YA-EP49 ถอดรหัสทำไมชาวสวนใช้ ไนโตรฟีโนเลต ออกซิน NAA แคลเซียมโบรอน สาหร่าย อะมิโน พ่นขึ้นลูก

  Рет қаралды 181,126

ยามทําเกษตร ใจเกษม

ยามทําเกษตร ใจเกษม

Күн бұрын

Пікірлер: 96
@KasetSolution
@KasetSolution 2 жыл бұрын
ขอบคุณข้อมูลดีๆ ข้อมูลชัดเจนมากครับ ขออนุญาตแชร์นะครับ
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ ยินดีครับ
@TheMamchan
@TheMamchan 3 жыл бұрын
อธิบายดีสุดเข้าใจง่ายสุดเท่าที่เคยฟังทุกๆๆๆๆๆๆคลิปของกูรูทั้งหลายค่ะ... ขอบคุณ​มากๆๆๆๆๆค่ะ
@Yamkaset
@Yamkaset 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ จริงๆ แล้ว ผมอธิบายรวบรัดไปนิดครับ ที่บอกว่า สูบโปรตอน เอา H+ ออก แล้ว Ca2+ ไปแทนที่ จริงๆต้องบอกว่า ผลกระทบที่มีต่อสูบโปรตอน ส่งผลให้การสูบ H+ ออกจากผนังเซลล์จำนวนมาก ทำให้ผนังเซลล์หยุ่นตัว ซึ่งมีประโยชน์มากในการช่วยให้เซลล์ให้ขยายขนาดได้ดี แต่การเคลื่อนย้ายออกซิน (Auxin Transport) โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงที่เคลื่อนย้ายผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ต้องใช้เอนไซม์ที่เกาะที่เยื่อหุ้มเซลล์ โดยมี แคลเซียม เป็นองค์ประกอบช่วยให้ออกซิน เคลื่อนที่ผ่านเข้าออกเซลล์ได้ นั่นเป็นเหตุผลว่า ทำไม เราต้อง ฉีด ออกซิน พร้อมกับ แคลเซียม โบรอน แคลเซียมช่วยให้ ออกซินทำงาน เคลื่อนย้ายผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ แต่ออกซินก็ทำหน้าที่ช่วยเคลื่อนย้ายธาตุแคลเซียมที่สะสมไว้ในเนื้อเยื่อ ไปยังเนื้อเยื่อส่วนที่กำลังเจริญเติบโตมาก ส่วนโบรอน นั้น ถูกค้นพบว่า มีเยอะที่เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย และมีต่อการผสมเกสร และการวิจัยพบว่ามักจะขาด นักวิชาการก็เลยแนะนำให้ ชาวสวนฉีดโบรอนตั้งแต่ระยะดอกทีเดียว บทบาทของโบรอน คือ แบ่งเซลล์ และทำให้เซลล์ยืดตัว ทำให้พืชเกิดการสังเคราะห์โปรตีนและน้ำตาลไรโบสตามปกติ มีผลต่อการเจริญเติบโต และการผสมเกสร ท้ังนี้ทั้งนั้น ต้องบอกว่า ความเข้มข้นของโบรอนที่พืชต้องการนั้น น้อยมากๆ ดังนั้น สวนที่ต้นสมบูรณ์ หรือเคยใส่ปุ๋ยธาตุรวมมาแล้ว ก็ไม่ต้องฉีดเพิ่มก็ได้เช่นกันครับ
