Рет қаралды 19
พวกชาวสวรรค์ ที่มีตาทิพย์ หูทิพย์ และกินอาหารทิพย์.
เทวดา devatā หรือ เทพ deva เทว ตามคติความเชื่อ
ทางศาสนาต่าง ๆ หมายถึง ชาวสวรรค์ที่เป็นโอปปาติกะ
มีกายทิพย์ ตาทิพย์ หูทิพย์ และกินอาหารทิพย์
และเสวยสุขในสรวงสวรรค์ชั้นต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นภพภูมิที่ดี
เทวดาผู้หญิงเรียกว่า เทวี หรือ "เทพี" หรือ นางฟ้า เทวดา
ผู้มีมิจฉาทิฐิ เรียกว่า มาร (โจรใต้) ฯลฯ
คำว่า เทพเจ้า หมายถึง เทวดาผู้เป็นใหญ่ ตามความเชื่อแบบพหุเทวนิยม
ซึ่งเชื่อว่ามีอำนาจควบคุมธรรมชาติบางอย่าง เช่น สุริยเทพ เทพเจ้าแห่งสายฟ้า
1.ทูตสวรรค์ หรือ เทวทูต angel คือชาวสวรรค์จำพวกหนึ่งตามความเชื่อทางศาสนาและในเทพปกรณัมต่าง ๆ โดยมีหน้าที่เป็นผู้แจ้งข่าวสารจากสวรรค์มายังโลก
บ้างก็ทำหน้าที่อารักขา แนะนำ หรือมอบหมายภารกิจแก่มนุษย์ ฯลฯ
2.มลาอิกะฮ์ คือ มลาอิกะฮ์ ملائكة เป็นคำพหูพจน์ของ มะลัก ملك ในไทยบางแห่งเรียก เทพบริวาร มีความหมายเดียวกับทูตสวรรค์ในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ มีหน้าที่ถวายงานรับใช้แก่อัลลอฮ์ ฯลฯ
3.เทวดา (ศาสนาพุทธ) ตามคติศาสนาพุทธ เทวดา देव देव เทว หมายถึงชาวสวรรค์ ถ้าเป็นเพศชายเรียกว่าเทพบุตร เพศหญิงเรียกว่าเทพธิดา และเรียกโดยรวมว่าเทวดา ในบางกรณีอาจครอบคลุมถึงพระพรหมทั้งหลายในพรหมโลกด้วย
พระพรหม โบสถ์พระพรหม พรหมามนเทียร ปุษกร ฯลฯ
4.เทพปกรณัมกรีก หรือเทวปกรณ์ myth หมายถึง ตำนาน เรื่องเล่า หรือนิทาน ปรัมปราที่มนุษย์มีการเล่าสู่กันฟังจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งสืบทอดต่อกัน
มาอย่างยาวนาน ส่วนมากมักเป็นการอธิบายกำเนิดโลก จักรวาล มนุษย์สัตว์
และ ปรากฏการณ์ต่างๆ ทางธรรมชาติยกตัวอย่างเช่น ลม ฝน กลางวัน
กลางคืน ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า สุริยคราส และจันทรคราส ฯลฯ
5.เทพปกรณัมโรมัน ประมวลเรื่องปรัมปราโรมัน หรือ ประมวลเรื่องปรัมปราละติน Roman mythology หรือ Latin mythology หมายถึงความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าของผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในลาติอุมและเมืองสำคัญ ๆ ในคาบสมุทรอิตาลีของโรมันโบราณ
ที่อาจจะแบ่งได้เป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งที่เป็นความเชื่อสมัยต่อมาและความเชื่อทางวรรณกรรมที่ประกอบด้วยความเชื่อที่มาจากประมวล เรื่องปรัมปรากรีก
อีกส่วนหนึ่งเป็นความเชื่อเดิมที่เกิดขึ้นก่อนหน้า อิทธิพลกรีกที่มีลักษณะที่ค่อนข้าง
จะแตกต่างกับประมวลเรื่องปรัมปรากรีกในสมัยต่อมา ฯลฯ
6.เทพปกรณัมนอร์ส ประมวลเรื่องปรัมปรานอร์ส หรือ ประมวลเรื่องปรัมปราสแกนดิเนเวีย เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของชนเจอร์แมนิกเหนือ และเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาเก่าแก่ของชาวนอร์สซึ่งเป็นความเชื่อพหุเทวนิยม และยังคงเล่าสืบเนื่องกันมาแม้ภายหลังจากชาวสแกนดิเนเวียหันมานับถือศาสนาคริสต์ จนกลายมาเป็นคติชาวบ้านสแกนดิเนเวียแห่งสมัยใหม่ ประมวลเรื่องปรัมปรานอร์สเป็นการกระจายขึ้นเหนือสุดของประมวลเรื่องปรัมปราเยอรมัน โดยประกอบด้วยนิทานเทวดา และวีรบุรุษต่าง ๆ จากแหล่งที่มาจำนวนมากทั้งก่อนและหลังยุคเพกัน ซึ่งรวมถึงวรรณกรรมของชาวไอซ์แลนด์ที่เขียนขึ้นในสมัยกลาง หลักฐานทางโบราณคดีและประเพณีพื้นบ้าน ฯลฯ
