราะอาจารย์ไม่ได้พูดถึงก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ..ฟรีออน, ก๊าซมีเทน ที่รั่วไหล เป็นต้น ซึ่งปกติจะนำมาคำนวณคาร์บอนเทียบเท่า..จะมีแนวทางหยิบจับพวกก๊าซเหล่านี้อย่างไร
@user-le6zo9uj1e
@user-le6zo9uj1e Жыл бұрын
ชอบช่องนี้ค่ะได้ความรู้มาก
@jungkookkkkkkkkk6702
@jungkookkkkkkkkk6702 Жыл бұрын
Content ดีตลอดเลย
@user-bx6bh4bo7e
@user-bx6bh4bo7e Жыл бұрын
รัก the standard ที่สุดครับ❤🎉🎉🎉
@medelynjn
@medelynjn 5 ай бұрын
อยากให้พูดถึงเรื่อง พรบ.การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศค่ะ
@user-jx6vc5vu4e
@user-jx6vc5vu4e Жыл бұрын
ขอบพระคุณมากค่ะ
@khomwitboonthamrongkit2173
@khomwitboonthamrongkit2173 Жыл бұрын
ใช้ วัสดุ ที่ low carbon cycle น่าจะถูกกว่า
@musicdrawing
@musicdrawing Жыл бұрын
เข้าใจขึ้นเยอะเลย
@tongthanawat
@tongthanawat 5 ай бұрын
การใส่ในน้ำอัดลม จะทำให้ Co2 ออกมาอีกรอบไหมครับจากฟอง
@TheSecretSauceTH
@TheSecretSauceTH Жыл бұрын
01:50 เกริ่นนำ 05:42 คาร์บอนคืออะไร 15:43 เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนคืออะไร 21:51 Carbon Capture คือพระเอกจริงหรือ 25:16 วิธีการกักเก็บคาร์บอน 31:02 วิธีการนำคาร์บอนไปใช้ประโยชน์ 35:45 แนวโน้มตลาดผลิตภัณฑ์จากคาร์บอน 41:55 แนวทางการนำ CCS หรือ CCU ไปใช้ 47:55 ประเทศไทยจะไปถึง Net Zero ได้อย่างไร
@fiorerosso8754
@fiorerosso8754 Жыл бұрын
แนะนำ MOFs ครับ
@windeejai6849
@windeejai6849 Жыл бұрын
เราน่าจะต้องทำหลายอย่างพร้อมๆกันเริ่มจากการประหยัดบริโภคเท่าที่จำเป็นและอย่างคุ้มค่ามีประสิทธิภาพซึ่งทุกคนต้องร่วมมือช่วยกัน ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตต่างๆ แยกและจัดการขยะนำกลับมาใช้ใหม่อย่างเหมาะสม ปลูกต้นไม้เพิ่ม พัฒนาและใช้พลังงานสะอาดทดแทนให้มากขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ไปจนถึง Cabon capture อย่างที่คุยกันด้วยครับ
@janyarukstanthana4707
@janyarukstanthana4707 Жыл бұрын
FC ดร.ทิวค่ะ😊
@therddhamkhamsiri9966
@therddhamkhamsiri9966 Жыл бұрын
