การค้นพบนิวเคลียร์ สู่ต้นแบบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกของโลก (Part1/3) | 8 Minute History EP.155

  Рет қаралды 840,697

THE STANDARD PODCAST

THE STANDARD PODCAST

Күн бұрын

เอพิโสดนี้จะพูดถึงวิวัฒนาการของพลังงานนิวเคลียร์ วิทยาการฟิสิกส์นิวเคลียร์ ที่ถูกพัฒนาทั้งในแง่ของแหล่งพลังงาน การกำเนิดต้นแบบการผลิตไฟฟ้าจากโรงงานนิวเคลียร์แห่งแรกของโลก หรือ Chicago Pile One ถือเป็นอรุณแห่งการพัฒนาโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศพัฒนาแล้ว ก่อนจะถูกพัฒนาต่อไปเป็นอาวุธที่มีอานุภาพการทำลายล้างสูงที่สุดที่โลกใบนี้เคยเจอมา เรื่องราวของประวัติศาสตร์การค้นพบนิวเคลียร์จะเป็นอย่างไร ติดตามได้ในเอพิโสดนี้
Time Index
00:00 Introduce
02:41 วิวัฒนาการปรมาณู
09:21 การค้นพบนิวเคลียส
16:33 ปฏิกิริยา Nuclear Fission
20:26 สหรัฐฯ กับการสร้างเตาปฏิกรณ์ปรมาณู
---------------
ติดตาม 8 Minute History ในช่องทางต่างๆ
Apple Podcasts: apple.co/3cfxNjL
Spotify: spoti.fi/3ejXUsM
Website: thestandard.co/podcast_channe...
SoundCloud: bit.ly/8minutes-history
#นิวเคลียร์ #8minutehistory #TheStandardPodcast #TheStandardco #TheStandardth #ประวัติศาสตร์

Пікірлер: 446
@TheStandardPodcast
@TheStandardPodcast Жыл бұрын
สามารถรับชม Part 2/3 ได้ที่ ▶kzbin.info/www/bejne/e4a2Zn9rqMR2ba8 และ Part 3/3 คลิกดูกันได้เลย 👉🏻 kzbin.info/www/bejne/gma8mKqDiZp4rqc
@toy5234
@toy5234 Жыл бұрын
Top with remaining in my life and my family is so cute in his life to live there now so I'll have my number one priority in the world and you know that I'm going to the hospital W I have no money to get the chance of getting the hang of the day before yesterday I had the same way as I was going to bed now and then you have any idea when I got a little bit ago I got a little bit ago I got a little bit ago I got a little bit ago I was just thinking of you and the other day and night and sweet and I will be in a while back I would be
@toy5234
@toy5234 Жыл бұрын
Top with remaining in the world is a little bit of a good day to day basis and then you can do it again soon as possible and again in the middle and the rest are just so I have no clue what I'm saying I love it so I can get a new job and a few minutes late and I have no clue where it is not the only thing is that the one who can I call you later today to see the movie and I don't want you here for a
@toy5234
@toy5234 Жыл бұрын
Ur a dork I don't have a good day today so I'm not going anywhere else but me being the first place I was just a bit of a sudden he is not a problem at all the way to go back and I don't know what to do it again and again and again and again and again and toy for the day before yesterday and today I was in my life and the rest is up with you and I will try and find a job and I will be there in
@toy5234
@toy5234 Жыл бұрын
E I have to go to the gym and then I will be there for me to come over and over again and again and again and again and again and again f you have any idea how much you mean by this time I get a hold of me and my mom said you were going out to the gym and I will try my hand at making
@toy5234
@toy5234 Жыл бұрын
Everything will go with you and I don't think you can get a hold on to my place and time to get the chance that I can get a hold on to my place and time to get the chance that I can get a hold on to it as much of it all out for you and I will try to get it to the store and buy the book of life in general I have a great day today so I don't want you so very much and you are a little bit ago I got a little bit of time to do that to happen again for a few weeks ago I was in the middle of the year and I have a nice day and night with you guys have to go out and about the whole thing was the