7.เทพปกรณัมอียิปต์ เทพเจ้าอียิปต์โบราณ ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาหลักในอียิปต์ โดยมี ชาวอียิปต์ประมาณ 90% อียิปต์ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี ตั้งแต่ปี 1980 ศาสนาอิสลามได้ทำหน้าที่เป็นศาสนาประจำชาติ ของ อียิปต์ ก่อนการรณรงค์ของฝรั่งเศสในอียิปต์และซีเรียภายใต้การนำของนโปเลียนโบนาปาร์ตปัญหาด้านการศึกษา กฎหมาย สาธารณสุข และสวัสดิการสังคมของอียิปต์เกือบทั้งหมดอยู่ในมือของเจ้าหน้าที่ศาสนา ฯลฯ
8.รายพระนามเทวดาอินเดีย
1. พระอาทิตย์ เทพแห่งแสงสว่างและการเกษตร
2. พระจันทร์ เทพแห่งราตรีจินตนาการและการล่าสัตว์ เจ้าแห่งโสม
3. พระศิวะ พระอิศวร พระมหาเทพผู้ยิ่งใหญ่เทพเจ้าแห่งการทำลาย
4. พระพรหม เทพผู้สร้างและรังสรรค์
5. พระวิษณุ นารายณ์ เทพผู้ปกป้องและคุ้มครอง
6. พระกฤษณะ อวตารหนึ่งของพระวิษณุ
7. พระอินทร์ เทพแห่งดินฟ้าอากาศ ลมพายุฟ้าฝน ฯลฯ
9.รายพระนามเทวดาจีน พระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์
พระโพธิสัตว์กวนอิม (觀音菩薩)
พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ (大勢至菩薩)
พระอรหันต์จี้กง (濟公活佛)
กวนอู (關羽) หรือ พระสังฆารามโพธิสัตว์ (伽藍菩薩)
ฮุ่ยเหนิง (惠能)
พระกษิติครรภ์โพธิสัตว์ (地藏菩薩)
พระอมิตาภพุทธะ (阿彌陀佛)
พระศากยมุนีพุทธเจ้า (釋迦牟尼)
พระไภษัชยคุรุพุทธเจ้า (藥師佛)
พระวัชรปาณีโพธิสัตว์ (金剛手菩薩)
พระรัตนปาณีโพธิสัตว์ (寶手菩薩)
พระศรีอริยเมตไตรย (彌勒菩薩)
พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ (文殊菩薩)
พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ (普賢菩薩)
มารีจี (斗姆元君)
มหามายูรี (孔雀明王)
พระจุนทีโพธิสัตว์ (準提觀音)
พระนางตารา (多羅菩薩)
พระสุริยประภาโพธิสัตว์ (日光菩薩)
พระจันทรประภาโพธิสัตว์ (月光菩薩)
เทพเจ้าจีน แบ่งเป็นสองประเภท คือ เทพเจ้าตามคติศาสนาพุทธ
และเทพเจ้าและเซียนดั้งเดิมตามศาสนาชาวบ้านจีน ลัทธิขงจื๊อ ลัทธิเต๋า
พระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์
พระโพธิสัตว์กวนอิม (觀音菩薩)
พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ (大勢至菩薩)
พระอรหันต์จี้กง (濟公活佛)
กวนอู (關羽) หรือ พระสังฆารามโพธิสัตว์ (伽藍菩薩)
ฮุ่ยเหนิง (惠能)
พระกษิติครรภ์โพธิสัตว์ (地藏菩薩)
พระอมิตาภพุทธะ (阿彌陀佛)
พระศากยมุนีพุทธเจ้า (釋迦牟尼)
พระไภษัชยคุรุพุทธเจ้า (藥師佛)
พระวัชรปาณีโพธิสัตว์ (金剛手菩薩)
พระรัตนปาณีโพธิสัตว์ (寶手菩薩)
พระศรีอริยเมตไตรย (彌勒菩薩)
พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ (文殊菩薩)
พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ (普賢菩薩)
มารีจี (斗姆元君)
มหามายูรี (孔雀明王)
พระจุนทีโพธิสัตว์ (準提觀音)
พระนางตารา (多羅菩薩)
พระสุริยประภาโพธิสัตว์ (日光菩薩)
พระจันทรประภาโพธิสัตว์ (月光菩薩) ฯลฯ
10.รายพระนามเทวดาญี่ปุ่น
รายชื่อเทพและเทพี
อาจิสุคิทากะฮิโกเนะ : เทพแห่งสายฟ้า
อะมะเตะระสุ : เทพีแห่งดวงอาทิตย์
อามัตสึมิกะโบชิ : เทพแห่งความชั่วร้าย
ฟูจิน, คามิคาเซะ : เทพแห่งวายุ
ฟุสึโนะจิ : เทพแห่งไฟและฟ้าแลบ ฯลฯ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หน้า 580
ราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554
ราชบัณฑิตยสถาน 2556
บทความความเชื่อนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล
เทวดา บทเกี่ยวกับ ความเชื่อ