@Huahinfarm
@Huahinfarm 2 жыл бұрын
อาจารย์ยาม มีความเป็นอาจารย์สูง
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@ss2541733
@ss2541733 3 жыл бұрын
น้องยามอธิบายฟังเข้าใจง่าย จะบอกว่ากว่านักวิชาการบางคน เยี่ยมครับ
@Yamkaset
@Yamkaset 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ อยากให้ทุกท่านนึกภาพออก และเชื่อมโยงกับประสบการณ์ในการทำสวนได้ครับ ต้องหาเหตุผลอธิบายประกอบครับ จะพยายามปรับปรุงเทคนิคการเล่าครับ
@adogbarksplane8653
@adogbarksplane8653 2 жыл бұрын
ขอบคุนครับพี่ยาม ได้ความรู้แบบกะจ่างแจ้ง ไม่มีอุบอิบครุมเครือ อธิบายเข้าใจง่ายมากฮะ 🙏🙏
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับที่ให้กำลังใจ เดี่ยวจะลองเล่าเรื่องอื่นๆเกี่ยวกับการจัดการธาตุอาหารด้วยครับ
@phonetab8294
@phonetab8294 3 жыл бұрын
ขอบคุณจ้าความรุ้มาก.กว่า.ที่เคยดุทุกคลิปเลยจ้า
@toonbantep
@toonbantep 3 жыл бұрын
คลิปนี้ได้ประโยชน์เต็มไปเข้าใจง่ายครับ ชาวสวนเราชอบตามเพื่อนข้างๆ เขาฉีดอะไรก็ฉีดตาม ขาดความเข้าใจ ทำให้เกิดความสิ้นเปลือง ขอบคุณมากครับ ิที่ให้ความรู้
@rapatpornkomart3398
@rapatpornkomart3398 2 жыл бұрын
พี่ยามเป็นกูรูทุเรียนที่เก่งมาก ชอบดูคลิปที่กับ ผศ.รำแพน ไปสวนเจ้จุ๋ม สวนลุงนิรันดร์ สวยลุงอุ้ยและอีกหลายๆสวนได้ทั้งความรู้หลักในการปฏิบัติเกี่ยวกับทุเรียนค่ะ FC สวนทุเรียนขอนแก่นค่ะ
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
มิกล้ารับครับ พี่ยามเป็นเพียงคนที่เรียบเรียง ร้อยเรียงเรื่องราว ในแบบที่ สมมุติว่า เราเป็นคนทำสวน เราอยากรู้เรื่องอะไร ขอบคุณแทนวิทยากร ทุกท่าน ที่มาถ่ายทอดความรู้ให้พี่ยามครับ
@biggh11m3
@biggh11m3 Жыл бұрын
ขอถามแอดหน่อยคับ.ออกซินที่รุ้ๆมันยุ่ที่ยอดทำให้ยอดเดิน.แล้วเวลาเราเอามาฉีดตอนลูกกำลังติด(ผสมดอก)หรือตอนลูกเท่าใข่ไก่.ลูกจะไม่หลุดหรือคับ.ผมปลุกแตงโม.การเอาลูกเดียวต่อต้นมันเปนเรื่องปกติ.แต่ผมต้องการต้นหนึ่ง2-4ลูก.ผมเริ่มทดลองทำ.ทุเรียนมีลูกเยอะและใย่.การทำงานของทุเรียนน่าจะใช้กับแตงโมใด้.
