KZ
bin
Негізгі бет
Қазірдің өзінде танымал
Тікелей эфир
Ұнаған бейнелер
Қайтадан қараңыз
Жазылымдар
Кіру
Тіркелу
Ең жақсы KZbin
Фильм және анимация
Автокөліктер мен көлік құралдары
Музыка
Үй жануарлары мен аңдар
Спорт
Ойындар
Комедия
Ойын-сауық
Тәжірибелік нұсқаулар және стиль
Ғылым және технология
สามัญชนคนไทย : ชีวิตที่ปลอดภัย ? (21 มี.ค. 58)
49:12
มาร์ติน วิลเลอร์ชุมชนคนพอเพียง.flv
27:58
小路飞还不知道他把路飞给擦没有了 #路飞#海贼王
00:32
一碗水真的能端平吗?不能也得能!#四小只吖 #日常 #搞笑 #搞笑家庭 #姐弟 #家庭生活
00:19
МЕНЯ УКУСИЛ ПАУК #shorts
00:23
أختي الشريرة تزعجني! 😡 استخدم هذه الأداة #حيلة
00:24
สามัญชนคนไทย : ชีวิต "เกษตรกร" กลายพันธุ์ (7 มี.ค. 58)
Рет қаралды 26,757
Facebook
Twitter
Жүктеу
1
Жазылу 316 М.
VIPA
Күн бұрын
Пікірлер: 33
@PokeTVOfficial
9 жыл бұрын
รายการที่เป็นสมบัติของชาติ ดีจริงๆค่ะ !!!
@kanockwanrain
9 жыл бұрын
ขอชื่นชมคะ รายการสามัญชนคนไทยเป็นรายการที่มีระบบในการนำเสนอเนื้อหาดีมากเลยคะ ทำให้ผู้ชมเข้าใจง่าย ซึ่งดิฉันติดตามชมมาตั้งแต่ตอนแรกที่ออกอากาศแล้วคะ และก็จะติดตามต่อไปคะ สู้ๆๆ นะคะ เป็นกำลังใจให้กับทีมงานทุกคนคะ ^_^
@nakornsinotok4068
9 жыл бұрын
คุณมาโนด คุณเป็นอิสรามที่ผมชอบสุด คุณเป็นปัจญาเป็นปราด วิถีคิด ความรู้จริงได้ประโยชน์ ผมชอบฟังคุณยิ่งกว่านักการเมือง เสียอีก ความปราณาที่ผมฝันไว้ ผม หยากให้ชาวมุสลิมในประเทศเรารักกันไม่เบียดเบียนกันเป็นเหมือนหย่าง คุณและครอบครัวคุณ ผมประทับใจคุณมากๆ
@ratchanaisirichan1385
6 жыл бұрын
รายการของคุณมาโนชดูเรียบง่าย แต่ได้สาระชีวิตที่ดีดูแล้วไม่เบื่อ
@chatpavee1434
9 жыл бұрын
รายการดี มีสาระ น่าสนใจทุกตอนเลยคะ ติดตามตั้งแต่ตอนแรก นำเสนอมุมมองที่สะท้อนปัญหาสังคมได้เยี่ยมมาก ... ที่สำคัญเลย ชอบภาพ ชอบมุมกล้อง ชื่นชมโปรดิวเซอร์รายการสุดๆๆๆๆ (คิดว่า คุณมาโนช เป็นโปรดิวส์เองแน่ๆเลยคะ)
@treelovesfz
9 жыл бұрын
เป็นรายการที่ดีมากๆๆครับ ให้ความรู้ สาระต่างๆมากมาย ชอบทุกตอนเลยครับ เป็นกำลังใจให้ทีมงานทุกคนนำเสนอเรื่องราวดีๆ ที่มีสาระและความรู้แบบนี้อีกต่อไปนะครับ
@pattanapongcup
9 жыл бұрын
รายการดี ดูทุกตอน ขอบคุณครับ สนับสนุน
@goto4u...tomorrow
5 жыл бұрын
ติดตามชมในปี2562/2019ประเทศไทยสมัยรัชกาลที่สิบแล้วหนาาา...
