No video

วัดระยะห่างดวงดาวด้วย Radar Ranging และ Stellar Parallax

  Рет қаралды 46,420

Curiosity Channel คนช่างสงสัย

Curiosity Channel คนช่างสงสัย

Күн бұрын

ติดตามเราที่ facebook : / curiositychannelth
Blockdit : www.blockdit.c...
Tiktok : / curiositychannelth
instagram ชีวิตส่วนตัว : / ekarajpkk
ติดต่องาน : curiositychannel.th@gmail.com
สั่งซื้อแว่น Ophtus ได้ที่ / ophtus
ใช้โค้ด SONGSAI เพื่อรับส่วนลด 100 บาท
ช่องคนช่างสงสัยได้จัดแคมเปญร่วมกับ futureskill.co/ Platform การเรียนรู้ทักษะในยุคอนาคต เช่น การเขียนโปรแกรม , เขียนเว็บไซต์ , การตัดต่อวีดีโอ , Content Creative , Data analytic ฯลฯ
1. แพ็คเกจบุฟเฟ่ต์ 1 ปี - ส่วนลด 50% จาก 9948 เหลือ 4974 บาท
โค้ดส่วนลด : AFFXCC
หรือคลิกที่ลิ้ง fskill.co/Aoag
2. แพ็คเกจรายคอร์ส - ส่วนลด 100 บาท คอร์สเรียนเดี่ยว คอร์สใดก็ได้ ลดเพิ่มจากราคาลดแล้วจากราคาขายบนหน้าเว็บไซต์
โค้ดส่วนลด : AFFXCC100
หรือคลิกที่ลิ้ง fskill.co/Aoal
3. แพ็คเกจ Superclass - ส่วนลด 100 บาท ลดเพิ่มจากราคาลดแล้วจากราคาขายบนหน้าเว็บไซต์
โค้ดส่วนลด : AFFXCC100
หรือคลิกที่ลิ้ง fskill.co/Aoam
คลาส Wining your brand with grit เอาชนะอุปสรรคในการสร้างแบรนด์แบบ "กัดไม่ปล่อย" โดย คุณ รวิศ หาญอุตสาหะ
page.futureski...
โค้ดส่วนลด : AFFXCC100
Friendly Gym ฟิตเนส บางพลี
/ friendlygymsmt9
----------------------------------------
สิ่งอัศจรรย์อย่างหนึ่งของมนุษย์ ที่ผมทึ่งมากๆ เลยก็คือ การสร้างแผนที่ดวงดาว เราเป็นสิ่งมีชีวิตตัวเล็กๆ ที่อยู่ในเศษผงที่เล็กมากๆ เมื่อเทียบกับความยิ่งใหญ่ของจักรวาลนี้ แต่พวกเรา โฮโมเซเปี้ยน สามารถระบุตำแหน่งของดวงดาวต่างๆ ในจักรวาลนี้ได้ และสร้างแผนที่ดวงดาวสามมิติขึ้นมา
คำถามที่ผมเจอในคอมเม้นคลิปก่อนๆ บ่อยมากเลยก็คือ เรารู้ได้ยังไงว่า ดวงดาวแต่ละดวงห่างจากเราเท่าไหร่ แน่นอนว่า เราไม่ได้ใช้ตลับเมตรวัด แบบวัดระยะทางสั้นๆ บนโลก มันมีวิธีการวัดระยะระหว่างดวงดาวจากโลกหลายวิธี โดยแต่ละวิธีก็จะมีความเหมาะสมในระยะที่ต่างกัน
โดยในคลิปนี้ ผมจะพูดถึงวิธีการวัดระยะห่างตั้งแต่ วัดระยะดวงดาวต่างๆ ในระบบสุริยะ จนไปถึง วิธี Stellar Parallax ที่วัดได้ไกลถึงระยะ 1 ใน 3 ของความยาวกาแล็คซี่ทางช้างเผือกเลยทีเดียว

Пікірлер: 131
@DjuraCfg
@DjuraCfg Ай бұрын
"เราเกิดทันเห็นมัน" ประโยคนี้ความหมายลึกซึ้งมากครับ เพราะจักรวาลเราขยายตัวออกไปเรื่อยๆ สิ่งมีชีวิตที่มีสติปัญญาในอนาคตอันไกลโพ้นแม้จะมีเทคโนโลยีล้ำหน้ากว่าเราไปหลายขุม ก็อาจจะไม่สามารถศึกษาอะไรเกี่ยวกับต้นกำเนิดของเอกภพได้เลย เพราะขีดจำกัดของความเร็วแสงที่ทำให้แม้จะมองออกไปไกลแค่ไหน ก็จะมองไม่เห็นอะไรเลยเพราะแสงจากช่วงเวลานั้นไม่สามารถเดินทางมาถึงได้อีกต่อไป~
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
ใช่เลยครับ
@NstSsa6