@Yamkaset
@Yamkaset Жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับข้อสังเกต พวก แตงโม ทั้ง แตงไทย และแตงเทศ (เมล่อน) การให้ติดมากกว่า 1 ผล ทำได้ โดยไม่ต้องใช้ออกซิน แต่โดยทั่วไป จะทำให้ผลเล็กครับ ส่วนการใช้ออกซิน ที่เห็นทำให้ลูกติดมากๆ จะเป็นแตงกวครับ
@หลวงนิ-ฑ3ธ
@หลวงนิ-ฑ3ธ 2 жыл бұрын
โปรตีน+น้ำตาลทางด่วนฉีดช่วงหางแย้ได้ไหมคับ ฝนหนักมาก
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
สามารถฉีดได้ครับ
@หลวงนิ-ฑ3ธ
@หลวงนิ-ฑ3ธ 2 жыл бұрын
@@Yamkaset ขอบคุณคำแนะนำคับ
@raipadayphulanka
@raipadayphulanka 2 жыл бұрын
ตอนนี้ที่สวนหางแย้ขาว หางแย้ไหม้ครับ ฝนตกทุกวันครับพี่ ออกซิน อะโทนิค แถวบ้านก็ไม่มี ไม่รู้จะร่วงหมดมั้ย ลุ้นๆครับ
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
จริงๆ สารที่กล่าวมา ไม่สามารถสู้กับธรรมชาติได้มากนัก เพราะคนที่ฉีดอัด ก็ยังร่วงเหมือนเดิมครับ ทุเรียนแพ้ฝนครับ
@raipadayphulanka
@raipadayphulanka 2 жыл бұрын
@@Yamkaset ครับพี่ วันนี้ก็ตกครับ มาชัยภูมิแวะมาเที่ยวนะครับ คึดฮอด
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
ปีนี้ ขนาดในถิ่นทุเรียนเอง เราก็ยังทำสวนยากเลยครับ เกษตรกรรุ่นเก่าๆยังบ่น
@pondkaset
@pondkaset Жыл бұрын
ผมซื้ออ๊อกซินมา หลายคนพูดจนผมไม่กล้าใช้เลยครับ บางคนบอกว่าฉีดแล้วหางแย้ไหม้เร็ว ใช้แล้วเจออากาศร้อนอันตราย ขอแนวทางการฉีดพ่นหน่อยครับ ถ้าจะฉีดตอนเช้า ต้องเช็คอากาศยังไง อากาศแบบไหนที่ไม่ควรฉีดพ่น
@แผ้วสมนึก
@แผ้วสมนึก 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากๆครับที่ให้ความรูครับ
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
ยินดีครับ
@songwitbooncharoen9491
@songwitbooncharoen9491 2 жыл бұрын
จริงทุกคำที่พี่ยามพูดคับ
@n.Boonluecha
@n.Boonluecha 2 жыл бұрын
พึ่งฟังคลิปแรกกดติดตามเลย ได้ความรู้เยอะเลย
@karprophoto1042
@karprophoto1042 2 жыл бұрын
รบกวนสอบถามพี่ยามค่ะ 4ตัวนี้ ควรฉีดช่วงไหนคะ ที่ให้ได้ผลดีที่สุดค่ะ
@boonchunuha21
@boonchunuha21 3 жыл бұрын
เข้าใจครับ ขอบคุณสำหรับคลิปดีๆ
@mh2mh698
@mh2mh698 3 жыл бұрын
ได้ประโยชน์มากครับ
@Yamkaset
@Yamkaset 3 жыл бұрын
ยินดีครับผม
@Mo-sq1it
@Mo-sq1it Жыл бұрын
ออกซินพ่นตอน ดอกหัวกำไล ก่อนดอกบานได้มั้ย เพื่อเพิ่มการติดลูก