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
สำหรับการทำงาน หรือการทำธุรกิจ โดยทั่วไปสำหรับคนที่มีการศึกษามากหน่อย เราก็มักจะได้ยินเรื่อง " อุปสงค์ - อุปทาน " ( Demand - Supply ) กันอยู่เสมอๆ ถ้ายิ่งมีการศึกษาสูงมากขึ้นไปอีก เราก็จะได้ยินเรื่องอื่นๆมากขึ้นไปอีก เช่น พวกเรื่องการตลาด หรือเรื่อง P ต่างๆเป็นต้น !
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
ตอนผมเด็กๆ ประมาณปี 2520 กว่าๆ ตอนนั้นเกษตรกรไทย เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ คือมีประมาณ 80% ( ใหญ่มากๆ ) ตอนนั้นสินค้าส่งออกที่สำคัญของประเทศ คือ ข้าว , ไม้สัก , แร่ดีบุก และเราถูกสอนในโรงเรียนอย่างนี้อยู่เรื่อยมา ถ้าในการศึกษาภาคบังคับยุคแรกๆ ก็ ป.4 นั่นแหละครับ ! ส่วนพวกที่อยู่ห่างไกลมากๆก็คงจะไม่ได้เรียนอะไรหรอกครับ !! ส่วนเรื่องที่สินค้าทางการเกษตร ที่มีลักษณะคล้ายๆกัน มันก็คือ การพยายามสร้างมาตรฐาน ให้กับสินค้าเกษตรนั่นเองเพื่อให้ผู้ซื้อ " ตัดสินใจได้ง่ายขึ้น " และ สะดวกแก่ผู้ขาย และผู้ขนส่ง ในการบรรจุหีบห่อ ( บางประเทศไปไกล ถึงขนาดที่ผลิตในขนาดที่ ผู้บริโภค จะบริโภคหมดภาคในครั้งเดียว/คน ) ส่วนเรื่อง " การลดลงของจำนวนเกษตรกร " คือ ในอดีตคนไทยขาดการวางแผนครอบครัว มีลูกกันหลายคน ประมาณ 4-5 คน ( ประมาณ ลูก 2 คน / พ่อ-แม่ 1 คน ) ระบบเกษตรยังใช้แรงงานเป็นหลัก มีประเพณี " ลงแขก " หรือ งานขอแรง อยู่ทั่วๆไป คือช่วยกันทำงานแบบให้เปล่า เพราะในสมัยก่อน " เงิน มันหายาก มันยังไม่กระจายไปสู่ชนบท " และที่สำคัญ " ตอนนั้นธรรมชาติยัง อุดมสมบูรณ์ อยู่มาก " ทำให้ไม่ต้องพึ่งพาเงินมากนัก ...... ไม่ใช่ว่า เกษตร คนส่วนใหญ่ " มาก " ของประเทศในตอนนั้น ไม่ต้องการมัน ..... เคยได้ยินคำพูดนี้ไหมครับ " มีเงิน นับเป็นน้อง มีทองนับเป็นพี่ " ในเรื่องของการวางแผนครอบครัว ในยุดหนึ่ง มีหน่วยงานของรัฐที่ทำหน้าที่นี้ นำโดย " ท่าน มีชัย " มีการแนะนำให้ใช้ถุงยางอนามัย " ถึงขนาดเรียกกันเล่นๆว่า ถุงมีชัย " และมีการสร้างคำขวัญที่ฮิตติดปากในสมัยนั้น ก็คือว่า " ครอบครัวเป็นสุข มีลูกไม่เกิน 2 " สภาพของครอบครัวไทยจึงเปลี่ยนแปลงไปจนบัดนี้ ใครที่ มีลูกมากๆ " ถ้าไม่รวยจริง จะถูกตั้งคำถามว่า ทำไมไม่รูจักวางแผนครอบครัว หรือคุมกำเนิด ( ซึ่งส่วนใหญ่ก็คงทำได้แค่ ถามในใจ เท่านั้น ) !
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
อันนี้เกือบลืม ! เกษตรกรควรจะมีคนที่เป็น พ่อครัว หรือ แม่ครัวเก่งๆ ไว้คิดเมนูอาหารใหม่ๆ ที่ใช้วัตถุดิบในท้องถิ่น จริงๆ !! โดยที่ไม่ผูกพันกับเมนูอาหารในเมืองมากนัก แต่ควรสามารถเทียบเคียงและทดลอง " ชิม " ดูได้ เพื่อเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มของสิ่งที่ตนเองผลิตขึ้นมาเอง อย่างแท้จริง !!!