@NstSsa6 Ай бұрын
ผมไม่ค่อยเห็นด้วยนะ จริงอยู่ว่าในอนาคตสิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญาจะไม่สามารถมองเห็นหรือรับรู้โฟตอนที่เกิดขึ้นตอนกำเนิดจักรวาลได้ แต่คุณมั่นใจได้ยังไงว่า พวกเค้าเหล่านั้นจะไม่สามารถศึกษาการกำเนิดของจักรวาลด้วยวิธีการอื่นๆ พวกเค้าอาจจะศึกษาการกำเนิดของจักรวาลผ่านตัวกลางอื่นที่ไม่ใช่โฟตอนก็ได้รึเปล่า อีกอย่างพวกเราแทบจะไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่ในหลุมดำด้วยซ้ำ ข้อมูลที่เข้าไปในหลุมดำ อาจจะถูกทำลาย ถูกเก็บรักษา หรือถูกส่งผ่านไปยังพื้นที่อื่นหรือมิติอื่นก็เป็นได้
@DjuraCfg
@DjuraCfg Ай бұрын
@@NstSsa6 คุณจะเห็นด้วยหรือไม่มันก็เรื่องของคุณ และผมก็ใช้คำว่า "อาจจะ" ด้วย นั่นก็เพราะด้วยองค์ความรู้ปัจจุบันของมนุษย์มันเป็นแบบนั้น ผมจึงใช้คำว่า "อาจจะ" เพราะเราไม่ได้เข้าใจกลไกทั้งหมดของจักรวาล ตรงไหนที่ทำให้คุณคิดว่าผม "มั่นใจ" ครับ คุณตีความยังไง? และที่สำคัญ สิ่งที่คุณพิมพ์แย้งมา อ่านดูยังไงก็ไม่เห็นมีตรงไหนเป็นข้อเท็จจริงเลยครับ มีแค่ความคิดจินตนาการของคุณที่คิดเอาเองว่าในอนาคตมันจะมีวิธีนั้นวิธีนี้ ซึ่ง ณ วิทยาการปัจจุบันไม่มีใครรู้ครับว่ามีวิธีอย่างที่ว่ามาจริงมั้ย เวลาคุยเรื่องวิทยาศาสตร์ ก็คุยให้มันอยู่บนพื้นฐานของปัจจุบันครับ ไม่งั้นมันก็แค่เรื่องเพ้อเจ้อที่คิดเองเดาเองพูดไปเรื่อย~
@NstSsa6
@NstSsa6 29 күн бұрын
​​​​​@@DjuraCfgคือผมให้ความเห็นเพื่อเปิดมุมมองครับ และผมก็ไม่ได้คิดว่าคุณ "มั่นใจ" อะไรหรอก มันเป็นแค่คำที่นึกได้แล้วเอามาสร้างประโยคเฉยๆ แต่เหมือนคุณอยากจะจับผิดความเห็นต่างมากกว่าจะรับฟังนะครับ แล้วที่คุณบอกว่า "อ่านดูยังไงก็ไม่มีเห็นมีตรงไหนข้อเท็จจริงเลย" งั้นช่วยตอบผมหน่อยว่าประโยคของผมที่ว่า "เราแทบไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่ในหลุมดำ" ประโยคนี้ไม่เป็นข้อเท็จจริงตรงไหนครับ ? เวลาคุยเรื่องวิทยาศาสตร์ ก็คุยกันบนตรรกะและความเป็นไปได้ครับ คุณกำลังพูดถึง "อนาคตอันไกลโพ้น" ที่ซึ่ง "พื้นฐานของปัจจุบัน" ก็ยังไม่รู้เลยว่าตอนนั้นจะมีเทคโนโลยีอะไรบ้าง ดังนั้นสิ่งที่คุณและผมพูดมันก็เป็นแค่เรื่องที่คิดเองเดาเอง อยู่แล้วล่ะครับ
@DjuraCfg
@DjuraCfg 29 күн бұрын
@@NstSsa6 คุณอยากจะเถียงเอาชนะให้ได้ก็เรื่องของคุณเถอะเสียเวลาและไม่ได้ประโยชน์อะไร แล้วมันก็ไม่น่าจะมีประเด็นอะไรให้ต้องมาถกกันแล้วเพราะมันควรจบตั้งแต่คำว่า "วิทยาศาสตร์บนพื้นฐานของปัจจุบัน" ละครับ คุณจะมาเปิดมุมมองอะไร เรื่องแค่นั้นอย่าว่าแต่นักวิทย์เลย ใครเค้าก็คิดกันได้อยู่แล้ว และก็จริงอยู่ที่เราไม่ได้รู้จักหลุมดำมากขนาดนั้น แต่มันไม่ได้มีนัยยะสำคัญอะไรกับบริบทที่เรากำลังคุยกันไง ถึงบอกให้อยู่บนพื้นฐานปัจจุบัน เอาความคิดเห็นมาคุยกันมันก็พาออกทะเลไปเรื่อยไม่จบไม่สิ้น ผมถามคำเดียวนะ "คุณต้องการอะไร" เพราะผมไม่เข้าใจว่าคุณไม่เข้าใจที่ผมสื่อตรงไหน