@Yamkaset
@Yamkaset Жыл бұрын
มีคนพ่นนะครับ พ่นก่อนดอกบาน กับหลังดอกบาน ห่างกัน 7 วัน แต่ผลลัพธ์ ยังไม่เคยตามผลอย่างจริงจังว่า ที่ติดลูก เป็นเพราะ ออกซิน กี่ % ครับ การฉีด ออกซิน อย่าฉีดเกิดกว่าอัตตรากำหนดครับ เพราะมีผลให้ดอกร่วงได้เช่นกัน
@อุไรรัตน์พูลศรี
@อุไรรัตน์พูลศรี 3 жыл бұрын
อธิบายเร็ว รวบรัดเข้าใจง่ายมากๆค่ะ กดติดตามแล้ววว 😍
@Yamkaset
@Yamkaset 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@britc.7521
@britc.7521 3 жыл бұрын
สาหร่ายพ่นแล้วช่วยการแตกใบอ่อนหรือเปล่าคะ ชอบใส่สาหร่ายผงทุกครั้งที่พ่นปุ๋ยพ่นยา รู้สึกทุเรียนแตกใบอ่อนแดงทั้งสวนเลยค่ะ ดอกก็กำลังบาน
@Yamkaset
@Yamkaset 3 жыл бұрын
สาหร่ายทะเล สกัด จะได้ ฮอร์โมนไซโตไอนินและน้ำตาลโพลีแซคคาไรด์ มีผลต่อการแตกใบอ่อนครับ เพราะหน้าที่ฮอร์โมนคือ แบ่งเซลล์ ขยายขนาดเซลล์ กระตุ้นการแตกใบ แตกตา ควรใช้ในระยะวิกฤติ ใบถูกทำลาย ใบไม่สมบูรณ์ มีบางคนเอามาเป็นสูตรเปิดตาดอก ดึงให้ขั้วยาวเช่นกัน ปกติ ในต้นทุเรียนโทรม และเป็นระยะให้ลูก แนะนำ 200 กรัม ต่อน้ำ 200 ลิตร
@britc.7521
@britc.7521 3 жыл бұрын
@@Yamkaset ขอบคุณมากค่ะ ติดตามตลอดนะคะ รอคลิปลุงนิรันดร์อีกค่ะ อยากให้ทำคลิปชมสวนลุงค่ะ
@พิสิทธิ์มาดหมาะ
@พิสิทธิ์มาดหมาะ 3 жыл бұрын
ผมดูคลิปทุเรียนมาสองปีแล้วครับแต่ยังหาคำตอบไม่ได้ว่าหนามทุเรียนช่วงไข่ไก่ช่วงกระป๋องนมทำไมบางลูกหนามเล็กบางลูกหนามใหญ่ครับเพราะอะไรจึงเป็นอย่างนั้นจะแก้ยังไงครับ
@Yamkaset
@Yamkaset 3 жыл бұрын
ถ้าสังเกต หนามถี่ เปลือกบาง หนามห่าง เปลือกหนา สิ่งที่สร้างเปลือกให้หนาคือ N ไนโตรเจน ปกติ ถ้าทุเรียนสาว เราเรียก เข้ โบ้ แต่ถ้าหากทุเรียนอายุมากแล้ว ลูกจะเปลือกบาง แต่บางลูกในต้นเดียวกันก็ยังมีเปลือกหนา เพราะ ความสามารถในการดึง N แตกต่างกันครับ เคยนั่งคุยเรื่องนี้กับเจ๊จุ๋ม เจ๋จุ๋ม เริ่มตั้งแต่ลูกเท่าไข่ไก่ ค่อยๆ ดูว่าหนามถี่ขนาดไหน แล้วใส่ปุ๋ย ไม่เน้นตัวหน้า ใส่ไป ดูหนามไป แล้วก็สามารถทำทุเรียนหนามถี่ เปลือกบางได้ครับ การแก้ไข ถ้าหากในต้นเดียวกัน ลูกหนามถี่ห่าง ต่างกัน ลองสังเกตว่าเป็นตรงไหน ส่วนครึ่งล่างจะหนามห่าง ใช่มั้ย ครับ การแก้ไขคือ การคุมปุ๋ย ร่วมกับการเริ่มสังเกตตั้งแต่ระยะไข่ไก่ครับ
@จิรภัทรคนน้อย
@จิรภัทรคนน้อย 2 жыл бұрын
Fcคับอยากถามว่าออกซิน พ่นพร้อมกับ ไนไตรฟีโนเรตได้ไหมคับ