@thaimanybeautyshop9398
9 жыл бұрын
มักอ้ายอีหลี คิดได้จังได๋ หาอาหารสมอง มาให้กิน ดี้ ดี
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
ส่วนในเรื่อง " สารพิษ หรือสารเคมี ที่ตกค้างอยู่ในผักและผลไม้ต่างๆ " ตอนเด็กๆผมถูกสอนให้ใช้ นํ้าด่างทับทิมในการล้างผัก พอโตขึ้นมาอีกหน่อย ก็สอนให้ผมใช้นํ้าผสมผงฟู ปัจจุบันผมก็ได้ยินว่ามีการผลิต " นํ้ายาล้างผัก ผลไม้ " ขึ้นมาโดยเฉพาะ ที่บ้านผมก็มีอยู่ขวด " มันก็คล้ายๆกับนํ้ายาล้างจานนั่นแหละแต่มีขนาดเล็กกว่า "
@นะคะ-ล5ญ
3 жыл бұрын
ไปซื้อ มาจากที่ไหนคะ อยากได้บ้างคะ
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
ประมาณ นาทีที่ 5: กว่าๆ ในยุคที่การเกษตรยังทำกันแบบง่ายๆ และเริ่มมีการใช้ปุ๋ยเคมี เข้ามาเพื่อเพิ่มผลผลิต จึงเริ่มมีการใช้เงินมากขึ้น มีการเกิดขึ้นของโรงสี เป็นจำนวนมาก ( แบบง่ายๆโบราณๆไม่เหมือนสมัยนี้ ) ..... ส่วนเรื่องการ ขายฝาก หรือถูกโกง ถูกยึดที่ดินนี่ ก็เคยแต่ได้ยินมาเท่านั้น ! ...... ชาวนาที่อยู่ใน พท.ที่ทำนาได้บ่อยครั้ง ก็จะมีฐานะที่ดีกว่าชาวนาที่ทำนาได้ปีละครั้ง เป็นเรื่องปรกติอยู่แล้ว เมื่อมีปัญหาเรื่องเงินก็จะเกิดการ กู้ยืมและซื้อ-ขายที่ดินกันต่อไป ..... แล้วก็ลุกลามไปจนถึงโรงสี ..... เมื่อโรงสีมีจำนวนมากขึ้น ..... การผลิตข้าว และข้าวสาร ทำได้ง่ายขึ้น ตามยุคสมัย ในที่สุดข้าวก็จะไปกระจุกตัวอยู่ที่ " ผู้ส่งออก " จนโรงสี บ่นว่า โรงสีทำไปก็ไม่มีกำไร โรงสีขนาดเล็กๆก็ล้มเลิกไปมากมาย เพราะลูกหลาน ไม่มาทำต่อ " ส่วน " ผู้ส่งออก " ก็จะบ่นว่าทำตลาดยาก เพราะมีคู่แข่งมาก ! ( ส่วนเรื่องที่ต้องใช้เงินลงทุนสูงมากแค่ไหนเนี่ย ผมไม่รู้ )จนภายหลัง รัฐฯมีนโยบายช่วยเหลือ โรงสี โดยให้กู้ยืมเพื่อปรับปรุง ทั้งตัวอาคารและเครื่องจักร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ดังที่เราเห็นโรงสีสมัยใหม่ ในปัจจุบัน ! ในส่วนของชาวนา ที่ไม่ได้ลงมือทำงานเอง แต่ใช้เงินทำงานแทน ( ต้องมีประสบการณ์ และเงินทุนพอสมควร ก็เหมือนกับอาชีพอื่นๆนั่นแหละ ) ทำให้มีศัพท์ใหม่เกิดขึ้นมาคือ " ผู้จัดการนา " ครับ ! ส่วนแรงงานก็จะมีลักษณะเป็นแรงงาน หมุนเวียน คือพอหมดหน้าฝน ก็เข้าเมืองหางานอื่นๆทำ คือมีแหล่งรายได้หลายทาง ตามความเชื่อปรกติคือ " ปลอดภัยไว้ก่อน " แต่อีกไม่นานก็จะมีรายจ่ายประจำ เหมือนกัน คือค่าเช่าบ้าน ถ้ามีลูกก็ต้องเลี้ยงลูก และส่งลูกเข้าโรงเรียน เหมือนคนทำอาชีพอื่นๆ !
