วิวัฒนาการของภาษาอังกฤษ จากยุคชนพื้นเมืองสู่ Modern English ของเชกสเปียร์ | 8 Minute History EP.97

  Рет қаралды 243,216

THE STANDARD PODCAST

THE STANDARD PODCAST

Күн бұрын

เอพิโสดนี้จะพาไปเรียนรู้ประวัติศาสตร์วิวัฒนาการภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นภาษาสากลที่เป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรมโลก รวมทั้งมีส่วนผสมของภาษาที่หลากหลาย เนื่องด้วยประวัติศาสตร์ที่ยาวนานนับตั้งแต่การรุกรานของโรมันและไวกิ้ง จนนำไปสู่การปกครองดินแดนอังกฤษด้วยราชวงศ์ฝรั่งเศส และสิ้นสุดด้วยบุคคลสำคัญอย่าง วิลเลียม เชกสเปียร์ ผู้รังสรรค์ภาษาอังกฤษให้เป็น Modern English ที่ถูกใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน
Time Index
00:00 Introduce
02:10 ภาษาอังกฤษยุคเก่า (Old English)
05:07 การขยายอาณาเขตของชาวไวกิ้ง
06:58 การปกครองโดยราชวงศ์ฝรั่งเศส
08:46 ภาษาอังกฤษสมัยกลาง (Middle English)
12:16 ภาษาอังกฤษยุคใหม่ (Modern English)
---------------
ติดตาม 8 Minute History ในช่องทางต่างๆ
Apple Podcasts: apple.co/3cfxNjL
Spotify: spoti.fi/3ejXUsM
Website: thestandard.co/podcast_channe...
SoundCloud: bit.ly/8minutes-history
#ประวัติศาสตร์ #ภาษาอังกฤษ #8MinuteHistory

Пікірлер: 124
@TheStandardPodcast
@TheStandardPodcast 2 жыл бұрын
หากผู้ฟังมีประวัติศาสตร์ที่ท่านสนใจ แล้วอยากจะให้รายการ 8 Minute History เล่าให้ท่านฟัง ท่านสามารถแนะนำได้ที่ใต้คอมเมนต์นี้ได้เลยนะคะ ขอบคุณผู้ฟังทุกท่านสำหรับหัวข้อที่ทุกท่านจะแนะนำเข้ามาค่ะ 02:10 ภาษาอังกฤษยุคเก่า (Old English) 05:07 การขยายอาณาเขตของชาวไวกิ้ง 06:58 การปกครองโดยราชวงศ์ฝรั่งเศส 08:46 ภาษาอังกฤษสมัยกลาง (Middle English) 12:16 ภาษาอังกฤษยุคใหม่ (Modern English)
@OnawevolO
@OnawevolO 2 жыл бұрын
Norse mythology นับเป็น ประวัติศาสตร์มั้ยครับ 55
@Faruox
@Faruox 2 жыл бұрын
ขอเรื่องตัวเลข 1234567890 กับ ١٢٣٤٥٦٧٨٩٠ ด้วยครับ
@1475qaz
@1475qaz 2 жыл бұрын
อยากให้รายการเล่าประวัติศาสตร์ สงครามครูเสดให้ฟังหน่อยครับ
@user-st1hz2pd3p
@user-st1hz2pd3p 2 жыл бұрын
สวัสดีครับท่าน ติดตามช่องนี้มานานพอสมควร ไหนๆก็ทำ theme ประวัติศาสตร์ ขอแนะนำคอนเทนต์ 1. ทีมฟุตบอลสอดคล้องกับประวัติศาสตร์ การเมืองการปกครอง หรือวัฒนธรรมของชาตินั้นอย่างไร เผื่อดึงผู้ฟังสายฟุตบอล(ซึ่งเยอะพอสมควร) มีแนวโน้มขยายคอนเทนต์ได้เยอะ 2. ประวัติศาสตร์ของศิลปะและดนตรีแนวต่างๆ 3. ประวัติศาสตร์วงการบันเทิง เช่น แอนิเมชั่น ภาพยนตร์ 4. แฟชั่นการแต่งตัวแต่งตัวในแต่ละยุคสมัย 5. การดำรงชีวิตประจำวันจองแต่ละภูมิภาคในแต่ละยุคสมัย เช่น อาหารการกิน การซักผ้า บ้านเรือน การเงิน etc. แล้วแต่ท่านลองพิจารณาดู ขอบคุณครับ