@DeptalJexus
@DeptalJexus Жыл бұрын
ก็คือถ้ามองในมุมมลพิษ โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์สร้างผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด แทบเป็น 0 แถมได้พลังงานมหาศาล แต่ก็ต้องยอมรับข้อเสียอย่างเดียว คือถ้ามันเกิดควบคุมไม่อยู่ จากพลังงานสะอาด จะกลายเป็นหายนะ
@Chanon29
@Chanon29 Жыл бұрын
เยอะพอตัวอยู่ครับ
@Sittivaekin
@Sittivaekin Жыл бұрын
อีก 2 Episode ถัดไป เป็นตอนโศกนาฏกรรมทั้ง Chernobyl 1986 และ Fukushima Daichi 2011 ที่ต่างก็เป็นบทเรียนที่มีค่าในการพัฒนาความปลอดภัย มากขึ้นเรื่อยๆด้วยครับ
@phuthongbenz
@phuthongbenz Жыл бұрын
แร่ที่ใช้ก็ต้องขุดมาเหมือนกัน แถมขุดลึกมากด้วย ก็ทำลายสิ่งแวดล้อมเหมือนกัน
@user-oi3jk4qo9j
@user-oi3jk4qo9j Жыл бұрын
สำหรับผมพลังงานนิวเคลียร์คือทางเดียวเดียวของมนุษยชาติถ้าน้ำมันหมดพวกพลังงานสะอาดพวกนั่นมันให้พลังงานน้อยเกินไปต่อความต้องการของมนุษย์
@palmsutthinan8781
@palmsutthinan8781 Жыл бұрын
จริงครับ เพราะในกระบวนการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้านิวเคลีย คือการให้ธาตุกัมมันตรังสี คายพลังงานออกมาในรูปของความร้อน เพื่อต้มน้ำให้เกิดไอน้ำ แล้วจึงเอาไอน้ำไปปั่นมอเตอร์ปั่นไฟต่อ(เรามักจะเห็นว่าตามโรงงานไฟฟ้านิวเคลีย จะมีปล่องควันใหญ่ๆ แล้วมีควันขาวๆออกมาตลอด อันนั้นแหละครับ คือไอน้ำที่ได้จากการต้มน้ำ) ในกระบวนการทั้งหมด ของเสียอย่างเดียวที่ได้ก็คือ น้ำ ในรูปแก๊ส ซึ่งนั่นไม่นับว่ามลพิษด้วยซ้ำ แต่ตัวธาตุกัมมันตรังสี ชื่อก็บอกแล้วครับว่าก่อรังสีแน่นอน ถ้าเกิดควบคุมมันไม่ได้ มันก็คือระเบิดเวลาที่อันตรายมากกว่าระเบิดนิวเคลียร์ด้วยซ้ำ เพราะมันไม่ได้ฆ่าเราทันที แต่มันจะฆ่าเราอย่างช้าๆ และจะค่อยๆฆ่าสิ่งรอบตัวมันไปอย่างนั้นเป็น สิบหรือเป็นหมื่นปีเลย อย่างเหตุการณ์ที่ Chernobyl วิธีแก้ที่ยูเครนทำ คือการเอาโดมขนาดใหญ่ครอบตัวโรงงานไว้ เพื่อไม่ให้รังสีแพร่ออกมา ซึ่ง ยันทุกวันนี้ ตัวโรงงานเอง ก็ยังแพร่รังสีออกมาในปริมาณที่เข้มข้นอยู่เลย ทั้งที่ผ่านมาแล้วเป็นสิบปี
@bankkitz1341
@bankkitz1341 Жыл бұрын
จิตวิทยามนุษย์ มักกลัวอะไรที่มันเชิงรูปธรรมมากๆ จริงโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มันปลอดภัยมากๆ โดยไม่ตระหนักว่าพลังงานฟอสซิลทำให้เสียมูลค่าทางชีวิต สภาพแวดล้อมเศรษฐกิจเป็นล้านๆ คนเรามักกลัว ฉลาม เสือ แต่ปีๆหนึ่งคนตายเพราะสิ่งนี้ไม่ถึงร้อย แต่ตายเพราะยุงเป็นแสนๆ
@user-bq2ep9ye7f
@user-bq2ep9ye7f Жыл бұрын
ต่อไห้นิวเคลียร์จะอันตรายแค่ไหน ต่อไปในภายภาคหน้า มนุษย์จะหันกลับไปใช้พลังงานนิวเคลียร์อยู่ดี และมากกว่าเดิมด้วย เพราะมนุษย์ ไม่เคยที่จะยอมลำบาก ต่อไห้อันตรายแค่ไหน มันก็ต้องใช้
@saifreeverse2743
@saifreeverse2743 Жыл бұрын
โลกเราคือระเบิดลูกหนึ่ง ที่มีมนุษย์เป็นทั้งนิวตรอน ยูเรเนียม แล้วมาชนกันก็คือผลิตลูกออกมาทั้งนิวตรอนและยูเรเนียมก็ทั้ง หญิงและชาย นั้นแหละ เมื่อมนุษย์มากขึ้นมากขึ้น มันก็สร้างความร้อนให้กับโลกมากจนไม่มีที่กักเก็บ สุดท้ายก็ระเบิด
@nevijb2412
@nevijb2412 Жыл бұрын
ฟังสนุก เข้าใจง่าย และ ถ่ายทอดความรู้เกียวกับนิวเคลียร์ เบื้องต้นได้ดีมากเลยครับเฮีย ทำให้รู้เลยว่าเฮียและทีมงานหลังบ้านหาข้อมูจมาดีมาก รอฟัง part ต่อไปอยู่นะครับ//เป็นกำลังใจให้ทีมงาน และ รอติดตามผลงานดีๆอยู่เสมอจาก FC ที่เป็นลาวคนหนื่งครับ
@user-pe9vy4qe8g
@user-pe9vy4qe8g Жыл бұрын
คนที่คิดค้นขึ้นมาได้ ฉลาดสุดๆไปเลย
@bunton7217
@bunton7217 Жыл бұрын
เรียบเรียงได้ดี,อธิบายเข้าใจง่าย,ถูกต้องตาม ประวัติศาสตร์ สุดยอดครับ. (และที่สำคัญ ไม่มี สูตร E=mc^2 มาเกี่ยวด้วย.)