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
ปกติ ชาวสวนพ่นพร้อมกันอยู่แล้วครับ และในทางเคมี ก็ถือว่า พ่นได้เลยครับผม
@จิรภัทรคนน้อย
@จิรภัทรคนน้อย 2 жыл бұрын
🤟🙏🤟🙏
@พรรณีมาสะอาด
@พรรณีมาสะอาด 2 жыл бұрын
ขอแนวทางการใส่ปุ๋ยตั้งแต่ไข่ไก่ค่ะ ที่ทำให้หนามเล็กค่ะ
@channel8439
@channel8439 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ ขอบคุณพี่ยามนะคะชอบฟังค่ะมีส่วนเยอะ
@Huahinfarm
@Huahinfarm 3 жыл бұрын
ไม่ใช่เข้าใจทฤษฎีอย่างเดียว แต่ปฎิบัติได้อย่างลึกซึ้ง เคมีตรงกัน ท่านอาจารย์วันข้างหน้าจะขอเชิญมานอนสวนทุเรียนหัวหินครับ
@phonsukanyaphon3426
@phonsukanyaphon3426 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากๆค้ะ
@เลือดไทย-ณ3ข
@เลือดไทย-ณ3ข 3 жыл бұрын
ขอบคุณครับอาจารย์
@sffrgg4222
@sffrgg4222 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะสำหรับความรู้นี้ค่ะ ติดตามแล้วนะคะ
@อภิชัยศรีตะวัน
@อภิชัยศรีตะวัน 3 жыл бұрын
แล้วการพ่นทางใบล่ะครับ ได้ผลสักกี่เปอเซนต์
@Yamkaset
@Yamkaset 3 жыл бұрын
ประมาณ 2.5 - 5% เพราะ ปากใบมีขนาดเล็กมากและไม่ได้มีไว้สำหรับดูดน้ำเข้า แต่มีไว้สำหรับหายใจ ช่องปากใบเวลาเต่ง เปิดสุด ก็กว้างพอที่จะให้โมเลกุลของ อะมิโน (ซึ่งถือว่าเล็กสุดแล้ว) ผ่านไปได้เท่านั้น นอกจากนี้ ยังมีช่องข้างๆ ปากใบ ที่เป็นช่องเปิดรับสารเข้าไปได้ สำหรับตัวเลขที่ผมกล่าวมาข้างต้น เป็นข้อมูลจากงานวิจัยเท่านั้นครับ ปัจจุบัน ที่ชาวสวนใช้กันแล้วได้ผล เพราะพ่นปริมาณมากพอ และพ่นในจังหวะที่ถูกต้องเพียงพอ การใช้ปุ๋ยทางใบ อาหารทางใบ ถือเป็นสิ่งจำเป็นกรณีที่อยู่ในภาวะวิกฤติ พืชไม่สามารถสังเคราะห์แสง สร้างอาหารได้เองครับ
@อภิชัยศรีตะวัน
@อภิชัยศรีตะวัน 3 жыл бұрын
@@Yamkaset ขอบคุณมากครับ
@chirapornj1888
@chirapornj1888 3 жыл бұрын
นู๋.ก้อคิดคล้ายๆกัน..แต่เห็นเค้าทำกันก้อเลยทำบ้าง ลูกน้องก้อชอบให้ซื้อยากับอาหารเสริม.กลัวไม่งาม..
@Yamkaset
@Yamkaset 3 жыл бұрын
ครับ พิจารณาตามความเหมาะสมครับ เช่น พวก แคลเซียม โบรอน แทบจะเป็นมาตรฐานของการฉีดพ่น ช่วงดอก ผล แล้วครับ
@ปฐมวงค์สีหาเสนา
@ปฐมวงค์สีหาเสนา 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@chanwiswinthasiri2890
@chanwiswinthasiri2890 2 жыл бұрын
เยี่ยม....