@user-ij2km1ci6m
@user-ij2km1ci6m 2 жыл бұрын
อยากให้พี่เล่าเกี่ยวกับยิปซีให้ฟังหน่อยครับ
@user-st1hz2pd3p
@user-st1hz2pd3p 2 жыл бұрын
อาจารย์(10ปีที่แล้ว)เคยสอนว่า ภาษาไทยเกือบตายเพราะไดโนเสาร์แต่โชคดีได้สก๊อยช่วยไว้ เพราะภาษาถ้าไม่มี Pop Culture หรือกระแสคำใหม่ๆโดดเด่น ภาษานั้นจะตาย เช่น บาลีสันสกฤต ส่วนภาษาฝรั่งเศสในภาษาอังกฤษส่วนมาดจะเป็นคำทางการ(เพราะฝรั่งเศสปกครอง) เอาง่ายๆ เช่น ความต้อง want กับ desire หรือ requirement แล้วก็พวกคำที่มี suffix -sion ลงท้ายนี่เยอะเลย
@prawitjaidee9461
@prawitjaidee9461 2 жыл бұрын
อีกหนึ่งจุดเด่นของภาษาอังกฤษคือ ตัวอักษร ที่ดูเรียบง่าย เหมาะสมแล้วที่เป็นภาษากลางของโลก
@MrHeyki0086
@MrHeyki0086 10 ай бұрын
+1
@user-wm3ml5ju7u
@user-wm3ml5ju7u 6 ай бұрын
ภาษาเขมรล่ะ เหมาะใหม
@user-sx9et4uq5o
@user-sx9et4uq5o 5 ай бұрын
😂😂​@@user-wm3ml5ju7u
@Panupong53
@Panupong53 19 күн бұрын
อักษรละตินครับ
@ppockey
@ppockey 2 жыл бұрын
EP นี้ดีมากครับ เป็นเรื่องที่ไม่เคยรู้มาก่อนเลยว่า วรรณกรรมเชคสเปียร์ สร้างภาษาได้ขนาดนี้
@LivinHitz
@LivinHitz 2 жыл бұрын
Podcast EN 103 ปูพื้นสายภาษาได้ดีเลยครับ เข้าใจง่ายจริงๆ
@RhythmByPaino
@RhythmByPaino 2 жыл бұрын
เป็นช่องพอดแคสต์คุณภาพมากๆเลยค่ะ เพิ่งไล่ฟังเพลย์ลิสนี้จนครบถึงคลิปล่าสุดนี้ ได้ความรู้แบบเปิดโลกมาก
@kitjakruemanchariya220
@kitjakruemanchariya220 Жыл бұрын
ด้วยความยินดีที่ใช้เวลารับฟังมากกว่า 8 นาทีครับ ไม่เคยรู้สึกเสียดายเวลาเลย สำหรับคลิปสาระจาก Podcast ขอบคุณทีมงานผู้ผลิตรายการ อย่างสูง
@user-nn5qs4vj8p
@user-nn5qs4vj8p Жыл бұрын
เพื่อนพิธีกรในรายการของท่านเรียกท่านว่าเฮียวิทย์ เพราะเป็นที่สนิทสนม แต่ผมผู้รับความรู้จากท่านของเรียกท่านว่า ดร.วิทย์ หรืออาจารย์วิทย์ นะครับ ขอให้อาจารย์นำเรื่องราวที่เป็นประวัติศาสตร์ สังคมในอดีต เหตุการในอดีต มาเสนอให้มากๆ และบ่อยๆ กว่านี้ได้ก็จะเป็นประโยชน์ต่อสังคมและอนุชนรุ่นหลังนี้อย่างมหาศาล
@narasakpromrat6253
@narasakpromrat6253 2 жыл бұрын
สุดยอดเลยครับอาจารย์ ได้ความรู้เพิ่มขึ้นอีกเยอะเลย
@pauleagle6281
@pauleagle6281 2 жыл бұрын