@mitibumnanpol7963
@mitibumnanpol7963 Жыл бұрын
ชอบที่ดร.ใช้ศัพท์ภาษาเยอรมันด้วย ไม่รู้ว่าพูดถูกหรือผิดแต่ accent ดีมากครับ👍
@Hate_The_Feudal_System
@Hate_The_Feudal_System Жыл бұрын
ผมทำงานที่โรงไฟฟ้าโซล่าเซล แต่ผมสนับสนุนให้มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มากกว่า
@thanawatphumchat2578
@thanawatphumchat2578 9 ай бұрын
โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ไม่ได้น่ากลัว คนต่างหากที่น่ากลัว
@user-fq5bw9kq3m
@user-fq5bw9kq3m Жыл бұрын
ชอบ.ด.ร.วิทย์พูดชัดเจนรวดเร็วไม่มีติดขัด.ชอบๆ
@MrDookDik
@MrDookDik Жыл бұрын
การสร้างไฟฟ้ามันคือการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กครับ (ไดนาโม) หลักๆ คือหาอะไรที่มาหมุนไดนาโมโดยที่เราไม่เปลืองแรง จนมาพบว่าไอน้ำนี่แหละ แรงดันสูงมาก และมากพอที่หมุนไดนาโมได้สบายๆ และสามารถนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ได้ ปัญหาต่อมาคือ จะใช้อะไรมาต้มน้ำให้ได้ไอน้ำตลอดเวลาล่ะ ก็เลยหาเชื้อเพลิงสารพัดมาทำให้น้ำเดือดเพื่อใช้ไอน้ำมาหมุนไดนาโม แร่กัมมันตภาพรังสีคือหนึ่งในแหล่งที่ถูกเลือก เพราะมันปล่อยความร้อนสูงออกมาเพื่อต้มน้ำเป็นระยะเวลานานๆ ได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนเชื้อเพลิงบ่อยๆ และใช้ไม่เยอะ
@fawfawfwafawfwafw9679
@fawfawfwafawfwafw9679 Жыл бұрын
มันให้พลังงานสูงมาก พวกเรือขนเครื่องบินพลังงานนิวเคลียร์เติมเชื้อเพลิงทีแล่นได้อ้อมโลกเป็นสิบรอบ
@Thipnaree1999
@Thipnaree1999 Жыл бұрын
ความรู้เต็มๆแบบเข้าใจง่ายรวมถึงประวัติศาสน์ทางวิทยาศาสตร์ ขอบคุณมากครับ ผมขะนำไปสอน นักเรียนต่อไปจากวีดีโอนี้❤️❤️❤️
@orrawanaqueous5038
@orrawanaqueous5038 Жыл бұрын
สนุกมากเลยค่ะ ฟังไม่เบื่อได้ความรู้ค่ะ ขอบคุณ​ค่ะ​🙏
@belralowenstyle4217
@belralowenstyle4217 Жыл бұрын
ชอบมาก ฟังเพลิน เข้าใจง่าย
@SuphachaiMuangsong
@SuphachaiMuangsong Жыл бұрын
สรุป ได้ ยอดเลยครับ ฟังสนุก ครับ ได้ รู้จัก คนสำคัญ อีกหลายคน ถ้ามีโอกาส อยาก ฟังเรื่องของ Oppenheimer ขอบคุณครับ
@bbaibua_
@bbaibua_ 8 ай бұрын
ฟังเพลินมากค่ะ ย่อยง่ายสุด ๆ
@hjrtg1042
@hjrtg1042 Жыл бұрын
ชอบบบบ ความรู้แบบนี้ อธิบายคร่าวๆง่ายๆดีครับ 😊😊😊
@Kantawandeesongkramcanim
@Kantawandeesongkramcanim Жыл бұрын
ขอบคุณค่าฟังแล้วเข้าใจ ขึ้นเยอะเลย ทำแนวนี้มาอีกน่ะค่ะ
@somsaksukata7882
@somsaksukata7882 Жыл бұрын
ชัดเจนฟังเข้าใจง่ายดีครับ
@proae2491
@proae2491 Жыл бұрын
ชัดเจนที่สุด👍
@suwinaiutorn8360
@suwinaiutorn8360 Жыл бұрын
กระสวยอวกาศไม่ได้ใช้เชื้อเพลิงนิวเครียนะครับแต่ใช้เคมีเหลว
@torng3040
@torng3040 Жыл бұрын
ได้ความรู้มากขอบคุณครับ
@Aem_88
@Aem_88 Жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@champpawang2139
@champpawang2139 Жыл бұрын
