VTR แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)

  Рет қаралды 4,732

ONWRNews

ONWRNews

5 жыл бұрын

แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี
กำหนดทิศทางการพัฒนาทรัพยากรน้ำของประเทศ
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี มั่นใจจะทำให้แก้ไขปัญหาและพัฒนาทรัพยากรน้ำของหน่วยงานด้านน้ำกว่า 40 หน่วยงานสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน พร้อมเดินหน้าเสาหลักที่ 4 การพัฒนาองค์ความรู้ สร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่จะขับเคลื่อนแผนแม่บทอย่างมีประสิทธิภาพ
นายสมเกียรติ ประจำวงษ์ เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) เปิดเผยว่า การประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ซึ่งมี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในวันนี้ (18 มิ.ย.2562) ได้ผ่านความเห็นชอบแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580) ซึ่งประกอบด้วย 6 ด้านหลัก ได้แก่
1.การจัดการน้ำอุปโภคบริโภค
2.การสร้างความมั่นคงของน้ำภาคการผลิต
3.การจัดการน้ำท่วมและอุทกภัย
4.การจัดการคุณภาพน้ำและอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ
5.การอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน
และ 6.การบริหารจัดการ
ทั้งนี้ เพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาทรัพยากรน้ำของประเทศ เปรียบเสมือนแผนที่นำทางให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติภารกิจหน้าที่ได้อย่างสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

Пікірлер: 4
@user-os8vw7cb9g
@user-os8vw7cb9g 2 жыл бұрын
อ.แม่สรวยจ.เขียงราย หมู่บ้านห้วยม่วงก็แล้งมากบางปีไม่มีน้ำอาบเปนอาทิต ต้องไปนอนบ้านเพื่อนแทน
@RedMi-io3wl
@RedMi-io3wl 2 жыл бұрын
ถูกต้องครับพัฒนาการบริหารจัดการน้ำเพราะน้ำเป็นหัวใจหลักในการพัฒนาหลายๆด้านโดยเฉพาะเรื่องการเกษตร
@user-zh3bd5zz8c
@user-zh3bd5zz8c 4 жыл бұрын
ขายฝันชาวบ้านเปล่า
Looks realistic #tiktok
00:22
Анастасия Тарасова
Рет қаралды 100 МЛН
A clash of kindness and indifference #shorts
00:17
Fabiosa Best Lifehacks
Рет қаралды 65 МЛН
Incredible magic 🤯✨
00:53
America's Got Talent
Рет қаралды 75 МЛН
VTR โครงการปรับปรุงระบบชลประทานเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกตอนล่าง ปี 2567
4:02
กองพัฒนาแหล่งนํ้าขนาดกลาง กรมชลประทาน
Рет қаралды 441
เทคนิคการจำ "ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี" (2561-2580) Short Clip EP#04
16:43
ชวนกันมาอ่านหนังสือ
Рет қаралды 102 М.
Looks realistic #tiktok
00:22
Анастасия Тарасова
Рет қаралды 100 МЛН