ผมสังเกตุว่าภาษาอังกฤษก่อนมี norman conquest จะเป็นคำสั้นๆออกเสียงห้วนๆ เช่น dog, cat, pig, ox, cock (ไก่ตัวผู้) Duke of Normandy เมื่อปกครองอังกฤษก็ เอาภาษาฝรั่งเศสมาใช้ในราชสำนัก พวกอาหารที่เสิฟบนโต๊ะใช้คำฝรั่งเศสที่ดัดแปลงเป็นอังกฤษ เช่น boeuf (ฝรั่งเศส) เป็น beef, poulet (ฝรั่งเศส) เป็น poultry คำฝรั่งเศสออกเสียงลากยาวกว่าคำอังกฤษ นอกจากนั้น คำพวกที่ลงท้ายด้วย ..ion ทั้งหลายมาจากฝรั่งเศส/ลาติน ผมคิดว่าคำไวกิ้งน่าจะใช้มากในอังกฤษ ศัพท์เกี่ยวกับครอบครัว เช่น husband, wife, in-law หรือนามสกุลลงท้ายด้วย ..son มาจากไวกิ้ง หมายถคงลูกของ เช่น stephenson หมายถึง ลูกของ stephen ถ้าแบบไทยอาจเรียกว่า stephenบุตร Duke of Normandy เป็นลูกครึ่งไวกิ้ง-ฝรั่งเศส พ่อเป็นหัวหน้าไวกิ้งรุกรานไปทั่ว กษัตร์ฝรั่งเศสรำคาญเลยยกดินแดนให้หาเมียให้กับหัวหน้าไวกิ้ง ลูกออกมาคือ Duke of Nornandy ดินแดนที่ยกให้เรียกแคว้น Normandy รากศัพท์มาจาก norse man คือคนทางทิศเหนือ
@ITTOdesu
@ITTOdesu 2 жыл бұрын
William the conqueror ไม่ใช่ชาวฝรั่งเศส แต่เป็นชาวนอร์แมนที่สืบเชื่อสายมาจากชาวไวกิ้ง แต่มาตีชาวแฟรงก์ที่ตั้งถิ่งฐานอยู่ในบริเวณนั้นชนะแล้วเลยตั้งเมืองนอร์มังดีขึ้น
@user-om9rw2fl2k
@user-om9rw2fl2k 2 жыл бұрын
ผมก็อยากรู้มานานละครับยิ่งประเทศในยุโรปเกือบทุกประเทศ ภาษาของแต่ละเทศใกล้เคียงกันมาก
@user-bq6tt2fx4n
@user-bq6tt2fx4n 2 жыл бұрын
เข้าใจ prefix-suffix แปลง่ายขึ้นมากๆ จริงนะ
@angdaybest6721
@angdaybest6721 2 жыл бұрын
สุดยอดเลยค่ะ👍👍👍👍👍🌹🌹🌹🌹🌹
@pimmadawailom1014
@pimmadawailom1014 2 жыл бұрын
ชอบมากเลยค่ะ
@keizoldick
@keizoldick 2 жыл бұрын
ชอบพอดแคสต์หัวข้อนี้มากเลยค่ะ ชอบที่คนพูดมีความรู้ทางด้านภาษามากๆด้วย สำเนียงดีมาก ฟังเพลินเลยค่ะ
@pigweedbro4268
@pigweedbro4268 2 жыл бұрын
ชอบคอนเท้นต์นี้จัง ถ้าได้เนื้อหาของภาษาไทยด้วยคงดีไม่น้อย
@hugyoulikeakid
@hugyoulikeakid 2 жыл бұрын
คลิปฟังง่ายมากเลยค่ะ
@pasineehomhual1545
@pasineehomhual1545 2 жыл бұрын
ว้าวชอบตอนนี้มาก
@Ninlakarn
@Ninlakarn 2 жыл бұрын
เยี่ยมครับ
@ivs8558
@ivs8558 10 ай бұрын
ช่วงอธิบายวิวัฒนาการของวรรณคดีอังกฤษกับอเมริกัน ทุกสมัย สรุปให้ฟังแบบเข้าใจง่ายให้หน่อยได้มั้ยคะ ขอบคุณนะคะ
@waranshelly1048
@waranshelly1048 Жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับข้อมูลมากๆเลยค่า แต่งงนิดหน่อยค่ะ 14:40 downstairs เกิดจาก นาม 2 คำยังไงนะคะ เพราะ down ไม่น่าจะใช่คำนาม และจากที่ดูตัวอย่าง “well-educated” well เป็น adverb (คำวิเศษณ์) “ill-tempered” ill ในที่นี้ก็น่าจะเป็น adverb อีกเช่นกัน ไม่น่าจะเป็น adjective