@Koonarong
@Koonarong 3 жыл бұрын
อยู่​จังหวัด​ไหน​ครับ​
@Yamkaset
@Yamkaset 3 жыл бұрын
ในคลิปนี้ เป็นแปลงทุเรียน ที่ อำเภอ ขลุง จันทบุรีครับ
@พลังใบ-ฟ5ว
@พลังใบ-ฟ5ว 2 жыл бұрын
ความรู้มากคับ
@Phasook_Farm
@Phasook_Farm 3 жыл бұрын
แต่ละพู น่าจะมี 5 เมล็ดมั้ยครับ 😊
@Yamkaset
@Yamkaset 3 жыл бұрын
ในชีวิตจริง เจอ พู 5 เม็ดนี่ปลาบปลื้มมากครับ ผมสังเกตว่า ถ้ามีพู 5 เม็ด มักจะมีแค่ 3 พู แต่ถ้า หาก 3-4 เม็ด มีโอกาสเจอ 4-5 พู คละกันไปครับ ในทางวิชาการ เขาเอาค่าเฉลี่ย คือ 3 ครับ :-) แต่ชีวิตจริงก็เจอ 4-5 บ่อยๆครับ
@Phasook_Farm
@Phasook_Farm 3 жыл бұрын
ถ้ามองถึงสรีระ น่าจะมี 5 เมล็ดนะครับ แต่อัตราการผสมติดจริงๆ เราเจอแค่ 3-4 เป็นส่วนมาก อยากให้พี่ยามอธิบายให้เกษตรกรได้เข้าใจประมาณนี้ครับ ผมไม่ได้ต้องการอะไรนะครับ เพียงแค่อยากช่วยเสริมให้เกษตรกร ได้ทราบถึงตัวเลขของจำนวนเมล็ดที่แท้จริงเท่านั้นครับ ถ้าผมแสดงความคิดเห็นผิดไป ต้องขออภัยด้วยนะครับ 😊
@nachatch812
@nachatch812 3 жыл бұрын
รบกวนขอทราบ อัตราการใช้ ต่อน้ำ200ลิตรครับ ขอบคุณครับ
@วันกลั่นมา
@วันกลั่นมา 2 жыл бұрын
ตอบแทน555 เข้าดูรายละเอียดข้างล่างคลิปพอคร่าวๆได้นะครับ
@keang8081
@keang8081 3 жыл бұрын
พ่นที่ใบรึช่อดอกครับ
@Yamkaset
@Yamkaset 3 жыл бұрын
ถ้าพ่นขึ้นลูก พ่นที่ช่อลูกครับ แต่ถ้าหาก พ่นช่วยใบ ให้พ่นที่ใบ หลักการหนึ่งของพวกอาหารทางใบ คือ ต้องการให้สารทำงานตรงไหน ให้พ่นตำแหน่งเซลล์อ่อนๆ ตรงนั้น เช่น ลูกอ่อน ใบอ่อนครับ
@พีระพลคนเกษตร
@พีระพลคนเกษตร 2 жыл бұрын
สารอ๊อกซินใช้อัตราเท่าไหร่ต่อน้ำ 200 ลิตร ครับ
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
20 cc ครับผม
@นิยตาพาทําพาปลูก
@นิยตาพาทําพาปลูก 2 жыл бұрын
ขอบคุณข้อมูลดีๆคะ
@วัยรุ่นทําสวนเรียน
@วัยรุ่นทําสวนเรียน 2 жыл бұрын
ผสมยาเพลี้ยกับยาราได้ไมคับ
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
สามารถผสมกันได้ ถ้าหากเป็นสารประเภทเดียวกัน เช่นละลายในน้ำ ต้องระวังพวก ละลายในน้ำมัน หรือพวกไวท์ออยครับ
@anirutthongkan455
@anirutthongkan455 2 жыл бұрын
ไฟรถจิบครับ
@ศิริรัตน์ไชยสวัสดิ์-น3ค
@ศิริรัตน์ไชยสวัสดิ์-น3ค 2 жыл бұрын
ชีดเจนร่ะ
@ไผ่ดําดิน
@ไผ่ดําดิน 2 жыл бұрын
ของของเรา.. ถ้ามันเป็น​ของเรา.. มันก้จะต้อง​อยู่​กับเรา... เหมือนช่วงผลอ่อนทุเรียน​ 5555
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
เวลาร่วงเยอะๆ ใจหายอยู่ครับ
@konthai333
@konthai333 2 жыл бұрын