@warmar2472
@warmar2472 Ай бұрын
ปัจจุบันก็ยังส่องกล้องอยู่ครับ แต่ก็มีวิธีที่ไวกว่าเป็น Terestrial LiDAR ที่ scan พื้นที่ออกเป้น point cloud ที่ได้ความละเอียดระดับ cm -mm ครับ ขึ้นกับความถูกต้องที่ต้องการครับ ถ้าต้องการสูงมาก ๆ ก็ยังต้องกล้องอยู่ครับ
@piyadakaenthao6839
@piyadakaenthao6839 Ай бұрын
รู้สึกว่าเคยมีพวกช่างแซะเคยแซวๆไว้ว่า รู้ได้อย่างไร หวังว่าพวกทีมงานช่างแซะคงได้เข้ามาดูนะจ๊ะ😊😊😊
@sahapattong-on3905
@sahapattong-on3905 Ай бұрын
คงคำนวณได้แค่บวกลบครับ Trigonometry คงไม่ได้
@piyadakaenthao6839
@piyadakaenthao6839 Ай бұрын
@@sahapattong-on3905 เขาอาจจะยังไม่พร้อมที่จะเข้าใจ อาจจะเพราะความเกรียนของเขา แต่ก็ยังถือเขาว่าเป็นสมาชิกชาวดาวใฝ่รู้นะ555 ขำๆเด้อ
@sarayootnanta940
@sarayootnanta940 Ай бұрын
พวกนี้น่าจะมีปมไม่ติด0วิทยาศาสตร์ก็พ่อแม่พาไปไหว้พญานาคตั้งแต่เด็ก😂😂
@user-uf3qm9zm3n
@user-uf3qm9zm3n Ай бұрын
รู้ได้ไงเคยเห็นหรอ รู้ได้ไงเกิดทันหรอเค้าโง่หรือแค่แซะเม้นแบบนี้ไม่น่าเม้นเลยนะมันทำให้ตัวเองดูโง่ถึงโคตรโง่เลยนะ เค้ามักวิทยาศาสตร์นักวิจัยเยอะแยะแหล่งข้อมูลให้ศึกษาก็เยอะ เม้นแบบนี้ผมเห็นละเคียงตา
@user-bh2hv1zp7y
@user-bh2hv1zp7y Ай бұрын
แซว+1
@BoomMars666
@BoomMars666 Ай бұрын
ขอบคุณการมีอยู่ของช่องนี้ครับ ดูทุกคลิปครับ
@mobi4034
@mobi4034 Ай бұрын
17:58 ชอบประโยคนี้มากๆครับ 😂😂
@chaimongkolduangchan3956
@chaimongkolduangchan3956 Ай бұрын
13:12 - ใช้พิลิปดา (พ.พาน) นะครับ หรือจะ วิลิปดาก็ได้ เหมือน นาที กับ วินาที (1/60 นาที) - พาร์เซค ใช้ pc ตัวพิมพ์เล็กครับ
@user-cx9xd4fc7q
@user-cx9xd4fc7q Ай бұрын
ความรู้แน่นๆ ช่องนี้ของแทร่!!!!!!!!🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉
@kayboon445
@kayboon445 Ай бұрын
วิศวกรสำรวจ ยังคงใช้กล้องวัดมุม และระยะ แต่เทคโนโลยีกล้องดีกว่าเก่ามาก การคำนวณ เป็นแบบ ออโต้ หมดแล้ว ไม่ใช้มือ หรือเครื่องคิดเลขแบบเก่า ที่สำคัญ เดี่ยวนี้ กล้องสำรวจเริ่มใช้น้อย วิศวกรสำรสจ ใช้ เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม GNSS วิธีการแบบ RTK Network สามารถระบุตำแหน่ง ได้ทันที มีความละเอียดถูกต้องในระดับ 1 mm
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
ขอบคุณครับ ผมตามไม่ทันละ อยู่หน้างานครั้งสุดท้ายก็ 15 ปีที่แล้วละครับ
@Jane19888
@Jane19888 Ай бұрын
วิศวกรโยธาเหมือนกันครับ แต่ความรู้พี่เหนือมากๆ
@Mrwebcopy
@Mrwebcopy Ай бұрын
คลิปนี้ดีมากๆๆ ข้อมูลดี เสียงภาพ ❤❤❤❤
@asmrmix3794
@asmrmix3794 Ай бұрын
ดีเริ่ด เข้าใจง่าย ไม่น่าเบื่อ 👍👍
@Sak_Saiburi_ศักดิ์ไทรบุรี
@Sak_Saiburi_ศักดิ์ไทรบุรี Ай бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆครับ 😊
@user-dk4zx8jq7r
@user-dk4zx8jq7r Ай бұрын
ขอขอบคุณ