@siripansingpai6231
@siripansingpai6231 2 жыл бұрын
hay quá Phúc ơi, nổi cả da gà luôn nè, thấm vào từng mạch máu
@devdbos
@devdbos 2 жыл бұрын
แจ่มครับ
@jeetubechannel5778
@jeetubechannel5778 2 жыл бұрын
รักลุงวิทย์ครับ น้ำเสียงลุงฟังแล้วเพลินแถมได้ความรู้
@John_Xina.007
@John_Xina.007 2 жыл бұрын
ชอบอีพีนี้มาก
@pinocchiolala159
@pinocchiolala159 2 жыл бұрын
ราชวงศ์นอร์แมนพูดภาษาฝรั่งเศสแบบนอร์มองดี แต่ราชวงศ์แพลนทาเจเนต ในราชสำนักคือพ่นภาษาฝรั่งเศสสำเนียงปารีสใส่กันรัวๆ ไม่มียั้งเลย
@lawyergamer9512
@lawyergamer9512 Жыл бұрын
ขอแย้งนิดนึงครับ.... คำว่า powerful มีใช้มาตั้งแต่ก่อนสมัย Shakespeare แล้วครับ ผมเคยเจอในงานเขียนของ Edmund Spenser.... เป็นช่วงก่อน Shakespeare นิดนุง
@Annie-kq1xm
@Annie-kq1xm 2 жыл бұрын
อยากให้วิวัฒนาการภาษาไทยบ้างค่ะ
@kopterbenz5771
@kopterbenz5771 2 жыл бұрын
17:25 ภาษาอังกฤษมีมาตรฐาน แต่ไม่ใช่ภาษาที่ตรงไปตรงมาเลยครับ เรียนรู้ยากมากครับ มีข้อยกเว้นในภาษาเยอะแยะเต็มไปหมด ต่างจากภาษาที่ผ่านมาชำระภาษามาแล้วหลายๆภาษาอย่างมาก (รวมถึงภาษาไทยที่ยังไม่ผ่านการชำระภาษาเช่นกัน)
@oviritygm5149
@oviritygm5149 2 жыл бұрын
อธิบายการชำระภาษาเพิ่มเติมได้มั้ยครับ
@punyaphonrasika
@punyaphonrasika 2 жыл бұрын
ขอวิวัฒนาการภาษาไทยบ้างค่ะ
@successcollege4283
@successcollege4283 Жыл бұрын
Thank you.
@user-lz2mp3yy1r
@user-lz2mp3yy1r 2 жыл бұрын
นอกเรื่องนิดนึงครับ ถ้าดูตาม ปวศ เผ่าพันธุ์ที่ครองโลก(มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก)คือพวกฝรั่งหัวทอง บรรพบุรุษของเผ่านี้อนารยชนเยอรมัน ที่เมื่อก่อนถูกพวกโรมันเรียกว่าชนป่าเถื่อนไร้การศึกษานอกรีต แต่เป็นอนารยชนเยอรมันนี้เองที่โค่นจักรวรรดิโรมัน ต่อมาจึงเป็นเผ่า แฟรง,ฮั่น,กอธ,วิสิกอธ,ลอมบาค,แองโกล,แซ๊กซอน,แม้กระทั่งไวกิ้ง ผ่านกาลเวลามาจนปัจจุบันมาเป็นชาติมหาอำนาจ อเมริกา,บริติส,ฝรั่งเศษ,รัฐเซีย,เยอรมัน,อิตาลี และอื่นๆ สรุปคือบรรพบุรุษของเผ่าพันธุ์ที่ครองโลกอยู่ คือ อนารยชนเยอรมัน(พวกฝรั่งผิวขาวหัวทอง) การกล่าวเช่นนี้ถูกต้องไหมครับ
@wanamwiang3032
@wanamwiang3032 2 жыл бұрын
ถูกต้องครับ ถ้าสังเกตุส่วนใหญ่สิ่งที่ดูทันสมัยดูหรูเเละอารายะจะมาจากทวีปยุโรปที่มีพวกหัวทองพวกนี้ทั้งนั้น ทั้งความรู้การศึกษาภาษา ศาสนาคริสต์ สถาปัตนกรรมใดๆคือพวกนี้เอามาเผยเเพร่ทั้งนั้น. คือไม่เเปลกใจที่ศาสนาคริสต์มีคนนับถือมากที่สุดไนโลกเเละภาษาอังกฤษที่เป็นภาษาสากล.