ยุคนั้นอังกฤษคิดค้นทั้งนิวเคลียร์และเรด้า สุดๆเลย
@jiramatejongnimitpaiboon677
@jiramatejongnimitpaiboon677 Жыл бұрын
ฟังสนุกดี ได้ความรู้ด้วยครับ
@mudmaster9965
@mudmaster9965 Жыл бұрын
ฟังครั้งแรก ชอบมากกกกก ประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจที่สุดในชีวิต
@fthvf7862
@fthvf7862 Жыл бұрын
สุดยอดรายการที่ติดตาม
@user-hz2wi1lk1v
@user-hz2wi1lk1v Жыл бұрын
ความรู้จริงๆครับ♥️♥️
@user-qi1wn7pl6q
@user-qi1wn7pl6q Жыл бұрын
ลึกลับแต่อธิบายเข้าใจง่ายมาก
@user-yn7ye2tu7v
@user-yn7ye2tu7v Жыл бұрын
มีประโยชน์ แต่อันตราย
@nuttawootsrisawath1668
@nuttawootsrisawath1668 Жыл бұрын
สื่ออันทรงคุณค่าของประเทศเรา ขอบคุณ The standard
@tonysteelsome8095
@tonysteelsome8095 Жыл бұрын
ไทม์ไลน์เฮียคลาดเคลื่อนนิดนึงนะครับ จริง ๆ รัทเธอร์ฟอร์ดตั้งชื่ออนุภาค alpha beta gamma ตั้งแต่ปี 1899 แล้วครับ โดยใช้สนามแม่เหล็ก แต่การทดลองเรื่อง Gold foil (ปี 1907) ไม่ได้เกี่ยวกับตัวฟิสิกส์นิวเคลียร์โดยตรงเท่าไหร่ครับ จริง ๆ แกเป็นบิดาของฟิสิกส์อะตอมมากกว่า เพราะก่อนหน้านั้น ดาลตันบอกว่า อะตอมเป็นก้อนกลม ไม่มีประจุ ต่อมาทอมสันบอกว่าอะตอมมีประจุบวกกับลบพอ ๆ กัน กระจายทั่วทั้งอะตอม ทำให้มันไม่มีประจุ งานของรัทเธอร์ฟอร์ด เป็นการพิสูจน์ให้เห็นว่าอะตอมมันมีลักษณะแบบที่(คล้าย)​กับทุกวันนี้ เราจึงเรียกรัทเธอร์ฟอร์ดว่าเป็น บิดาของฟิสิกส์อะตอม ครับ คนที่ควรได้รับการขนานนามจริง ๆ ไม่ใช่บิดาแต่เป็นมารดา ก็คือมาดามคูรีมากกว่าครับ แต่ด้วยความเป็นผู้หญิงสมัยนั้นยากมากที่คนจะยอมรับ ส่วนถ้าเป็นฟิชชั่นก็คือ Otto Hahn กับ Lise Meitner ครับ จริง ๆ Lise ไม่ได้มีเชื้อสายสวีดิชนะครับ แค่ลี้ภัยมา แต่เป็นคนวางรากฐานฟิสิกส์นิวเคลียร์ให้แถบสแกนดิเนเวียเลยครับ
@TheStandardPodcast
@TheStandardPodcast Жыл бұрын
ขอบพระคุณและขออภัยด้วยนะคะ 🙏
@cruzx1442
@cruzx1442 Жыл бұрын
อันนี้ข้อมูลจากไหนครับ อยากอ่าน😊 มีความสนใจอยากเรียนวิศวกรรมนิวเคลียร์ที่จุฬา อยากลองศึกษาดูเผื่อจะได้รู้ว่าตัวเองสนใจจริงๆไหม
@cruzx1442
@cruzx1442 Жыл бұрын
พึ่งรู้นะเนี่ยว่ามาดามคูรีเป็นมารดาฟิสิกส์อะตอมเพราะผลงานเขาก็ถือว่าเป็นการยอมรับอยู่นิได้โนเบลตั้ง2สาขาในสมัยนั้น ถ้าเป็นเรื่องรังสีอะพอเข้าใจ ผมก็สนใจเขาอยู่พอควรเพราะเขาตายวันที่เดียวกับที่ผมเกิด วันเดียวกันเดือนเดียวกันแค่คนละปี แถมน่าจะเป็นผู้หญิงคนเดียวด้วยมั้งที่ได้รางวัลโนเบล ฟิสิกส์-เคมี
@BeenDeePm
@BeenDeePm Жыл бұрын
ในหนังสือหลายเล่ม ยกให้รัทเทอร์ฟอร์ด เป็นบิดาฟิสิกส์นิวเคลียร์น่ะ
@etc5461
@etc5461 Жыл бұрын
อ่านหนังสือสือ นักวิชาการอังกฤษมากเกินไป 20sในอีเบมีขายสมัย19ปีที่แล้วผมชื้อมาอ่าน
@chalermsrisinghachayanon9857
@chalermsrisinghachayanon9857 Жыл бұрын