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
ขอบคถณมากๆ ครับ
@esward-68
@esward-68 Ай бұрын
ถ้าแสงตอนเดินทางในอวกาศวิ่งผ่านแถวที่มีแรงโน้มถ่วงสูงเช่นใกล้ๆ ดาวฤกษ์ ค่าที่ได้มันจะเชื่อถือได้อยู่รึเปล่าครับ หรือว่าตอนวัดก็ได้คำนวนไว้หมดแล้ว
@auengist
@auengist Ай бұрын
ถ้าเดินทางผ่านดาวที่มีมวลมากๆ เช่น หลุมดำ แสงน่าจะเดินทางช้าลง นะ ผมเดา บริเวณที่มีแรงโน้มถ่วงมากๆ เวลาจะช้า ฉะนั้น ผมสรุปว่า แสงจะเดินทางช่า หรือ เร็ว ขึ้นอยู่กับกาลอวกาศบริเวณที่แสงผ่าน
@esward-68
@esward-68 Ай бұрын
@@auengist นั่นหนะสิครับ ตอนแสงมาถึงตัวรับของเรา มันจะน่าเชื่อถือได้อยู่รึเปล่าเพราะ กรอบอ้างอิงของเรา (reference frame) มันต่างกับแสงที่วิ่งไป-กลับ
@joineetanhom9033
@joineetanhom9033 Ай бұрын
บอกตรงๆมันยากสำหรับสมองที่มีอยู่อันน้อยนิดของผมครับเหมือนจะเข้าใจแต่ก็ไม่เข้าใจแต่นักวิทย์ฯก็เก่งมากๆที่สามารถคำนวนระยะห่างๆของดวงดาวได้
@lelouchv1487
@lelouchv1487 Ай бұрын
ขอบคุณมากครับ นี่คืทอช่องที่ทรงคุณค่าของไทยเลย
@chusaksu4696
@chusaksu4696 Ай бұрын
สงสัยมานาน และหาคนอธิบายได้ยากมาก ฟังแล้วพยายามคิดตาม555
@kaud2615
@kaud2615 Ай бұрын
คอมเม้นเป็นกำลังใจให้ครับผม ชอบสาระแบบนี้มากๆครับผม ได้ความรู้มากๆ ❤❤❤
@khunchanbackup3282
@khunchanbackup3282 29 күн бұрын
รู้สึกขอบคุณที่ ไม่แปลคำว่า Arc second เป็นอาร์ควินาที เห็นหลายที่นักวิชาการหลายคน ชอบแปลว่า อาร์ควินาที เพราะมันไม่มีความหมายอะไรตามหลักภาษาไทย
@AkkaravutIntirat
@AkkaravutIntirat Ай бұрын
ไหนๆก็ติดตามกันมานานแล้วอยากฟังเรื่องวัสดุที่นำมาทำแว่นออฟตัส แบบเจาะลึกครับว่าทำมาจากอะไรทั้งขาแว่นและเลนส์
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
เอาข้อมูลนี้ไปก่อนได้ครับ spaceth.co/shape-memory-alloy/
@chvb8356
@chvb8356 Ай бұрын
วิธีนี้ใช้วัตที่ดินด้อยครับ
@redrighthand967
@redrighthand967 Ай бұрын
ขอบคุณค้าบ คนคิดสมการ คิดได้ไงเนี่ย
@gotosleep8307
@gotosleep8307 Ай бұрын
ถ้าดวงจันทร์ไททันสามารถอยู่ได้ ท้องฟ้าคงจะสวยจับใจ😊
@newmboy8659
@newmboy8659 Ай бұрын
เหมือนดาว pandora ใช่มั้ย
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
เป็นอีกหัวข้อที่น่าเล่ามากครับ
@gotosleep8307
@gotosleep8307 Ай бұрын
@@curiosity-channel ขอบคุณครับผม รอครับ☺️
@gotosleep8307
@gotosleep8307 Ай бұрын
@@newmboy8659 ใช่ครับ คงจะเกินจินตนาการไปมาก
@Rinjitnakorn
@Rinjitnakorn 10 күн бұрын
ขอบคุณครับ❤❤❤
@user-fl1jt6yw6e
@user-fl1jt6yw6e Ай бұрын
วิธีพาราแลกซ์มันจะเป็นสามเหลี่ยมด้านเท่าแบบนั้นได้อย่างไรนะครับในเมื่อกว่าที่โลกจะไปอยู่ด้านตรงข้ามของดวงอาทิตย์ในอีก 6 เดือน ดวงอาทิตย์ก็เคลื่อนที่ไปอีกมากด้วยความเร็วที่โคจรไปรอบกาแลกซี รวมถึงดวงดาวอ้างอืงก็เคลื่อนที่ใน 6 เดือนด้วยเช่นกัน