@user-ld9tl7bz4v
@user-ld9tl7bz4v Жыл бұрын
@@wanamwiang3032 สังคมเมืองมาก่อนและตัวเร่งคือสงครามนี้แหละ
@formoret1649
@formoret1649 2 жыл бұрын
ชอบ ep นี้มากค่ะ เคยเรียนเรื่องนี้ตอนมหาลัยเมื่อ 2 ปีที่แล้ว 55555555555555 ถ้ามีคลิปนี้ตั้งแต่ตอนนั้นน่าจะดีมากกๆๆ 🤣
@mikasa2701
@mikasa2701 2 жыл бұрын
Padcast นี้ดีมากเลยค่ะ กำลังเรียนเรื่องนี้พอดีเลยยยย
@kawhao3757
@kawhao3757 2 жыл бұрын
มีประวัติภาษาอังกฤษอีกไหมอะ
@ppjaisri
@ppjaisri Ай бұрын
เท่าที่เคยอ่านมามีช่วงที่ภาษาอังกฤษเกิด great vowel shift ด้วย อยากรู้ว่ามันมีผลกระทบต่อภาษาอังกฤษยังไงอ่อครับ
@user-nn5qs4vj8p
@user-nn5qs4vj8p Жыл бұрын
ดร.วิทย์ ท่านเป็นบุคคลที่มีคุณค่าต่อสังคมมาก ผมไม่ได้พูดเกินจริง รายการของท่านมีคุณค่าต่อสังคมอย่างยิ่ง ขอให้ท่านโปรดค้นคว้าประวัติศาสตร์ต่างๆ ที่น่าสนใจและคนส่วนใหญ่ยังไม่รู้ นำมาเผยแพร่เสมอๆ เถิดครับ
@MBAPPERMCF
@MBAPPERMCF Ай бұрын
เวอร์ไป แกรู้งูๆปลาๆถ้ารู้จริงต้องผม
@MrNahodtaekodsao
@MrNahodtaekodsao 2 жыл бұрын
นาทีที่ 14:33 บอกว่าเป็นคำสมาสของฝรั่งนั้นไม่ถูกต้องเพราะคำว่าสมาสคือ [สะหฺมาด] น. การเอาศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไปมาต่อกันเป็นศัพท์เดียวตามหลักที่ได้มาจากไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สุนทร + พจน์ เป็น สุนทรพจน์ รัฐ + ศาสตร์ เป็น รัฐศาสตร์ อุดม + การณ์ เป็น อุดมการณ์. (ป., ส.). ที่มาพจนานุกรมราชบัณฑิตย ที่ถูกต้องคือคำประสมเพราะ 1.ฝรั่งไม่ใช้ภาษาบาลีสันสฤต 2.compound noun แปลว่า คำนามประสม 3.คำประสมคือการนำเอาจากภาษาอื่นๆมาสร้างเป็นคำใหม่ เช่น เด็กเนิร์ด เด็ก ภาษาไทย เนิร์ด ภาษาอังกฤษ, นัยน์ตา นัยน์ ภาษาบาลีสันสกฤต ตา ภาษาไทย
@jaohsompongkhonthiang6398
@jaohsompongkhonthiang6398 2 жыл бұрын
คือเค้ายกตัวอย่างพูดให้เข้าใจง่ายรึเปล่าคะ ดูจนจบคิดได้เท่านี้ คือ คลิปนี้ก็บอกแล้วว่าการเกิดของภาษาก็เพื่อใช้สื่อสารระหว่างคนด้วยกัน คำไทย โดยมากศัพท์ได้อิทธิพลจาก คำลาว คำเขมร และสันสกฤต ค่ะ บาลีมีใช้ในพุทธศาสนาเท่านั้น คำไทย ก็คล้ายๆกับในคลิปป้ะ สมัยโบราณ มักมีสงครามเพื่อนกวาดต้อนคนมาเพื่อเป็นแรงงาน โดยเฉพาะหลังเสียกรุงให้พม่า กรุงเทพก็ทำสงครามกวาดต้อนผู้คนมาเป็นแรงงาน ชาวบ้านกลุ่มนี้ต่างก็ใช้ภาษาถิ่นเดิม
@jjmiller6288
@jjmiller6288 2 жыл бұрын
สันสกฤต ตระกูลเดียวกันกับภาษาอังกฤษนะ รู้ป่าว
@MrNahodtaekodsao
@MrNahodtaekodsao 2 жыл бұрын
@@jjmiller6288 ทำไมจะไม่รู้เขาเรียกอินโด-ยูโรเปียนแต่ยังไงก็ผิดอยู่ดีเพราะตามหลักภาษาไทยคำสมาสคือการสร้างคำด้วยภาษาบาลีสันสฤต แต่ภาษาอังกฤษไม่ใช ดังนั้นจะเรียกคำสมาสไม่ได้ต้องเรียกคำประสม
@pinocchiolala159
@pinocchiolala159 2 жыл бұрын