ติดตามฟังคุณวิทย์​ทุกคลิปทุกรายการค่ะ​ ฟังเข้าใจง่าย​และสนุก​ ได้ความรู้
@suriyaphimkhon7238
@suriyaphimkhon7238 11 ай бұрын
พี่เล่าได้มันส์มาก สนุกมากครับมีสาระด้วย
@taravilla
@taravilla Жыл бұрын
อยากให้รวบรวมคลิปแต่ละเรื่อง หาทางมอบให้ รร./นักเรียน ได้เรียนรู้การศึกษา ความรู้ขนาดนี้ ใน รร. ไม่มีใครสอนได้หรอก จาก ครูแก่เกษียญ
@0LittleChild0
@0LittleChild0 Жыл бұрын
เกษียณ ไม่ใช่ เกษียญ
@banditjaiyen8700
@banditjaiyen8700 Жыл бұрын
เอาไปเปิดให้นักเรียนฟังก้อได้เนาะ เวลา คาบว่างๆ หรือ ครูไม่ว่าง น่าสนใจครับ
@Diin1232
@Diin1232 Жыл бұрын
ผมว่ามันก็ดี แต่ต้องดูเด็กๆด้วยว่าจะตอบสนองต่อสื่อที่มีความซับซ้อนขนาดนี้ได้มั๊ย
@user-kv5jh5rk1d
@user-kv5jh5rk1d Жыл бұрын
ก็เปิด KZbin ให้ดูสิ ไม่เห็นต้องรวบรวมอะไร เป็นหน้าที่อาจารย์รึป่าวครับ
@WeR-hx8su
@WeR-hx8su Жыл бұрын
ชอบคุณครับอาจารย์
@phongsaksarapat8425
@phongsaksarapat8425 Жыл бұрын
ถ้ามีแบบนี้ตั้งเเต่ สมัยเรียนนี้ฟังเพลินเลยครับ
@kingkarnlaohathai4601
@kingkarnlaohathai4601 Жыл бұрын
อย่างไรก็ตามความรู้คือความรู้ ขอบคุณ ผลงานของเรนโตเกรน(สองสามีภรรยาโปแลนด์) ในส่วนที่เกี่ยวกับยียนส์ ถูกนักวิจัยเข้ามาเจี้ยวๆ จนได้เป็นผู้พบแทน
@monhkyclub
@monhkyclub Жыл бұрын
สุดยอดมากในข้อมูลครับ
@plawan00021
@plawan00021 10 ай бұрын
ทำนิวเตลียร์ฟิวชั่นต่อเลยครับ เพราะมันตืออนาคตของพลังงานโลก
@user-ni5tl5bw2v
@user-ni5tl5bw2v Жыл бұрын
เก่งมากครับอาจารย์ชอบดูชัดเจนชอบฟัง สุดยอดครับ
@user-nm8oq3kh5y
@user-nm8oq3kh5y Жыл бұрын
ออ พอเข้าใจแล้ว ขอบคุณครับที่แนะนำเสนอมา ประเทศไทยจงเจริญ จงเจริญด้วยพลังนิวเคลียร์ที่ยอดเยี่ยม เดินได้ 🤗
@m2s845
@m2s845 Жыл бұрын
ชอบมากครับ
@user-dr5jb2sy8s
@user-dr5jb2sy8s Жыл бұрын
ชอบคลิปนี้มากๆครับ อธิบายได้ชัดเจนสุดๆ
@DIN-GOD-OF-ARTIST
@DIN-GOD-OF-ARTIST Жыл бұрын
ฟังสนุกมากถึงแม้ว่าเขาอธิบายเรื่องนิวเคลียร์ดีแค่ไหนหน้าที่ของเราคือไม่เข้าใจและสนุกไปกับมัน 😆🤣
@mukpronatikunakornwong8327
@mukpronatikunakornwong8327 Жыл бұрын
อิจฉาเด็กสมัยนี้ ถ้าดูคลิปอาจารย์แล้ว เวลาเข้าห้องเรียนนี้สบายๆเลย
@mintphanphuet9667
@mintphanphuet9667 Жыл бұрын
จริงค่ะ สมัยเรียนตอนนั้นยูทูปกำลังเริ่มเป็นที่นิยมยังไม่มีใครทำช่องแนวนี้เรย 😊😊
@vanhdalayphommachanh9234
@vanhdalayphommachanh9234 Жыл бұрын
สนุกมาก
@user-bu9um1rn6f
@user-bu9um1rn6f Жыл бұрын
ชอบตอนนี้มากคับ
@omg2371
@omg2371 Жыл бұрын
ม่ายน้าาาา เพิ่งสอบเคมีไปเมื่อหลายสัปดาห์ที่แล้ว ถ้าคลิปนี้มาก่อนผมสอบ ผมต้องทำข้อสอบได้แน่ 😭😭😭😭😭😭😭 คลิปนี้มีสาระมากครับ เข้าใจง่ายมากครับ
@stockhavebeen6429
@stockhavebeen6429 Жыл бұрын
ถึงมาช้า แต่ก็ดีกว่าไม่มาน่ะคับ
@hesanacs1110
@hesanacs1110 Жыл бұрын