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
มันอยู่ไกลมากๆ จนในมุมมองจากโลกมันแทบไม่ขยับเลย 6 เดือนมันสั้นมากๆ จึงสามารถใช้วิธีนี้ได้ครับ อย่างที่เราเห็นภาพเนบิลล่าสวยๆ ต่างๆ ที่ถ่ายด้วย hubble ผ่านมา 40 ปี เราถ่ายมันอีกทีด้วย jwst เราก็เห็นมันเหมือนเดิม แทบไม่เปลี่ยนแปลงเลย. ทั้งๆที่ก๊าสพวกนั้น กระจายตัวเร็ว ระดับพัน/ระดับหมื่นกิโลเมตรต่อวินาที แต่จากมุมมองของเรา 40 ปีแล้ว ยังนิ่งสนิท
@group-54kanyaluck99
@group-54kanyaluck99 Ай бұрын
เดี๋ยวนี้ใช้กล้องtotal station ยิงได้หมดค่ะ สะดวกดี หรือไม่ก็ใช้ rtk ระบุตำแหน่งนั้นๆเลยค่ะ
@peetsayumpoo2837
@peetsayumpoo2837 Ай бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้น่ะครับ ทำคลิปเรื่องอวกาศเยอะๆน่ะครับ ขอบคุณครับ 🙏
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
ขอบคุณคร้าบ
@anonymousjustnoname7074
@anonymousjustnoname7074 Ай бұрын
ปัจจุบันผมใช้ total station แทนที่ theodolite แล้วครับ total station สามารถคำนวณระยะและมุมของความเป็นค่า coordinate ได้เลยครับ
@anonymousjustnoname7074
@anonymousjustnoname7074 Ай бұрын
แต่สุดท้ายแล้วพื้นฐานมันก็มาจากเรื่องเดียวกันแหละครับ แค่ใช้ตัวกล้องคำนวณให้ การวัดระยะก็ทำโดยการยิงเลเซอร์จากกล้องให้ไปรีเฟล็กซ์กับปริซึมแทนที่จะดึงเทปวัดระยะครับ
@A.X.Y.Z.A
@A.X.Y.Z.A Ай бұрын
อยากรู้รายละเอียดของยุคต่าง ๆ ของธรณีกาล
@user-ul8pr8fi9p
@user-ul8pr8fi9p Ай бұрын
สงสัยมาตั้งนาน จะวัดยังไง กับวัดแสงดวงดาว ในเมื่อมองมัน แสงดาวมันก็อยู่ตรงนั้นอยู่แล้ว แล้วจะรู้ได้ยังไงว่ามันหางกี่ปีแสง
@SakuraNami2618
@SakuraNami2618 Ай бұрын
มาปูเสื่อรอแล้วค่า
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
มาคนแรกๆเลยวันนี้
@Issara87
@Issara87 Ай бұрын
จะว่าพวกเราในความหมายของมนุษย์ก็ใช่ แต่อายเขา คงต้องยกความเก่งให้ชาวอเมริกา ที่ความมุ่งมั่นและทะเยอทะยานของชาติเขา ทำให้ได้องค์ความรู้มาสั่งสอนชาติล้าหลังอย่างเรา ชาติที่ไม่ค่อยสงสัยอยากรู้อยากเห็นความรู้ใหม่ๆที่หายากๆ
@mongkhonwetchakan9825
@mongkhonwetchakan9825 Ай бұрын
หายไปนานเลยทำคลิปให้ดูบ่อยๆนะชอบมาก
@nedstark9238
@nedstark9238 Ай бұрын
รอฟังครับ
@user-นาย_ต้นไม้
@user-นาย_ต้นไม้ Ай бұрын
ง่ายๆลยเราใช่เวลาในการวัดความห่างระหว่างดวงดาว❤❤❤❤
@kriangkraiSteve
@kriangkraiSteve Ай бұрын
เห็น sin, cos, tan แล้วรู้สึกหัวจะปวด😅
@kanakorn
@kanakorn Ай бұрын
ดวงดาวมีมวล มีธาตุอะไร ก็น่าสนใจนะครับ อยากให้ช่วยอธิบายครับ ขอบคุณครับ
@Popover420
@Popover420 Ай бұрын
ขอบคุณครับ
@user-oq2kj3li8b
@user-oq2kj3li8b Ай бұрын
1+1=12 2+2=24 3+3=36 ทุกๆการ+ของตัวเลขยกกำลัง6 เมื่อเรา ออกนอกขอบ กาแลคซี่ จาก1ปีแสง เป็น มันจะเพิ่มไป อีก เมื่อเรา หนีห่าง จาก ใจกลาง
@sakdarchungpun6806