เห็นด้วยครับ จริงๆควรใช้คำว่า การผสมคำ หรือ ใช้คำว่า คำผสมไปเลยอาจจะดีกว่า
@thastayapongsak4422
@thastayapongsak4422 2 жыл бұрын
สมาสก็คือคำประสมแหละครับ นำคำสองคำมาต่อกันเพื่อสร้างคำใหม่
@sper8556
@sper8556 2 жыл бұрын
ถูกใจมากครับ EP นี้ ^^"
@laszo9136
@laszo9136 2 жыл бұрын
ประวัติยูเครนกับรัฐเชียครับ
@BoomBoom-ho4rn
@BoomBoom-ho4rn 2 жыл бұрын
Adjective = คำคุณศัพท์ Adverb = คำวิเศษณ์ แตกต่างกันนะครับ^^
@duquedeespanaborbon7542
@duquedeespanaborbon7542 2 жыл бұрын
ผมอยากทราบความเป็นมาขอภาษาละตินสเปนว่ามีวิวัฒนาการอย่างไรครับ
@bimmoumyx
@bimmoumyx 2 жыл бұрын
ภาษาอังกฤษเรียนเข้าใจง่ายประหยัดเวลาชีวิต เคยเรียนรัสเซียคือไม่ไหวจนต้องดรอป
@hanasakiza3705
@hanasakiza3705 2 жыл бұрын
ภาษาอังกฤษมันน่าจะผสมจนทุกชาติมหาอำนาจยุโรปยอมรับได้เลยยกไห้เป็นภาษากลาง
@lexe7en
@lexe7en 2 жыл бұрын
อยากให้เปลี่ยนชื่อพอดแคสต์จาก8มินิท เป็น20มินิทฮะ น้องว่ามันกำลังดีเลยสำหรับเนื้อหาประวัติศาสตร์
@motaneeutube
@motaneeutube Жыл бұрын
Adjective = คุณศัพท์, Adverb = คําวิเศษณ์
@superman6471
@superman6471 2 жыл бұрын
อยากรู้การเปลี่ยนแปลงการใช้ภาษาพูดของคนไทย ช่วงจาก ร. 1 ถึงปัจจุบันครับ
@ladyydelee7078
@ladyydelee7078 2 жыл бұрын
Soundtrack คือเพลงอะไรใครพอรู้บ้างง
@5minutes.madthai615
@5minutes.madthai615 2 жыл бұрын
ภาษาตระกูลเยอรมันไม่มีค่ะ ภาษาอังกฤษจัดเป็นตระกูลภาษา "อินโดยูโรเปียน" กลุ่มเยอรมันนิกค่ะ เยอรมันนิกเป็นสับเซ็ตกับตระกูลภาษาอินโดยูโรเปียนอีกทีค่ะ
@naithegreat07
@naithegreat07 2 жыл бұрын
อยากให้เล่าเกี่ยวกับวิกฤตมิซไซล์ที่คิวบา
@puminjunhom9323
@puminjunhom9323 Жыл бұрын
มีของภาษาไทยไหมครับ
@MozMarShaLz
@MozMarShaLz 2 жыл бұрын
ภาษาของไวกิ้งก็มีผลกับภาษาอักฤษไม่ใช่น้อยๆ เลยนะครับ เพราะไวกิ้งเนี่ยแหละอังกฤษเลยใช้ตัว S แทนพหุพจน์
@phxrxdxt_
@phxrxdxt_ 4 ай бұрын
ทำไมอิทธิพลทางด้านภาษาถึงข้ามไปอยู่อเมริกาด้วยครับ
@jjmiller6288
@jjmiller6288 2 жыл бұрын
คน saxon ก่อนนับถือคริสต์ ก็นับถือเทพนอร์สมาก่อนนะครับ การที่มีชื่อวัน thursday น่าจะมีมาก่อนอยู่แล้ว ไม่ใช่ว่าไวกิ้งเพิ่งมา
@StellaCrazys
@StellaCrazys 2 жыл бұрын
หือออ ขอแหล่งอ้างอิงครับ
@ekapan9302
@ekapan9302 Жыл бұрын
มีท่านใดพอแนะนำเกี่ยวกับ​ประวัติศาสตร์​ไวยากรณ์​ภาษาอังกฤษ​ได้บ้างครับ
@chayanan7318
@chayanan7318 Жыл бұрын
ได้ความรู้มากๆๆๆเลยคะขอบคุณมากเลยคะ
@user-om9rw2fl2k
@user-om9rw2fl2k 2 жыл бұрын
อยากให้เพจนี้เล่าประวัติศาสตร์การเริ่มต้นของแต่ละประเทศครับ ขอสหรัฐป.แรกครับ,*/+
@Kevin-zd5rs
@Kevin-zd5rs 2 жыл бұрын
2046 ยังดูอยู่ครับ.