ถ้ามีโอกาสรบกวนทำเกี่ยวกับขีปนาวุธนำวิถีคิวบาหน่อยครับ ขอบคุณครับ
@thewar8343
@thewar8343 Жыл бұрын
ช่องดีๆแบบนี้ต้องล้านซับแล้วครับ
@dfefedfefefef6307
@dfefedfefefef6307 Жыл бұрын
เฮียวิท มืออาชีพมากครับ ขอชม
@supanutthongtep423
@supanutthongtep423 Жыл бұрын
very good
@user-fg6nv4iv7p
@user-fg6nv4iv7p Жыл бұрын
กากนิวเคลียร์ที่เหลือมันยากจะกำจัดและใช้ทุนสูงมากในการเก็บ
@user-ei6np8yj1i
@user-ei6np8yj1i Жыл бұрын
ขอขอบคุณสำหรับการค้นพบอลังการ 👍 💖
@masunoE
@masunoE Жыл бұрын
เห็นได้ชัดถึงประโยคที่ว่า เหรียญมีสองด้าน
@J.N.Jayend
@J.N.Jayend Жыл бұрын
สนุกมากคับ
@mbt9913
@mbt9913 Жыл бұрын
อย่างฟังประวัติการทำฝนเทียมขอแบบ official version น่ะครับ ฟังแต่ copy version มาตลอด
@takemehomecoutryroad469
@takemehomecoutryroad469 Жыл бұрын
เฮียเจ๋งมากๆ
@evet.2384
@evet.2384 Жыл бұрын
ฟังสนุกและเข้าใจง่ายมากๆค่ะ สำหรับคนเรียนภาษาเยอรมันยิ่งตื่นเต้นใหญ่เลยที่ได้ยินภาษาเยอรมันในคลิปนี้ค่ะ
@dujoohgfegji7140
@dujoohgfegji7140 Жыл бұрын
ว่าวเฮียวิทย์​ความจำดีมาก​เล่าเรื่อง​แบบลื่น​ไม่มีสะดุด​🙏
@baktangmo3412
@baktangmo3412 4 ай бұрын
จะลืมได้ไง แพดวางอยู่ข้างหน้าเครื่องเบ้อเร่อ
@user-gd7vj4ji7w
@user-gd7vj4ji7w Жыл бұрын
เขาเก่งมากครับ
@megatron1214
@megatron1214 Жыл бұрын
สหรัฐต้องขอบคุณฮิตเลอร์ที่ขับไล่นัก วิทยาศาสตร์เก่งๆเหล่านี้มาให้.... 🤓🤓
@baimeekenly1777
@baimeekenly1777 Жыл бұрын
ชาวยิวนี่เก่งจริง
@ibanezibanez2428
@ibanezibanez2428 Жыл бұрын
ขอเรื่องราวอย่างละเอียดของ โรเบิร์ต ออฟเฟิล ไฮเมอร์ ด้วยจ้า เพราะหนังจะเข้าปีหน้าเเล้ว
@monchailalitu-rai9071
@monchailalitu-rai9071 Жыл бұрын
ยังมีขั้นตอนที่ข้ามไปไม่ได้อธิบายว่าพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์เปลี่ยนไปเป็นพลังงานไฟฟ้ายังไง อธิบายตรงนี้เพิ่มผมว่าจะดีมากครับ เพราะคิดว่าคงมีคนที่ยังไม่รู้กันเยอะเข้าใจว่ามันผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าออกมาได้โดยตรง
@olo1234ify
@olo1234ify Жыл бұрын
เมื่อเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ จะเกิดความร้อน เอาพลังงานความร้อนที่ได้ไปต้มน้ำ ได้ไอน้ำ นำไปผ่านเครื่องกำเนิดไฟฟ้าระบบเทอร์ไบน์ หมุนใบพัดแกนเครื่องกำเนิดไฟฟ้าครับ
@user-ym1ky3hp7n
@user-ym1ky3hp7n Жыл бұрын
@@olo1234ify ม
@ongdum1972
@ongdum1972 Жыл бұрын
อยากทราบว่า ดวงอาทิตย์ เทียมเขาทำยังไง และเข้าใกล่ พลังงานฟิวชั่น ยังครับ
@phitthiboysaikhao5070
@phitthiboysaikhao5070 Жыл бұрын
มันนน
@w.s.1557
@w.s.1557 Жыл бұрын
เรียน.ปลายสายวิทย์มาค่ะ​ ทีมงานย่อยเนื้อหาพื้นฐานเรื่องนี้ได้ฟังง่าย​ น่าสนใจไม่น่าเบื่อเลยค่ะ​ เป็นกำลังใจให้และรอติดตามตอนต่อๆไปนะคะ
@user-jt5mx5on5e
@user-jt5mx5on5e Жыл бұрын
ตามคับดอกเตอร์.....