@sakdarchungpun6806 25 күн бұрын
เคยเรียนวิชา "กลศาสตร์ของไหล" ว่ากันว่า ของเหลว จะไม่ยุบตัว ผมพยายามจิตนาการว่า ถ้าของเหลว เช่นน้ำมันไฮดรอริก ถ้าเข้าไปอยู่ในหลุมดำ จะเป็นอย่างไร จะยุบตัวหรือไม่ จะยุบอย่างไร หรือว่า ทุกกฏทางพิสิกส์ จะใช้ไม่ได้ในหลุมดำ
@curiosity-channel
@curiosity-channel 25 күн бұрын
มีความโน่มถ่วงมากๆ ของเหลงกลายเป็นของแข็งครับ ขนาดก๊าซยังกลายเป็นของแข็งเลยครับ
@sakdarchungpun6806
@sakdarchungpun6806 24 күн бұрын
@@curiosity-channel อืมม ผมลืมนึกถึงตรงที่กลายเป็นของแข็งจริงๆ (คนเราบทจะเซ่อ..555+) ขอบคุณครับ
@supojsaneewong7684
@supojsaneewong7684 Ай бұрын
ผมว่าทั่วทั้งเอกภพเวลา เดินเท่ากันหมด เพียงแต่ระยะห่างในการเดินทางไปถึงต่างหาก ทำให้ยาวนาน
@tanakittana5635
@tanakittana5635 Ай бұрын
รอ วัดระยะดาวแปรแสง ต่อ
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
เดี๋ยวมาแน่ๆ ครับ
@TCHAIKACHARL
@TCHAIKACHARL Ай бұрын
ถ้าเกิดว่าเรามีเทคโนโลยีที่มองไปไกลมากๆ เราจะเห็นจุดเริ่มต้นของจักรวาลรึเปล่า
@tummodtum5556
@tummodtum5556 Ай бұрын
เเสงยังมาไม่ถึงมั้งครับ😅
@fudeenwkj6670
@fudeenwkj6670 Ай бұрын
เห็นแล้วครับ
@chkrox7776
@chkrox7776 Ай бұрын
CMBR
@WorasakJaichalad
@WorasakJaichalad Ай бұрын
อยากฟังเรื่อง ดาวเคราะห์น้อย ชนิดวงโคจรต่างๆครับ
@user-vd7vs5th7z
@user-vd7vs5th7z Ай бұрын
เรามองไปอดีตแล้วอนาคตหละ
@AitKub2300
@AitKub2300 Ай бұрын
ไม่ได้ครับ ตรงที่อยู่นี้ที่เราอยู่คือปัจจุบัน และเมื่อวัตถุนั้นยิ่งห่างเท่าไรความต่างของเวลาจะยิ่งมากขึ้นเท่านั้น
@suantua
@suantua Ай бұрын
วิธีหนึ่งที่จะไปอนาคตได้คือ การแช่แข็งตัวเราเหมือนในหนัง แล้วไปฟื้นในโลกอนาคต ในความรู้สึกของเรา"น่าจะ"เหมือนหลับไปแล้วตื่นขึ้นมาเห็นอนาคต แต่ข้อเสียคือเมื่อไปอนาคตแล้วจะกลับมาปัจจุบันไม่ได้ ไปแล้วไปเลย
@chkrox7776
@chkrox7776 Ай бұрын
ไม่มีอดีต ไม่มีอนาคต มีแต่เกิดขึ้นไปแล้วแต่เพิ่งจะรับรู้ , กำลังเกิดขึ้น แต่ยังไม่รับรู้, ยังไม่เกิดขึ้น ยังไม่รับรู้ และ ยังไม่รับรู้ แต่คาดว่าจะรับรู้ว่าเกิดขึ้น
@AitKub2300
@AitKub2300 Ай бұрын
@@chkrox7776 แล้วจะยาวไปเพื่ออะไร ก็อดีตกับอนาคตนั้นแหละ เกิดขึ้นไปแล้วพึ่งรับรู้ก็คืออดีตเพราะถ้ารู้ตอนนั้นมันคือปัจจุบัน และที่ยังไม่รับรู้แต่คาดว่าจะรับรู้ก็คืออนาคต ส่วนที่ว่ายังไม่เกิดขึ้น ยังไม่รับรู้ อันนี้ไม่ใช้อนาคตและอดีตหรือปัจจุบันเพราะเหตุไม่มี ผลก็ไม่เกิด
@AitKub2300
@AitKub2300 Ай бұрын
@@chkrox7776 เรียงอย่างงี้ อนาคตคือผลของปัจจุบัน ปัจจุบันคือผลของอดีต อนาคตเปลี่ยนได้ ไม่มีหรอกฟ้าลิขิต
@chonehi-revengine216
@chonehi-revengine216 26 күн бұрын
หายสงสัยสักทีครับ ชอบแนวนี้มากๆครับให้ความรู้จะได้เข้าใจ เผื่อมีไอเดียใหม่ๆนำความรู้ไปใช้ครับ
@leoleesi9334
@leoleesi9334 Ай бұрын
Thanks!