ส่วนตัวการกักเก็บก๊าซในแง่การอัดลงไปใต้ดิน เหมือนการกวาดฝุ่นซุกไว้ใต้พรม ไม่รู้วันหนึ่งจะมีปัญหาโผล่มาไหม เพราะแน่ใจได้อย่างไรกับการอัดลงไปใต้ดินแล้ววันหนึ่งจะไม่มีแรงอัดมากจนอาจจะสร้างปัญหากลับมา ส่วนตัวไม่เห็นด้วย แต่ถ้า เก็บก๊าซลงใน membrane แบบนั้นน่าจะปลอดภัยว่า แต่ถ้า นำ CO2 ที่ได้นั้นมาใช้ประโยชน์ หรือแปรรูป แบบนั้นจะน่าจะดีกว่า หรือไปหาพวกจุลินชีพ ไม่ว่าจะเป็น แบคทีเรีย หรือพืชอะไรบางอย่างที่จะสามารถดูดซับ หรือ ทำการแปรรูปของ CO2 เหล่านั้นให้ แปลงเป็น สารประกอบคาร์บอนในรูปแบบอื่นๆ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้อีก แบบนั้นจะดีกว่า เพียงแต่จะหาสิ่งชีวิตที่สามารถแปลงมันได้รวดเร็ว โดยบริหารจัดการได้สะดวกได้เร็วเพียงไหน
@sirarmmergamesmer4215
@sirarmmergamesmer4215 Жыл бұрын
แล้วความปลอดภัยเวลา คาร์บอนที่จะส่งลงไปในใต้ดินกลางทะเลแล้วมีอุบัติเหตุมีการรั่วไหลของคาร์บอน จะส่งผลกระทบต่อทะเลส่งมีชีวิตต่างๆอย่างไร และมีวิธีการรับมือแก้ไขยังไงให้เกิดความเสียหายได้น้อยที่สุดถ้าเกิดการรั่วไหลได้บ้างครับ
@citizenlovedevelopment
@citizenlovedevelopment Жыл бұрын
ต่อไปทุกบ้านในไทยจะมีหลุมเก็บ แรกๆ รวมหมู่บ้านหรือ อำเภอ และต่อไปก็จะเก็บทุกคาบ้าน ก็จะทำให้ไทยได้ คอนบอนเครดิตเป็นของแถม สุดยอด การพัฒนานวัตกรรมไทย
@citizenlovedevelopment
@citizenlovedevelopment Жыл бұрын
เพราะเรามีโรงงานอุตสาหกรรมมากมาย ต่อไปทุกกิจการต้องมีระบบดักจับก็าซคาบอน เชื่อคนไทยและผู้ใหญ่ทั้งภาครัฐและเอกชนจะได้รับผลประโยชน์มหาศาลกับคาบอนเครดิต หนึ่งในโลก ที่พัฒนาวิจัยวิทยาศาสตร์ คือประเทศไทย 🙏🙏🙏🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭
@citizenlovedevelopment
@citizenlovedevelopment Жыл бұрын
สนับสนุน 1 ล้านเปอร์เซนต์เลย
@wangwa206
@wangwa206 Жыл бұрын
ตัดไม้สับชิ้นกำลังเป็นธุระกิจที่ชุมชนร่วมใจทำลายต้นไม้หัวไร่ปลายนา ไม้ด้อยค่าในธรรมชาติจะสูญพันธุ์ใน5ปี อยากให้ทำ EP ต่อไป
@user-uv7ie7ti8e
@user-uv7ie7ti8e 7 ай бұрын
เชื้อครึ่งไม่เชื้อครึ่งความจริงสงครามมันร้าย กว่านั้นอีกแต่ชนชั้นนำและมหาอำนาจของโลกไม่มีใครพูดถึงเหตุร้ายอันตรายจากสงครามเลยครับ ผู้ร้ายจริงต้องโทษผู้สร้างอาวุธและผู้สนับสนุนก่อความขัดแย้งให้เกิดสงคราม
@TheSecretSauceTH
@TheSecretSauceTH Жыл бұрын
📌 The Secret Sauce Strategy Forum 2022 CODE RED Strategy กลยุทธ์คว้าโอกาสจากวิกฤตโลก 🚩 ซื้อบัตรได้แล้ววันนี้ที่ www.thaiticketmajor.com/seminar/the-secret-sauce-strategy-forum-2022.html
@thanakornakarasinsub7456