@EngineerThaiGerman
@EngineerThaiGerman Жыл бұрын
So safety
@apechartpantubtim4686
@apechartpantubtim4686 Жыл бұрын
มีตอนต่อไปหรือยังครับ รอติดตามฟัง
@kraimonmaneesilp138
@kraimonmaneesilp138 Жыл бұрын
ถ้าผมจำไม่ผิด Pierre Curie ไม่ใช่คนโปแลนด์นะครับ ท่านเป็นศาตราจารย์อยู่ที่ฝรั่งเศส แต่ Marie Curie เป็นคนโปแลนด์ครับ ผมเคยไปบ้านของ Marie Curie ที่โปแลนด์ ที่ตอนนี้กลายเป็นพิพิธภัณฑ์ของเธอ เรื่องของ 2 คนนี้ เอามาเขียนเป็นนิยายรักในวงการวิทยาศาสตร์ได้เลยครับ คือ Marie Curie เธอเรียนเก่งมากครับ แต่ในโปแลนด์สมัยก่อน ไม่นิยมให้ผู้หญิงเรียนสูง Marie Curie ก็เหมือนกัน เธอถูกบังคับให้แต่งงาน เธอก็เลยหนีมาฝรั่งเศสโดยความช่วยเหลือของอาจารย์ของเธอ แล้วก็ฝากเธอให้เป็นศิษย์ของ Pierre Curie จากนั้นทั้งคู่ก็รักกัน และแต่งงานกันในที่สุด ประเทศฝรั่งเศสในสมัยนั้น แม้จะยอมให้ผู้หญิงเรียนสูงได้ แต่ก็ไม่ค่อยยอมรับความสามารถของผู้หญิงเท่าไหร่ ทำให้งานวิจัยหลายๆงานที่ Marie Curie ทำ ต้องตีพิมพ์ในนามของ Pierre Curie และมีชื่อเธอเป็นผู้วิจัยร่วม ซึ่งในภายหลัง ตัว Pierre Curie ได้ออกมายอมรับเองว่า งานวิจัยเหล่านั้นเป็นของ Marie Curie แต่ใช้ชื่อของเขาเพื่อจะได้ตีพิมพ์ได้ แต่ภายหลังจาก Pierre Curie ตายไป Marie Curie ก็เป็นที่ยอมรับในวงการณ์ฟิสิกส์แล้วครับ โดยเธอก็อยู่ร่วมแก็งกับไอสไตน์ด้วย มีรูปถ่ายร่วมกันหลายปีมาก ตอนที่พวกเขาจัดงานประชุมทางวิชาการด้วยกัน ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 พิพิธภัณฑ์นี้ อยู่ที่กรุงวอร์ซอร์ครับ เป็นตึกแถวอยู่กลางเมืองเก่่าของเค้าเลย ถ้าใครไปโปแลนด์แล้วชอบเรื่องประวัติศาสตร์เชิงวิทยาศาสตร์ แนะนำให้ลองแวะไปครับ
@wanonwat
@wanonwat Жыл бұрын
🎉
@pruankongkerd6287
@pruankongkerd6287 Жыл бұрын
พิพิธภัณฑ์ ครับ(เขียนให้ถูกด้วย)
@kraimonmaneesilp138
@kraimonmaneesilp138 Жыл бұрын
@@pruankongkerd6287 ขอบคุณครับ 😅
@retro9842
@retro9842 Жыл бұрын
เราก็เคยไปนะที่โปรแลนด์ พาน้ำกระท่อมไปให้คนที่นั่นชิม เขาบอกแวรี่กู้ด ผสมสูตรเจ้าไปนิดเขายกนิ้วโป้งให้เลยว่าพวกเขาทำงานดีทำงานเพลินดีกว่ากินเหล้าเบียร์อีกว่า
@user-zk2wc8bg3r
@user-zk2wc8bg3r Жыл бұрын
อยากให้ทำเรื่องธาตไวรเบเมี่ยมครับ
@chenjirayuth6241
@chenjirayuth6241 Жыл бұрын
อยากให้พี่วิทย์เรียง Time line ประวัติศาสตร์มนุษย์ให้หน่อยครับ ผมอยากเห็นภาพกว้างว่าปีนี้เกิดอะไรบ้าง? ไม่ต้องลงรายละเอียดก็ได้ครับ แค่คร่าวๆว่าแต่ละปีมีเหตุการณ์อะไรบ้างจนถึงปัจจุบันครับ ขอบคุณครับ 🙏😁
@bahtdiew6943
@bahtdiew6943 Жыл бұрын
ซับแล้วครับ รักเฮียวิทย์ จากเด็กฮิพฮอพผู้ต้อยต่ำ
@mariomowgow8632
@mariomowgow8632 Жыл бұрын
อยากให้มีหนังเลย น่าสนุก
@tottui15
@tottui15 Жыл бұрын
เป็นพลังงานที่คุ้มมาก แต่เหรียญมี 2 ด้าน
@sekbeats8149
@sekbeats8149 Жыл бұрын
แนะนำหนังเรื่อง เชอโนบิล ครับ
@user-dk6mg1ii2k