@OngSK1983
@OngSK1983 Ай бұрын
สวัสดีค้่าบบบ
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
สวัสดีครับพี่อ๋อง
@nop7140
@nop7140 Ай бұрын
ผมสงสัยมาตลอดว่าเค้าวัดระยะของดวงดาวยังไง พอไปหาอ่านเองก็งง แต่พอดูคลิปนี้คือเข้าใจเลยครับขอบคุณครับ
@user-bh2hv1zp7y
@user-bh2hv1zp7y Ай бұрын
คลิปนี้น่าสนใจ
@NiPNUH
@NiPNUH Ай бұрын
หัวข้อนี้แหละครับ ที่ทำให้ผมอยากเรียนฟิสิกส์ อยากหาวิธีอื่นที่สามารถใช้วัดระยะทางระหว่างดวงดาว
@monthevoicestudiomovie1925
@monthevoicestudiomovie1925 Ай бұрын
เราคือ ชิ้นส่วนดาวเคราะห์ที่มีชีวิตแหละสื่อสารกันได้มันน่ามหัศจรรย์ใจจริงๆ
@lovelove-gc1hg
@lovelove-gc1hg Ай бұрын
อยากรู้ว่า.ทำไมฝรั่งถึง.ต้องใช้ท่อน้ำเป็นท่อทองแดงครับ. 🤔
@Flatearth_are_suck
@Flatearth_are_suck Ай бұрын
ยืดหยุ่น บิดงอง่าย ที่สำคัญ ไม่เป็นสนิม ท่อเหล็กจะเป็นสนิมง่าย ท่อ PVC ก็ไม่ทน อายุใช้งาน ไม่ถึง 20 ปี ด้วยซ้ำ
@user-di7dc9ei4u
@user-di7dc9ei4u Ай бұрын
คลิปตอนนี้เป็นประโยชน์กับผมมากในการเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สมัยมัธยมฯ กับปรากฏการณ์ในธรรมชาติและการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตจริง ขอบคุณมากครับ
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
ยินดีเลยคร้าบ
@vr2qu611
@vr2qu611 Ай бұрын
ผมยังสงสัยอยู่ทุกวันว่า การที่มนุษย์เกิดขึ้นมาในเอกภพเนี่ย มันคือความน่าจะเป็นน้อยมากแค่ไหนในจักรวาล ธาตุที่ไม่มีอะไรอย่าง Hydrogen มาชนหลอมรวม จนเกิดมาเป็น มนุษย์ทุกวันนี้
@koffeehour8007
@koffeehour8007 Ай бұрын
คอนเทนเริ่มเก่าแล้วนะครับ ข้อมูลเดิมๆ
@sosad8334
@sosad8334 Ай бұрын
เขาทำมาเพื่อแก้ข้อสงสัยของพวกที่ชอบบอกว่า"รู้ได้ไง ใช้อะไรวัดระยะทางไกลขนาดนั้นบลาๆๆๆๆๆ" เขาไม่ได้สนว่าคอนเทนต์มันจะเก่าขนาดไหน
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
ผมชอบเรื่องเก่าครับ ไม่มีปัญหาเรื่องเวลาและกระแส ดูเมื่อไหร่ก็ได้ ไม่ outdate และเนื้อหายิ่งเก่า หมายถึงมันถูกทดสอบ ถูกพิสูจน์มาจนนิ่งและเป็นที่ยอมรับระดับนึงแล้ว ในเรื่องวิทยาศาตร์ผมจะไม่ค่อยชอบเรื่องใหม่ๆ แบบทำข่าวสักเท่าไหร่ เพราะมันยังไม่ถูกทดสอบมากพอ (นอกจากเรื่องที่ผมสนใจจริงๆ) อย่างเรื่องหลุมดำ กาลอวกาศ ก็เก่านะ ทฤษฎีต่างๆ หลักร้อยปีทั้งนั้น ถูกท้าทายถูกทดลองซ้ำจนพรุน พิสูจน์ว่าถูกต้องแล้ว แต้ถ้าทำเรื่องข่าวหรือเทคโนโลยี อันนี้ก็ต้องใหม่หน่อย เป็นธรรมชาติของคอนเทนต์
@suantua
@suantua Ай бұрын
ช่องนี้เป็นคอนเทนต์ที่ให้ความรู้จ้า ไม่ใช่ช่อง Breaking News ถ้าเข้าใจตรงนี้มันก็จบตรงนี้
@datekit9789
@datekit9789 Ай бұрын
@@curiosity-channel ผมชอบความเห็นนี้นะ 😍 หลายคน มักคิดบ่อย ๆ ว่า " วิทยาศาสตร์ " ทั้งหมดถูกต้องถึงที่สุดแล้ว โดยลืมบ่อย ๆ ว่า วิทยาศาสตร์ถูกต้อง ณ. เวลานี้เท่านั้น แต่ วิทยาศาสตร์ซึ่งถูกพิสูจน์ซ้ำ ๆ มาแล้วซัก 100 ปี แล้วต่างหาก จึงจะผิดได้ยากขึ้น 🤔 🤔
@user-rc2rn2dr3k
@user-rc2rn2dr3k Ай бұрын
ทำไมดวงจันทร์มันไม่หมุนรอบตัวเองคับ
@Rodryg-1-1
@Rodryg-1-1 Ай бұрын
หมุนนะครับ แต่เวลาหมุน กับเวลาโคจรรอบโลกมันเท่ากันเลยทำให้เห็นดวงจันแค่ด้านเดียว
@tummodtum5556
@tummodtum5556 Ай бұрын
มันโดนแรงไทดัลของโลกดึงไว้ ทำให้มันหันหน้าหาโลกด้านเดียว
@politicfamily4323
@politicfamily4323 Ай бұрын
มันขี้เกียจครับ
@user-rc2rn2dr3k