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
Yongyot Chantrapoom ....... คำพูดที่ว่า " ผู้จัดการนา " มันเป็นคำพูดที่ ค่อนข้างจะจริงจัง นะครับ ! ไม่ใช่พูดในเชิงประชดอย่างเดียว ถ้าใครไม่แน่พอ แล้วทำแบบนี้ " ก็คงจะไม่ค่อยเหลืออะไรหรอก ดีไม่ดีก็ขาดทุนครับ เพราะบริหารจัดการไม่เป็น หรือต่อรองไม่เป็น " ......
@ratchanaisirichan1385
6 жыл бұрын
เกษตรเคมีทำไปมีแต่จน เพราะเงินไปอยู่กับนายห้าง ปุ๋ย ยาเคมี น้ำมัน ต้องทำแบบวิธีชีวิตแบบโจน จันได หรือ อ.ยักษ์ หรือ สันติอโศก
@kannikanuanjan3092
6 жыл бұрын
ไม่ตอ้งทำดุไอ้ผวกที่ชื้อข้าวกีนมันจทำอย่างรัย. ถ้าชาวนารวมตัวกันไม่ทำข้าวมันก้ราคาสุงจบข่าว
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
นอกจากนั้น ยังมีข้อมูลจากภาครัฐที่ ไปๆมาๆไม่แน่นอนอีก เช่น โครงการหมอดิน คือ การตรวจสภาพดินด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ ( ตอนนั้นจะมี ชุดตรวจคุณภาพดิน โฆษณาขายตามหนังสืออยู่พักหนึ่ง ) ตามมาด้วยปุ๋ยสั่งตัด ( ปุ๋ยเคมีผสมตามสูตรที่เหมาะสม โดยเกษตรกรซื้อแม่ปุ๋ยมาผสมกันเอง ตามสภาพดินและความต้องการของพืชที่ปลูก อันนี้น่าจะมีข้าราชการคอยจัดอบรมให้ความรู้อยู่นะครับ ) ต่อมาก็ปุ๋ยอินทรีย์ ( โดยส่วนตัวผมว่ามันใช้เวลาค่อนข้างนาน และใช้แรงงานมาก ) ส่วนที่ฮิตกันเป็นระยะๆก็ได้แก่ ปุ๋ยจุลินทรีย์ EM หรือ ฮอร์โมน ประเภทต่างๆอีกตามแต่ที่จะมีคนดิดค้นได้ อ้อบางช่วงก็มีเรื่องสารสะเดากำจัดศัตรูพืชด้วย ซึ่งก็ถูกวิจารณ์ว่าไม่สะดวก หรือไม่พอใช้ อะไรทำนองนี้ แล้วก็จางหาไป !