@user-dk6mg1ii2k Жыл бұрын
เริ่มสตาร์ทรูปแบบโฟรชาร์จแบ่งแยกไปโดยไม่มีทางตัน จนกว่าจะมาบรรจบสิ้นสุดโดยผลเป็นดี ส่วนพลังไม่ดีให้สะท้อนกลับไปให้ถึงทึ่พ้นภัยไม่กระทบกับระบบสุริยะจักรวาล
@tungpinya
@tungpinya Жыл бұрын
รอทุกคลิปครับ แฟนคลับเฮียวิทย์
@youtoomee9149
@youtoomee9149 Жыл бұрын
พลังงานนิวเคลียร์มีทั้งหมดกี่แบบครับ มีบ้างไหมป้อนพลังงานไป1คายพลังงาน ออกมา3มีความเป็นไปได้ไหม
@CtrlVeve
@CtrlVeve Жыл бұрын
อยากให้อาจารย์สอนภาษาเยอรมัน 101 บ้าง
@user-jr9rm8kz2r
@user-jr9rm8kz2r Жыл бұрын
ใช่ให้ดีก็ดี
@bangonsisay5502
@bangonsisay5502 Жыл бұрын
อ.วิทย์ เกาหลีเหนือเอาสูตรนี้ไหม ไปทำระเบิดนิวเคลียร์
@pattaponnasok2529
@pattaponnasok2529 Жыл бұрын
มักน้ำเสียง
@maranello289
@maranello289 Жыл бұрын
นักฟิสิกส์สมัยก่อนเก่งมากๆจริงๆทั้งๆที่องค์ความรู้มีเพียงน้อยนิดแต่กลับค้นพบสิ่งที่ยิ่งใหญ่ได้ขนาดนี้
@user-mz5vz5bi3b
@user-mz5vz5bi3b Жыл бұрын
ครูวิทย์เก่งมากค่ะชอบมากค่ะได้ความรู้เข้าใจง่ายชัดเจนที่สุดค่ะ
@MACHINE-gd7vj
@MACHINE-gd7vj Жыл бұрын
ฟังเพลินสนุกดีครับได้สาระ (อยากให้เล่าเรื่องยุคตื่นทอง california gold rush 1848 หน่อยครับ🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻)
@user-hv2mu6zp6c
@user-hv2mu6zp6c Жыл бұрын
นาทีที่ 8 น่าสนใจ ที่ว่าฟิล์มถ่ายรูปเปลี่ยนสี ....คือ ถ้าคนไม่มีความรู้ที่เกี่ยวข้อง ....คงอธิบายว่า "เกิดการกัดสี"
@user-pp5nk9mi4h
@user-pp5nk9mi4h Жыл бұрын
พูดถึงภัยของกากนิวเคลียหน่อยครับอยากฟัง
@nathana9731
@nathana9731 Жыл бұрын
ผมชอบน้ำเสียงเค้าอะ
@ciblis716
@ciblis716 Жыл бұрын
เชื้อสายยิ่วเก่งมาก
@user-zr6fm7tk2z
@user-zr6fm7tk2z Жыл бұрын
อนาคต พลังงานนิวเคลียร์ จะจัดเก็บไว้ในที่ๆพกพาได้มีขนาดเท่ากับกล่องไม้ขีดไฟเรียกว่า เซลพลังงาน แค่เสียบเข้าไปในรถยนต์ใช้งานได้ 10 ปี
@user-dp7er8ls9u
@user-dp7er8ls9u Жыл бұрын
เข้าใจง่ายกว่าในห้องเรียนอีก
@linecivil
@linecivil Жыл бұрын
เข้าใจกว่าตอนเรียนอีก
@user-fm8bt7xq5v
@user-fm8bt7xq5v Жыл бұрын
หลังสงคราม ความรู้จะเกลี่ยตัว จากผู้ชนะสู่ ผู้อยากชนะ..! ความแพ้ที่แท้จริงนั้นไม่มี. War /Game /Again. NOiU
@VPNbetta
@VPNbetta Жыл бұрын
มนุษย์จะเรียนรู้จากความผิดพลาด ซักวันโลกเราจะเสื่อมจนเริ่มหายนะ แล้วมนุษย์จะเริ่มตระหนักถึงการใช้พลังงานสะอาด
@NickyDIY101
@NickyDIY101 Жыл бұрын
คนฝรั่งเศสพูดอังกฤษนี่ฟังยากมากๆครับ
КАКОЙ ВАШ ЛЮБИМЫЙ ЦВЕТ?😍 #game #shorts
00:17
Follow @karina-kola please 🙏🥺
00:21
Andrey Grechka
Рет қаралды 27 МЛН
狼来了的故事你们听过吗?#天使 #小丑 #超人不会飞
00:42
超人不会飞
Рет қаралды 56 МЛН
Why Is Hydroelectric Power Plant Underground ? - TGC Field Trip
37:16
tigercrychannel
Рет қаралды 1,1 МЛН
วิศวกรรมเปลี่ยนโลก
41:45
КАКОЙ ВАШ ЛЮБИМЫЙ ЦВЕТ?😍 #game #shorts
00:17