@sabudoohoo
@sabudoohoo 2 жыл бұрын
ใช่เสียงพี่สิงห์รึเปล่าครับ
@nitichamp1952
@nitichamp1952 2 жыл бұрын
ไม่ใช่ค่ะ เสียง อ.วิทย์ สิทธิเวคิน
@electrictraveller4430
@electrictraveller4430 2 жыл бұрын
คล้ายภาษาไทย​หรือ​เปล่า​ รวมทุกภาษา​ในภูมิภาค​จนเป็น​ภาษา​ไทย​
@MrNahodtaekodsao
@MrNahodtaekodsao 2 жыл бұрын
ไม่คล้ายเพราะภาษาไทยถึงแม้จะรวมทุกภูมิภาคแต่หลักๆคือบาลีสันสฤต เขมร ที่เหลือก็มาผสมๆเช่น จีน อังกฤษ มลายู
@bbcnx8445
@bbcnx8445 2 жыл бұрын
ยก ตย. ถ้าพูดว่า "ดอยหลวง" คนภาคใต้ก็เข้าใจว่าคือภูเขา แล้ว"เขาหลวงนครศรีธรรมราช" คนเหนือก็เข้าใจเช่นกัน / ส่วน "ฝาย" ก็เป็นภาษาเหนือที่คนทั้งประเทศก็ใช้กันครับ
@winai543
@winai543 2 жыл бұрын
@@bbcnx8445 aa
@anochaothegreat
@anochaothegreat 2 жыл бұрын
Adjective คือคำ​คุณศัพท์​ครับ
@airborne3115
@airborne3115 Жыл бұрын
เฮียวิทย์เล่าประวัติศาสตร์ได้สนุกมากๆ ครับ ภาษามีวิวัฒนาการ แต่ไดโนเสาร์บางประเทศบอกเด็กรุ่นใหม่ทำภาษาไทยวิบัติ มัวแต่เสียเวลากับเรื่องไร้สาระ ผมอยากให้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการแบบสิงคโปร์ด้วยซ้ำ
@user-ld9tl7bz4v
@user-ld9tl7bz4v Жыл бұрын
ภาษาราชการสิงคโปร์มี3ภาษาจีนมาลายูอังกฤษ
@superman6471
@superman6471 2 жыл бұрын
FLOWERY LANGUAGE
@user-pf1op1sd2q
@user-pf1op1sd2q 2 жыл бұрын
ออ นี้เหรอ ที่มา Anglo-Saxon Proto-Indo-European
@diamondcap1915
@diamondcap1915 7 ай бұрын
โซนยุโรปจะใช้การผัน วรรณยุกต์ สระ ต่างจาก อังกฤษ อังกฤษ ออกเสียง ผัน ตรงๆเลย
@MrLemonchang
@MrLemonchang 2 жыл бұрын
มาคนแรกเลยรึเนี่ย
@prachaboongerng4639
@prachaboongerng4639 2 жыл бұрын
ไม่รู้คนที่เท่าไหร่ แต่มาชมแล้ว
@jaime2843
@jaime2843 2 жыл бұрын
คำว่าปริทาเนีย ได้ยินมาจากกาตูน 7 บาป พึงรู้ว่ามาจากพวกโรมตั้งชื่อให้
@NuiGates2456
@NuiGates2456 2 жыл бұрын
คน2ก็ได้มา🤣
@PeterJohnson130
@PeterJohnson130 Жыл бұрын
เย็นชา = iced tea.