@user-rc2rn2dr3k Ай бұрын
@@politicfamily4323 สงสัยถ่านหมด
@Jihad_Bung_kai
@Jihad_Bung_kai Ай бұрын
ดวงอาทิตย์ในระบบสุริยะเรา โคจรรอบ หลุมดำ งี้จะรู้ได้ไงว่าหลุมดำนี้ห่างจากโลกกี่ปีแสง? 😮
@one_man_shownutthawut671
@one_man_shownutthawut671 Ай бұрын
ก็ค่าระยะทางในจักวาลมันห่างกันจนใช้เป็นปีเเสงเเทน อะไรที่มีเเสงเปร่งให้รู้ตำแหน่งก็เอาเเสงมาคำนวน หลุมดำก็มีเเสงที่ขอบฟ้าเหตุการณ์ที่สว่างมากก็เลยรู้นะยะทางหลุมดำได้
@supojsaneewong7684
@supojsaneewong7684 Ай бұрын
เราสร้างแสงเลเซอร์ที่มีความแรง ยิงไปในอวกาศไม่ได้เหรอ ให้ไปได้ไกลสัก 1000000 ปีแสง ถ้ามนุษย์ต่างดาวเห็น จะได้นำทางมาหาเราไงล่ะ 555
@AmphonYonchuenchom
@AmphonYonchuenchom Ай бұрын
🎉🎉🎉🎉
@mycustomchannel6988
@mycustomchannel6988 Ай бұрын
ผมไม่ค่อยเชื่อ ว่าเราเพิ่งเริ่มต้น ผมคิดว่าเราเคยยิ่ฃใหญ่ในจักรวาลมาก่อน
@Birdsiam39
@Birdsiam39 Ай бұрын
❤️❤️❤️
@user-ed5ji4lp5o
@user-ed5ji4lp5o Ай бұрын
🎉
@สมาคมฟิสิกส์X
@สมาคมฟิสิกส์X Ай бұрын
สวัสดีครับ
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
สวัสดีครับท่านเลขาสมาคม
@user-mz2pb9pt7s
@user-mz2pb9pt7s Ай бұрын
เเสงจากอดีต.. เดี๋ยวนะ เเสงอายุโครตยืนเลย จากคลิปไหนไม่รู้ที่พี่เคยเล่า บอกเเสงเเรกจากเอกภพคือมาจากเมื่อ 13,800 ล้านปี ทำให้ผมสงสัยว่าทำไมเเสงถึงเดินทางได้นานเเละไกลขนาดนั้นโดยไม่สลายหายไป
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
โฟตอน ไม่มีวันสลายครับ ถ้าไม่ถูกอะตอมของสสารดูดซับไปเป็นพลังงานของอะตอม พลัลงานของระบบจะท่าดิมเสมอ กฎอนุรักษ์พลังงาน แสงคือพลังงาน อย่างมากคือ ความยาวคลื่นยืดออกตามการขยายตัวของเอกภพ จนตรวจจับยากมาก ถึงตรวจจับไม่ได้
@user-tl1cb3nk2s
@user-tl1cb3nk2s Ай бұрын
เม้นที่5😁
@leoleesi9334
@leoleesi9334 Ай бұрын
ขอสนับสนุน รายการดีๆมีประโยชน์ของท่านครับ
@Kju653
@Kju653 Ай бұрын
มนุษย์ต่างดาวมีอยู่จริง.เราอยู่ในฟองสบู่แล้วฟองสบู่ลอยอยู่บนพื้นผิวอะไรครับหรือเป็นสสารมืด
@chatchaisunarin8989
@chatchaisunarin8989 Ай бұрын
พี่เอกสลับหลับตาซ้ายตาขวาเก่งมากผมทำได้ข้างเดียว😂หนึ่งในแสนล้านแน่นอน
@MrNeoNos
@MrNeoNos Ай бұрын
Thanks!
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
ขอบคุณมากครับ
ตัวกรองอารยธรรม (The Great filter)
24:46
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 65 М.
女孩妒忌小丑女? #小丑#shorts
00:34
好人小丑
Рет қаралды 84 МЛН
ROLLING DOWN
00:20
Natan por Aí
Рет қаралды 11 МЛН
ISSEI & yellow girl 💛
00:33
ISSEI / いっせい
Рет қаралды 25 МЛН
Get 10 Mega Boxes OR 60 Starr Drops!!
01:39
Brawl Stars
Рет қаралды 19 МЛН
จุดจบเอกภพ ตอนที่ 3 อวสานเชิงความร้อน (Heat Death)
28:51
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 80 М.
Snowball Earth ครั้งเมื่อโลก กลายเป็นลูกบอลหิมะ
29:29
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 219 М.
ปริศนา ก๊าซมีเทน บนดาวอังคาร
17:35
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 35 М.
The Quilted Multiverse เอกภพคู่ขนานแบบผ้าควิลต์
24:52
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 51 М.
Dark Oxygen ออกซิเจนมืด มาจากไหน?
19:09
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 170 М.
女孩妒忌小丑女? #小丑#shorts
00:34
好人小丑
Рет қаралды 84 МЛН