@thanakornakarasinsub7456 Жыл бұрын
เหมือนไทยจะมีการขายคาร์บอนเครดิตให้ทางสวิสใช่มั้ยครับ
@onyourdemocracyhead8659
@onyourdemocracyhead8659 Жыл бұрын
มีสาหร่ายนอกจากต้นพืชทั่วไปแล้วจุดที่มีสาหร่ายคิ้วสาหร่ายแข็งแรงก็เอาเกลือแร่เหล็กลงไปสาหร่ายก็จะได้ปุ๋ยสำหรับการเจริญเติบโตนั่นคือแร่เหล็ก
@ibanezibanez2428
@ibanezibanez2428 Жыл бұрын
Fc
@citizenlovedevelopment
@citizenlovedevelopment Жыл бұрын
ตอนนี้เราสำเร็จในกำจัดควบคุมน้ำเสียได้ระดับหนึ่ง แล้วเราก็กำจัดดักจับควบคุมก๊าซ สู่อากาศซึ่งกำลังศึกษาวิจัยอยู่ และจะสำเร็จอย่างรวดเร็วง่ายดาย ด้วยนักวิจัยไทย 🙏🙏🙏🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🌎🌎🌎🌎🌎🌎🌎🌎🌎🌎🌎🌎🌎🌎
@citizenlovedevelopment
@citizenlovedevelopment Жыл бұрын
เพราะเราขุดเจาะบ่บาดาลมานาน หลุมเก็บนั้นง่าย สำหรับเรา😊
@user-jr9rm8kz2r
@user-jr9rm8kz2r 10 ай бұрын
ลดมลพิษด้วย ปลูกด้วยครับ
@citizenlovedevelopment
@citizenlovedevelopment Жыл бұрын
การพัฒนาวิจัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีไทย และพิทักษ์โลก 🙏🙏🙏🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭และจะสามารถนำมาใช้งานได้หลายรูปแบบนวัตกรรม ดังกล่าว ไทยสามารถต่อยอดศึกษาวิจัย และควบคุมบังคับ แต่หนึ่งในวิจัยไทยจะช่วยสมดุลระบบนิเวศน์
@buss991
@buss991 Жыл бұрын
empathy
@user-il4dl3nr7d
@user-il4dl3nr7d Жыл бұрын
ป่าที่ปลูกขึ้นเอง พรรณไม้ป่าหายากกว่า 30 ชนิด อายุ 25 ปี เต็มพื้นที่ 58 ไร่ ต้องการซื้อคาร์บอนเครดิต หรือ ศึกษา แวะชมได้ที่ เมืองต้นไม้ บ้านซับตาเมา หนองตาคง โป่งน้ำร้อน จันทบุรี.
@Lay_Maximalist
@Lay_Maximalist Жыл бұрын
ขอดีมีแต่ไม่ค่อยจะมีประโยชน์เท่าไร
@nutking56
@nutking56 Жыл бұрын
ชีวมวล→pyrolysis gas→โรงไฟฟ้า→carbon(ถ่าน)→biochar→เกษตรกร
@user-ie5pi5ko3w
@user-ie5pi5ko3w Жыл бұрын
ชอบช่องนี้มีมากๆเลยครับ...กดรักตรงไหนครับ.. 🤭
@citizenlovedevelopment
@citizenlovedevelopment Жыл бұрын
ฝากถึงทั้งภาครัฐและเอกชน สนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมไทยด้านนี้เต็มสูบ ด้วยเทอญ
@appchecktest
@appchecktest Жыл бұрын
ทำไมผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก CCU ต้องแพง....เราควรเก็บเงินจากผลิตภัณฑ์ปกติที่มีจำนวนมาก มาใช้อุดหนุนผลิตภัณฑ์จาก CCU ที่มีจำนวนน้อยกว่า และได้ประโยชน์จากการลด CO2