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
ประมาณ นาทีที่ 10:00 /47:36 การที่เด็กรุ่นใหม่ๆไม่กลับมาทำนาไม่ใช่เรื่องแปลกนะครับ เพราะเมือเด็กได้รับการศึกษามากขึ้น และได้รับรู้สภาพความยากลำบาก ( ถ้าลำบากแล้วมันคุ้มค่า ผมว่าเขาก็รับกันได้นะครับ ! ) และเรื่องความไม่แน่นอนของ " ฟ้าฝน " นี่แหละครับ ปัญหาหลักเลย ! แล้วรัฐฯก็ยังได้ ขยายฐานการศึกษา โดยสร้างโรงเรียนขึ้นอย่างมากมาย ทั้งประถม มัทธยม ถ้าในต่างจังหวัดทั่วไป ก็จะไปสุดที่ อาชีวะศึกษา ( เช่นโรงเรียนช่างเทคนิค สำหรับเด็กผู้ชาย หรือโรงเรียนพาณิชย์ สำหรับเด็กผู้หญิง ซึ่งอาจจะมีเด็กที่มีความชอบสลับกันบ้าง แต่ก็ไม่มากนัก ) ส่วน วิทยาลัยเกษตรกรรม ผมไม่ค่อยได้ยินมากนัก ( ผมไม่ค่อยได้ไปเที่ยวไหนๆมากนักนะครับ ! )
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
ประมาณ นาทีที่ 24:00 47:36 ผมว่าเหตุผลที่เกษตรกร ไม่ย้อนกลับไปใช้การทำนาแบบเก่า " เพราะเขาเป็นเจ้าของที่นา แล้วจ้างแรงงานทำนารึเปล่า เลยไม่ต้องการวิธีทำนาที่ยุ่งยาก " สู้เอาเวลาที่เหลือไปทำอย่างอื่นดีกว่า "
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
ประมาณ นาทีที่ 38:00 / 47:36 เรื่องสารเคมีที่ใช้ฉีดพ่นกับพืชนี่ ผมคงต้องเดาแล้วล่ะครับ ! น่าจะเป็นรูปแบบของการให้เกษตรกรเอาไป " ทดลองใช้ก่อน " โดยนำสารเคมีเข้มข้นไปผสมกับนํ้า แล้วฉีดพ่น " เมื่อมันได้ผลมันก็จะเกิดการทำซํ้าโดยตัวเกษตรกรเอง บางแห่งก็จะเห็น " ป้ายโฆษณา ปักอยู่ตามไร่-นา ว่าที่แปลงนี้ใช้สินค้า ยี่ห้ออะไร ซึ่งก็น่าจะมีอยู่หลายยี่ห้อล่ะครับ ผมไม่เคยอ่านซักที "
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
ประมาณ นาทีที่ 9.00 / 47:36 เกษตรก็ในอดีต " เขาไม่ได้ทำนาเอาข้าวขายอย่างเดียว แล้วเอาเงินจากการขายข้าวไปซื้อสินค้ากันแบบทื่อๆแบบนี้นะครับ แต่เขายังพึ่งพาตัวเองโดยการเลี้ยงสัตว์ +ปลูกผักริรั้ว + ปลูกพืชหลังทำนา กันด้วย ! จนเมื่อแรงงานลดลง และมีอายุมากขึ้น + ความเจริญต่างๆที่เข้ามา ก็จะเริ่มมีชาวบ้านนำสินค้ามาขาย โดยเริ่มจากใช้รถมอเตอร์ไซด์เล็กๆก่อน แล้วก็ตามด้วยรถปิคอัพ อย่างที่คน กทม.เรียกว่ารถขายกับข้าวนั่นแหละครับ จนเมื่อมีรถกับข้าววิ่งขายแข่งกันมากๆ มันก็จะกลาย 7-11 หรือ มินิมาร์ทเคลื่อนที่ โดยรับสั่งซื้อสินค้าจากในเมืองตามความต้องการของลูกค้า ..... จากข้อมูลของผม รถขายกับข้าว ที่วิ่งกันอยู่ตามต่างจังหวัดนี่มีมาไม่ตํ่ากว่า 20 ปีแล้วนะครับ ! .......
@mypooklook
9 жыл бұрын
เราทำเกษตรแบบพึ่งสารเคมีมาแต่รุ่นตารุ่นยาย ไหนปัญหาสุขภาพ ปัญหาหนี้สิน พอแก่ตัวทำต่อก็ไม่ไหว ลูกหลานไม่สืบต่อ ขายให้นายทุนดีกว่า ..ใ้ช้หนี้ ใช้สิน เผื่อความสุขบั้นปลายชีวิต
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
ถ้าเราจะทำการเกษตรแบบ " ค้าขายเอาเงิน " ซึ่งก็เป็นปัจจัยทีสำคัญมากในยุคปัจจุบัน แต่กลับไปทำเกษตรแบบครอบครัว กระจัดกระจายแบบเก่า มันก็จะเป็นการกลับไปหาปัญหาเดิมกับ ผู้ซื้อและภาคขนส่งอีก ( ซึ่งปัจจุบันก็มีการปรับตัว โดยการดัดแปลงรถปิคอัพที่ใช้อยู่ให้สามารถบรรทุกได้มากขึ้นกว่า Spec ที่โรงงานผู้ผลิตได้กำหนดไว้อยู่แล้ว เพื่อลดต้นทุนในด้านนี้ ) ..... ที่จริงเราน่าจะหันมาทำเกษตรแบบใช้พื้นที่ร่วมกัน เหมือนกับที่เราไปโรงเรียน ไปทำงานในอาชีพต่างๆ ซึ่งเราก็ใช้พื้นที่ร่วมกันทั้งนั้น ซึ่งน่าจะบริหารจัดการได้ง่ายกว่า ! ส่วนจะทำในรูปแบบไหนก็คงจะเป็นเรื่องที่ รัฐฯต้องสร้างแรงจูงใจในรูปแบบต่างๆให้ " โดนใจของเกษตรกรเอง " เพราะโอกาสที่จะให้อะไรๆกลับไปเหมือนเดิม 100% มันไม่น่าจะมีแล้ว " !!!