@prawitsamansup741
@prawitsamansup741 2 жыл бұрын
คำว่า League คำนี้ มาจากภาษาฝรั่งเศษ ในภาษาอังกฤษ
@themukye8066
@themukye8066 Жыл бұрын
เรียกว่าพัฒนาได้แหละ555 ONE โอน
@VIP-tw1wr
@VIP-tw1wr 2 жыл бұрын
555...ไปยุโรป..ได้ ทหาร ได้เป็น องค์ชาย..มุสลิม อิสลาม อาหรับ เอมิเรตส์..มลายู..อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี อิตาลี ฝรั่งเศส..ไปยุโรป..ได้ อาเซียน ออสเตรเลีย..ครับ
@zengqiuyang88
@zengqiuyang88 2 жыл бұрын
ภาษาจีนคนใช้เยอะที่สุดในโลก
@frogman8341
@frogman8341 2 жыл бұрын
Ouloulololouolou ภาษา Churchill lol
@rzeroth8963
@rzeroth8963 2 жыл бұрын
กลับกันภาษาฝรั่งเศสได้รับอิทธิพลจากกลุ่ม Germanic มากน้อยแค่ไหน เพราะชาว Frank เองก็เป็น Germanic
@pinocchiolala159
@pinocchiolala159 2 жыл бұрын
ชาว Frank เดิมเป็นชาว Germanic ก็จริงครับแต่ขณะนั้นเค้าไม่ได้พูดภาษาฝรั่งเศส แต่พูดภาษาในกลุ่มตระกูล germanic พออพยพลงมาเจอชนพื้นเมืองแถบนั้น จึ้งมีการผสมผสานวัฒนธรรมกัน รวมไปถึงภาษาด้วย จนออกมาเป็นภาษาฝรั่งเศสโบราณหรือ old french
@superman6471
@superman6471 2 жыл бұрын
คิดว่าภาษาไทย ถ้ามีคนเข้ามาจัดระเบียบการใช้ให้ถูกต้อง คิดว่าน่าจะเป็นภาษาที่ดีที่สุดในโลก เพราะไม่มีกฏที่ไร้สาระมากไป เสียงที่ออกก็พอรับได้ ยกตัวอย่างประโยค ที่ใช้กันผิดๆ เช่น "ในทางกลับกัน" "ขอลาไปแล้ว" ภาษาไทยมี TENSE อยู่ด้วย แต่เราทำให้มันใช้งานได้ง่ายกว่าภาษาอังกฤษที่ใช้แบบโง่ๆครับ
@minjugya7000
@minjugya7000 2 жыл бұрын
ใช่ค่ะ แล้วที่สำคัญภาษาไทยได้เปรียบตอนเรียนภาษาอื่นๆด้วยเพราะ มีเสียง พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ หลายเสียง
@dusadeeangsumethangkura413
@dusadeeangsumethangkura413 Жыл бұрын
อยากให้ทำเรื่องภาษาหมา เห็นมีคนพูดว่า อย่าพูดหมาหมา
@buddhidev7877
@buddhidev7877 Жыл бұрын
ภาษาอังกฤษคล้ายไทยอยู่อย่างคือ ยืมศัพท์มาจากภาษาอื่นมาเยอะนะ
@user-fg7fw1rw2i
@user-fg7fw1rw2i 2 жыл бұрын
ก็คงง่ายสุดแล้ว ภาษาอะไรวะ มีแค่26 ตัว
@theseastarless4798
@theseastarless4798 2 жыл бұрын
ใช่
@superman6471
@superman6471 2 жыл бұрын
ใช่อยากรู้ภาษาไทยพัฒนามาอย่างไร
@alphabeta7250
@alphabeta7250 6 ай бұрын
'-'
@user-hq6ii4rk1s
@user-hq6ii4rk1s Жыл бұрын
คล้ายๆภาษาไทย.!!!!เลือกว่าภาษาที่พัฒนาแล้วนั้นเอง.
@user-dp7hw3yl2x
@user-dp7hw3yl2x Жыл бұрын
-ภาษาอังกิตจะง่ายกว่านี้ ถ้าอ่านศ้ายไปจวาเหมือนภาษาไทยทุกคำ ไม่ใช่ไปเอาตัวหลังมาเขียนขึ้นหน้า ทำให้งง ยาก เช่น badboy ผุ้ชายเลว มันต้องเขียนซ้ายไปขวาเป็นboybad รถโรงเรียนก็ควรเขียนbusschool ไม่ใช่เขียนschoolbus คือมืงจะเอาคำหลังมาขึ้นหน้าทำห่าไร
@megaGuyzx
@megaGuyzx 2 жыл бұрын
สรุปคือพวก v.inf คือพึ่งมาจากเชคสเปียร์เป็นผู้คิดค้นเหรอครับนี่
@user-dp7hw3yl2x
@user-dp7hw3yl2x Жыл бұрын
อังกิตจะง่ายกว่านี้ ถ้าอ่านซ้ายไปขวาเหมือนภาษาไทยทุกคำ ไม่ใช่ไปเอาตัวหลังมาเขียนขึ้นหน้า ทำให้งง ยาก เช่น badboy ผุ้ชายเลว มันควรต้องเขียนซ้ายไปขวาเป็นboybad รถโรงเรียนก็ควรเขียนbus school ไม่ใช่เขียนschool bus คือมืงจะเอาคำหลังมาขึ้นหน้าทำห่าไร
Pleased the disabled person! #shorts
00:43
Dimon Markov
Рет қаралды 27 МЛН
Задержи дыхание дольше всех!
00:42
Аришнев
Рет қаралды 3,6 МЛН
Jumping off balcony pulls her tooth! 🫣🦷
01:00
Justin Flom
Рет қаралды 13 МЛН
Pleased the disabled person! #shorts
00:43
Dimon Markov
Рет қаралды 27 МЛН