@partypanarroonkit2357
@partypanarroonkit2357 Жыл бұрын
นายทุนเขาเล่นกับ **Carbon credit** ระบบเดิมใช้ฐาน แค่ Carbon footprint เป็นฐานคิด ระบบเดิมเป็นแค่ Carbon sourcd ยังไม่ใช้ศาสตร์ใหม่อย่าง CCS, CCU เป็นฐานคิด เพื่อควบคุมประชาชน มันเป็นเพียง เครื่องมือของนายทุนชนิดหนึ่ง ใช้ควบคุมและดูดทรัพย์ของประชาชน เหมือน ระบบ oligarchy ที่มีเครื่องมือเป็นราชาธิปไตย(monarchy)​ และมาเปลี่ยน เป็นประชาธิปไตยเมื่อ(democracy)​ ไม่ถึง300ปีมานี้ CCU เป็นของดี Carbon credit เป็นสิ่งที่ดี แต่เกรงว่า นายทุนบวกต้นทุนเข้าไปใน สินค้า เหมือนบวก ภาษีและVAT ในสินค้า เป็นการผลักภาระให้กับประชาชน เขาเก็บกำไรไปซื้อ Yatch, Jet, Super car ดีกว่า แทนที่จะแบ่งกำไรมาเบาต้นทุนให้ประชาชน
@J_A22
@J_A22 Жыл бұрын
จริงครับ !รัฐบาลควรเริ่มทำแคมเปนส์ Carbon capture, utilisation and storage (CCUS) ให้ประชาชนทราบ ตะหนักในการเลือกซื้อสินค้าได้แล้ว อุตสาหกรรมและSMEs จะได้เน้นมาทำด้านนี้เยอะๆเดี๋ยวต่างชาติก็บังคับเรื่องส่งออกอยู่ดี และแล้วก็มาถึง End of Globolisation รัฐบาลควรรณรงค์ของที่ Made in Thailand ไปด้วยเลย คนไทยจะได้ซื้อ สนับสนุนคนไทยให้มีงานรวมไปถึงคนทำR&D บริษัทผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคเมกา ญี่ปุ่น เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านมันถึงออกไปหมด มีแต่Made in Vietnam and Made in Indo เต็มไปหมด รัฐบาลรับใช้แค่นายทุน แต่ตัวเองก็ต้องมาแก้ปัญหาในคนไทยแบบประชานิยมรับใช้นายทุนให้ไปซื้อของ เวรกรรม ตลก แก้ปัญหาปลายเหตุ ให้ไปดูงานที่ออสเตรเลียเลยครับเขาประเทศประชาธิปไตย แต่กฎหมายก็คือกฎหมาย ชาตินิยม สินค้าทุกตัวใน Super Market และ shopping online ต้องบอกว่า ผลิตที่ไหน ถ้าผลิตที่ออสใช้วัตถุดิบนำเข้ากี่เปอร์เซ็น ราคาสินค้าทุกตัวเทียบต่อ ml เป็นเท่าไหร่ ผูับริโภคจะได้เปรียบเทียบทั้งคุณภาพและปริมาณ สินค้า สินค้าอะไรที่เป็น Aussie Own จะProud มากและอยู่ได้ คนออสซี่จะเลือกซื้อก่อนเลย รัฐบาลควรสนับสนุนให้ไทยมีแบรนแข่งกันในประเทศ พวหสินอุปโภค บริโภค สินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า ถ้าของมันวางขายแล้วกว่าเพื่อนบ้าน 5 บาท 10บาท เราก็จะซื้อของที่ผลิตในไทย แบรนไทย ช่วยให้คนไทยมีงาน แต่ตอนนี้น้อย ตอนนี้อาจจะคือโอกาสของคนไทย เราต้องเพิ่งตัวเอง หมดยุคความคิดที่ว่าของนอกดีกว่าของไทยได้แล้ว ควรจะเป็นของไทยคืองานคนไทย ออสเตรเลียก็ไม่เคยล้มตั้งแต่เจอเรื่องวิกฤตต้มยำกุ้งและโควิด เขามีแร่ลิเที่ยม ทรัพยากรมากมายเขาก็เก็บไว้ เขาเน้นพัฒนาคนสุดๆ เขาถึงรอด