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
Yongyot Chantrapoom อันนี้เป็นคำแนะนำ สำหรับเกษตรกร ที่ยังทำการเกษตรแบบที่ " ยังมีปัญหา " ต่างๆอยู่นะครับ !
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
Yongyot Chantrapoom พึ่งนึกได้ครับ ! สำหรับการดัดแปลงรถปิคอัพเพื่อให้บรรทุกได้มากขึ้น ในอดีตทำกันแค่ " เสริมแหนบ + ดามแชสซี + ต่อคอก " ตอนหลังมีการเปลียนเพลาท้าย ระบบคลัชท์และเบรค ( ส่วนหนึ่งเพื่อให้ใช้อะไหล่ร่วมกับรถปิคอัพธรรมดาได้ด้วย ) อะไหล่บางส่วนเป็นอะไหล่มือ 2 จากต่างประเทศ !! ...... เคยมีบริษัทรถยนต์แห่งหนึ่ง ส่งพนักงานไปสำรวจการใช้รถปิคอัพที่ " ตลาดไท " ผลปรากฏว่า คนไทยใช้รถบรรทุก นน.เกินกว่าที่ บ.ผู้ผลิตกำหนดไว้มาก คือ รถปิคอัพขนาด 1 ตัน คนไทยใช้บรรทุก นน.ประมาณ 3 ตัน บ.ผู้ผลิตจึงทำการ " ออกแบบเผื่อไว้ " ( การเพิ่มเนื้อเหล็ก เพื่อเพิ่มความแข็งแรง ในบางส่วนของตัวรถ ใช้ทุนไม่มาก แต่ได้ใจผู้บริโภค ) และภายหลัง ทางภาคราชการก็ได้รับ " จดทะเบียนรับรองการดัดแปลง ของรถพวกนี้ด้วย เนื่องจากมันมี วิ่งไป-วิ่งมา อยู่ทั่วประเทศ นั่นเอง " !!! หมายเหตุ - ภายหลัง ยังมีการปรับแต่งระบบเชื้อเพลิง + ล้อ และยาง อีก และต่อมาก็ยังมี รถปิคอัพ เบนซิน + NGV. อีก ( ซ่อนถังหนักๆไว้ใต้กระบะอีก 3 ถัง สำหรับรถที่บรรทุกไม่หนักมากนัก )
@yongyotchantrapoom7341
9 жыл бұрын
ส่วนเรื่อง " เกษตรพันธสัญญา " ผมว่าปัญหาหลักๆน่าจะมาจาก รัฐฯขาดนักวิทยาศาสตร์ หรือนักวิชาการที่ทำงานด้านนี้ อย่างต่อเนื่อง ทำให้ขาดความรู้ที่เท่าทันกับภาคเอกชน + เอกชนขาดความรอบคอบในเรื่องของ ข้อกฏหมายและสัญญา + ภาคเอกชน จัดโซนการทำงานไว้อาจทำเพื่อให้สะดวกแก่การทำงานของภาคเอกชนเอง แต่ส่งผลให้เกษตรกรต้องช่วงชิงแข่งขันกันลงมือ เพราะใครลงมือก่อนคนอื่นๆก็จะหมดสิทธิทำตาม ยกเว้นแต่ว่าจะเป็นของภาคเอกชนรายอื่นๆ ซึ่งเราก็ไม่รู้ว่าเขาจะแข่งขันกันจริงๆหรือไม่ " ...... ปัญหาที่รัฐฯขาดคนเก่งๆ ก็เพราะรัฐฯขาดแรงจูงใจในด้านรายได้ อาจรวมถึงความคล่องตัวในสภาพการทำงานด้วย ...... ทีนี้มันก็จะวนกลับมาในเรื่องของ " ปัญหาการเก็บภาษี " ...... แล้วก็จะวนกลับมาในเรื่องของ ปัญหาความยากจนอีกที วนไปวนมาไม่จบสิ้น !