@citizenlovedevelopment
@citizenlovedevelopment Жыл бұрын
ฝน โลกร้อน แตกต่างจาก ฝน ปกติ อย่างไร คือ ฝน โลกร้อน นั้น คือ ปัจจัย แดด+ก็าชจากรถยนต์และบางโรงงานอุตสาหกรรม(ก๊าซเลียนกระจก ผลจาก 2 สิ่งคือ แดดส่องมาปกติ แล้วสะท้อนแสงออกพร้อมความร้อน แต่ ก็าชบังไว้ จนเก็บความร้อนไว้ นั้นแหละ ปฏิกิริยาต่อน้ำ หรือเกิดฝน คือ ฝนปกติ แดด ส่อง ต้มน้ำทะเลและแผ่นดิน เกิดเป็นไอน้ำ แล้วไอน้ำที่ โลกด้านที่โดนส่อง ไอน้ำเป็นโมลิกุล เบารอยหรือยกตัวขึ้น แล้วดึงอากาศอีกด้านหนึ่งที่ไม่โดนแดดไหลมาแทนที่ จึงเกิดเป็นลมหลายระดับ แล้ว ไอน้ำตัวน้อยๆ รอยจนถึงเพดานชั้นบรรยากาศด้านบนซึ่งแรงกดอากาศ ทำให้มันรวมกัน จนหนักพอที่มันรับน้ำหนักไม่ไหม จนตกลงมาเป็นฝนปกติ แต่ ฝน เกิดจากสภาวะเร่งความร้อนจากการบดบังของก็าชทำให้เหมือนเตาอบ แดดส่องมา ก็าชปิดชั้นบรรยากาศไม่ให้ความร้อนสะท้อนออก จึงร้อนแรงและต้ม เร่งเกิดไอน้ำที่มากและเร็วขึ้น ยกตัวเร็วขึ้น เกิดดึงอากาศแทนที่แรงเร็วขึ้น จนเป็นพายุที่แรงมากขึ้น ไอน้ำเยอะและรวมตัวกันมากขึ้นอย่างต่อเนื่องในด้านที่โดนแดดส่อง จำนวนเม็ดฝนผลิตเร็วขึ้น ตกลงมามายกว่า อย่างต่อเนื่อง และมีน้ำเยอะแยะ แม้จะใช้เวลาการตกเท่าฝนปกติ แต่มีน้ำมากกว่านั้นเอง เนื่องจากปัจจัย การเร่งความร้อนจากก๊าชเลียนกระจก นั้นเอง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีไทยพัฒนาวิจัยอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 🙏🙏🙏🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭
@weetang3680
@weetang3680 Жыл бұрын
มีวิธีเอา co2 มาทำกระบวนการย้อนกลับ ให้กลายมาเป็นน้ำมัน ได้มั๊ย ถ้าทำได้ก็ไม่จำเป็นต้องทำccsหรือพัฒนาาแบตเตอรี่ เอาพลังงานจากsolarcellหรือใช้พลังงานจากปฎิกริยานิวเคลียร์มาทำปฎิกริยาย้อนกลับ ได้น้ำมัน อาจจะไม่คุ้ม แต่carbon credit น่าจะได้เยอะ
@OnawevolO
@OnawevolO Жыл бұрын
ทำไม คนละฟีลกะคุยกะนายิาร์มเลยครับ
@tanapol3s
@tanapol3s Жыл бұрын
ช้าง 1 ตัว 4 ตัน ผมติด solar 5kw ลองคำนวณดูได้ประมาณ 6-7 ตันต่อปีนะพอแหล่ะเดี๋ยวกะเพิ่มกำลังการผลิตด้วย
@user-hx4lu4pg7o
@user-hx4lu4pg7o Жыл бұрын
📚.....👍👍 🤔☀️🔥🌪️ร้อน, แรง​,.. คือธรรมชาติ มองจักรวาล​ แล้วมอง🌍 🤔☀️🔥🌪️⚡? 🌍⚡? 🌪️☀️🔥.. 🤔" 🤔" 🙂
@onyourdemocracyhead8659
@onyourdemocracyhead8659 Жыл бұрын
มันต้องปลูกต้นไม้ที่ใช้ประโยชน์ได้เช่นปลูกต้นไม้แบ่งเพื่อชุมชนยูคาหรือมะขามตามถนนเนี่ยคือต้องไม้เหนียวหน่อยก็มะขามแต่ชนบทลมไม่แรงจุดไหนที่ลมไม่แรงที่ภูเขาก็ปลูกยูคาได้ แต่ถ้ามีอุบัติเหตุก็ปลูกต้นกล้วยรับแรงกระแทก ก็เป็นป่าเหมือนกัน ต้นกล้วยไผ่เหล่านี้สามารถจะรับแรงกระแทกได้พอสมควร ไทยเล็กใส่น้ำเต้าอะไรพวกนี้หรืออะไรที่มันไม่แหลมคม ส่วนฝั่งที่ทางตรงหรือฝั่งที่มันไม่ได้ใช้ประโยชน์อาจจะปลูกแล้วตัดเร็วขึ้นเช่นยูคาปลูก 3 ปีตัดแล้วก็ตัดทุก 2 ปีตัดเรื่อยๆเอาไม้ไปใช้ประโยชน์ ที่การรถไฟที่ไม่ใช้ประโยชน์ปลูกยูคานรถตัดจะแบ่งให้วัดหรือชาวบ้านไม่เผาศพเผาปรุงอาหารอะไรก็ได้ โดยพื้นที่ทุกแปลงที่ไม่ได้ทำอะไรจะต้องปลูกต้นไม้เช่นยูคาเป็นต้น ปลูกไม้มงคลไม้ต่างๆก็ดีเพราะเลี้ยงเนื้อเยื่อแจกเลยเช่นพยุงหินพยุงแท้ตะเคียนหินตะเคียนแท้ตะเคียนทอง ตะเคียนทองเน้นไปปลูกจำวัดก็ได้สถานที่ราชการก็ดี เพราะเนื้อเยื่อแจกเลยไม้มาลงเมล็ดอะไรก็ เอาแต่พูดแต่ไม่มีของแจกไม่มีของฟรีแล้วมีตัวแบบฟอร์มคู่มือในการไปขอค้อนสำหรับการโค่นการตอกโค้ดค้อนต่างๆ ควรที่จะมีระบบแนะนำในการจดแจ้งการปลูกการตัด และการไปรับต้นพันธุ์การสั่งจองต้นพันธุ์ทำให้ครบวงจร ถ้าปลูกต้นไม้ริมทางแล้วมันไม่แข็งมากเช่นยูคาตัดเพื่อไปทำไม้ใช้สอยต้นไม่ใหญ่มากก็น่าจะไม่อันตรายต่อคนขับขี่รถชนก็ไม่เป็นไรมากเช่นรถกระบะชนหรือว่ารถบรรทุกเข้าไปชนก็เบรกช่วย support การได้กันได้อยู่ ส่วนที่ติดกับสายไฟก็ควรจะปลูกต้นกล้วยไม่ใช่ต้นไม้อื่นที่มันสูงเกินไป กล้วยหอมเตี้ยกล้วยต่างๆเพิ่มพื้นที่รับคาร์บอน ต้องไม่ปิดบังวิสัยทัศน์ของการขับขี่ เช่นพืชสมุนไพรตะไคร้ข่าฟ้าทะลายโจรอะไรประมาณนี้ โดยเทศบาลทั้งหมดสามารถที่จะใช้พลาสติกคลุมและปลูกพืชเหล่านี้ได้เลยพวกฟ้าทะลายโจรขิงข่าตะไคร้ริมทาง หากใครเก็บก็ไม่ถือว่าเป็นการลักทรัพย์ถ้าไม่เกิน 1 กิโลกรัมไม่เกิน 5 กิโลกรัมอะไรประมาณนี้ไม่ถือว่าลักทรัพย์ มีพืชที่สามารถปลูกแล้วไม่ไปรบกวนวิสัยทัศน์ได้นอกจากหญ้าทั่วไปก็มีอยู่แล้วพวกข่าตะไคร้ขิงฟ้าทะลายโจร เพิ่มพื้นที่ป่าก็สามารถทำได้อยู่แล้ว
@tanadreamthong
@tanadreamthong Жыл бұрын