@ธีรวีร์ธูปหอม
3 жыл бұрын
Generic engineering (gene edit)
@ratchanaisirichan1385
6 жыл бұрын
รู้สึกว่าอาชีพเกษตรของไทยเหมือนต้องคำสาป ไม่มีอะไรดีขึ้นเลย
49:12
สามัญชนคนไทย : ชีวิตที่ปลอดภัย ? (21 มี.ค. 58)
VIPA
Рет қаралды 31 М.
27:58
มาร์ติน วิลเลอร์ชุมชนคนพอเพียง.flv
konthainkonthain
Рет қаралды 271 М.
00:32
小路飞还不知道他把路飞给擦没有了 #路飞#海贼王
路飞与唐舞桐
Рет қаралды 82 МЛН
00:19
一碗水真的能端平吗?不能也得能!#四小只吖 #日常 #搞笑 #搞笑家庭 #姐弟 #家庭生活
四小只吖
Рет қаралды 5 МЛН
00:23
МЕНЯ УКУСИЛ ПАУК #shorts
Паша Осадчий
Рет қаралды 4,6 МЛН
00:24
أختي الشريرة تزعجني! 😡 استخدم هذه الأداة #حيلة
JOON Arabic
Рет қаралды 30 МЛН
47:15
สามัญชนคนไทย : มนุษย์ถุงพลาสติก (7 พ.ย. 58)
Thai PBS
Рет қаралды 17 М.
24:59
รายการ แทนคุณแผ่นดิน ตอน ชาวนารุ่นใหม่ หัวใจไม่ยอมแพ้#1 (9 ม.ค.59)
รายการ แทนคุณแผ่นดิน
Рет қаралды 56 М.
6:33
วีดีทัศน์ ผู้สูงอายุ - อบต.แม่ลาหลวง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สุขภาวะชุมชน
Рет қаралды 12 М.
45:52
ชีวิตเจ้าชายสยาม หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ที่เกาะชวา I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP. 246
ประวัติศาสตร์ นอกตํารา
Рет қаралды 449 М.
1:07:34
Coming of Age | EP. 213 | วิชาที่ทั่วโลกเรียนกับ โจน จันใด และการดูแลลูกกับชีวิตคู่ที่ไร้การครอบครอง
The Cloud
Рет қаралды 402 М.
1:36:38
ฟังยาวๆ รู้จักประวัติศาสตร์ "ละโว้-ลพบุรี" ที่ไม่ได้มีแค่ "แม่หยัวศรีสุดาจันทร์"
ขรรค์ชัย-สุจิตต์ ทอดน่องท่องเที่ยว
Рет қаралды 23 М.
24:47
รายการฟ้าปกดิน ตอน พลิกใจสู่บ้านเกิดด้วยความพอเพียง
FrontPage CHANNEL
Рет қаралды 124 М.
47:03
สามัญชนคนไทย : ชะตากรรมแรงงานไร้นายจ้าง (28 ก.พ. 58 )
VIPA
Рет қаралды 25 М.
1:09:23
[UNCUT] เปิดศึกใหญ่ "นายแบกเพื่อไทย VS นายแค้นเพื่อไทย" I คนดังนั่งเคลียร์ I 18 พย. 67
ช่อง8 : Thai Ch8
Рет қаралды 455 М.
47:19
สามัญชนคนไทย : ชีวิตข้ามชาติในตลาดสด (2 พ.ค. 58)
VIPA
Рет қаралды 108 М.
00:32
小路飞还不知道他把路飞给擦没有了 #路飞#海贼王
路飞与唐舞桐
Рет қаралды 82 МЛН