คนผู้หญิงพูดเหมือนร่างกาย​ไม่แข็งแรง​
@gkrchannel
@gkrchannel Жыл бұрын
ภาพในหัวผมคือ ผมยืนอยู่บนพื้นมองขึ้นฟ้า เห็นช้างลอยอยู่บนฟ้าเป็นพันๆตัว แล้วตู้มมม! กลายเป็นคาร์บอน สยองอยู่นะ 5555 😫
@EE-hc4jl
@EE-hc4jl Жыл бұрын
กว่าจะสำเร็จยาก มันต้องสามัคคีร่วมมือทั้งโลก เอาแค่เรื่องยูเครนยังทะเลาะกันไม่จบเลย
@user-iw4fz8zi1n
@user-iw4fz8zi1n Жыл бұрын
เอา คาร์บอน มารียูส ไม่ได้เหรอ เหมือนขยะที่กลับมาใช้
@WeThap
@WeThap Жыл бұрын
ตรงไปตรงมาก็คือ ยังไม่เชิงพาณิชย์อ่ะ แพงงง
@sithichaijulmaneeratanakul7743
@sithichaijulmaneeratanakul7743 Жыл бұрын
@pannatatjuthasmith239
@pannatatjuthasmith239 Жыл бұрын
ถ้าจะหาว่า ประเทศไทยปล่อย คาร์บอนมาก ทำไม ไม่ย้อนไปดูกพวกฝรั่ง ตั้งแต่ ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ที่ใช้ทรัพยากรโลก และ เผาผลาญพลังงาน นำไปสู่การปล่อยมลพิษ อย่างมโหฬาร ตั้งแต่อดีต มาถึงปัจจุบันบ้าง
@citizenlovedevelopment
@citizenlovedevelopment Жыл бұрын
ไทยต้องมีสิ่งนี้ถ้าจะพัฒนานวัตกรรมไทยถึงจุดสุดยอด🙏🌎🌎🌎🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭
@user-jr5qi4wp2i
@user-jr5qi4wp2i Жыл бұрын
สวัสดีครับอาจารณ์ทุกคนสังเกตครับกาสเรือนกระจกดูจากนำ้ฝนตกนำ้จะเสียทันทีจะไม่มีแสงลงมาบำบัดเติมที่ทำให้นำ้เน่าเชื่อโรคเติมโตเร็วจะใงดีครับความรู้ผมน้อยครับ
@RangsantBandhukul
@RangsantBandhukul Жыл бұрын
ประเทศกำลังพัฒนาและด้อยพัฒนาจะเสียเปรียบเพราะระบบไม่เป็นมาตรฐานและขาดความรู้ความเข้าใจจะเสียเปรียบเทียบในขีดความสามารถในการแข่งขันเพราะต้องเสียภาษีคาร์บอนเครดิตในการส่งออกนำเข้าสินค้าและขาดแคลนเงินจากการลงทุนในต่างประเทศทำให้ประเทศและประชาชนยากจนและยากลำบากมากขึ้นไม่มีทางพ้นกับดักแห่งความยากจนได้
@standalone2021
@standalone2021 Жыл бұрын
🎯ขอบคุณมากครับผม🪝
ШЕЛБИЛАР | bayGUYS
24:45
bayGUYS
Рет қаралды 521 М.
didn't want to let me in #tiktok
00:20
Анастасия Тарасова
Рет қаралды 6 МЛН
蜘蛛侠这操作也太坏了吧#蜘蛛侠#超人#超凡蜘蛛
00:47
超凡蜘蛛
Рет қаралды 46 МЛН
МАШИНАДА МАГАЗИН АШТЫЫЫҚ😱🍭🍡🍬🧃🧁🍿🧋🍕🍟🍔
14:27
КОПЖАСАРОВЫ БЛОГГЕР
Рет қаралды 238 М.
原来这是黑天使的求救信号。#天使 #小丑 #超人不会飞
0:33
Mom doesn't allow large chocolate spread
0:10
Super Max
Рет қаралды 14 МЛН
Оживила Дерево 🤯
0:41
MovieLuvsky
Рет қаралды 4,4 МЛН