ช่วยทำคลิปเกียวกับโรคและแมลงทุเรียนแแบบละเอียด.ชวนสวนมือใหม่จะความรู้เพิ่ม
@นิยมพิมพขันธ์-ฟ5ป
@นิยมพิมพขันธ์-ฟ5ป 3 жыл бұрын
ช่วงหางแย้เราควรให้นำ้กี่นาทีครับพี่ยามผมหัดทำทุเรียนครับทุเรียน6ปีครับพี่ขอให้พี่เฮงๆรวยๆนะครับสุขภาพแข็งแรงนะครับ
@Yamkaset
@Yamkaset 3 жыл бұрын
พอหางแย้แล้วเริ่มให้น้ำเต็มที่ได้ครับ
@หนึ่งฤทัยสุ่มมาตย์-ฅ1ต
@หนึ่งฤทัยสุ่มมาตย์-ฅ1ต 2 жыл бұрын
ขอบคุณคะ
@alongkonchannel4844
@alongkonchannel4844 3 жыл бұрын
ขอบคุณ​ครับ​
@taltaltal7311
@taltaltal7311 3 жыл бұрын
ทุเรียนแตกใบอ่อนช่วงหัวกำไรจะมีผลต่อดอกและการติดลูกไหมครับ
@Yamkaset
@Yamkaset 3 жыл бұрын
หัวกำไล ต้องเร่งใบให้แก่ครับผม ใช้ อาหารทางใบ + Mg ครับ
@taltaltal7311
@taltaltal7311 3 жыл бұрын
@@Yamkaset ขอบคุณครับ
@อภิชิตมุ่งก่ายกลาง
@อภิชิตมุ่งก่ายกลาง 2 жыл бұрын
ขอบคุณคับ
@วนิดาวันทา-ผ9ฌ
@วนิดาวันทา-ผ9ฌ 2 жыл бұрын
แล้วยาฆ่าแมลงละคะตอนดอกบานจะใช้อะไรยังไง
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
จริงๆ ใช้ยาได้ทุกยาครับ เพียงแต่ว่า ต้องเป็นช่วงวิกฤติเท่านั้น เพราะระยะดอกบาน ถ้าฉีดยาก็ต้องปัดดอกเอง หรือต้องใช้ลมเป่า
@Nawaphxn_x
@Nawaphxn_x 2 жыл бұрын
พึ่งได้ความรู้ใหม่เลยครับทุเรียนผมโทรมมากๆกิ่งใบตายหมดติดลูกก็ร่วงหมดไม่รู้ว่าควรบำรุงตรงไหนก่อนเลยลองตัดกิ่งที่ตายเหมือนมีตัวอะไรเล็กๆดำๆอยู่ในเนื้อไม้ด้วยครับ
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
ถ้าโทรมมาก ต้องบำรุงต้นก่อนครับ ถ้าหากมีดอก ให้ตัดใจ เอาดอกทิ้งก่อน เอาต้นไว้ครับ ค่อยบำรุงไป
@นิ่มนวลบูติค
@นิ่มนวลบูติค 2 жыл бұрын
อ็อกซินทำหน้าที่ควบคุมการเจริญเติมโตของพืช
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
ครับ ใช่ครับ
@ธวัชชัยจันทร์ทัพ
@ธวัชชัยจันทร์ทัพ 2 жыл бұрын
ใช้ได้ตั้งแต่หางแย้ยันลูกกระป๋องนมมั้ยครับ
@รวีถาวรวงศ์
@รวีถาวรวงศ์ 2 жыл бұрын
ทุกวันนี้ชาวสวนอาบยาทุเรียนคือพ้นเปียกเลยคับ
@Yamkaset
@Yamkaset 2 жыл бұрын
เจออยู่หลายครั้งครับ บางทีบอกเขาก็ไม่เข้าใจ
@ove6187
@ove6187 2 жыл бұрын
พี่ครับออกซินใช้ขีดดอกมะม่วงขีดตอนไหนถึงจะติดลูกครับตอนฉีดใส่ยาเชื้อราไปด้วยไหมครับหรือว่าฉีดออกซินอย่างเดียว
JISOO - ‘꽃(FLOWER)’ M/V
3:05
BLACKPINK
Рет қаралды 137 МЛН
"Идеальное" преступление
0:39
Кик Брейнс
Рет қаралды 1,4 МЛН
....สารอะโทนิค..... คืออะไร..ใช้ทำอะไรได้บ้าง
22:28
Kasetworld โลกแห่งการเกษตร
Рет қаралды 167 М.
สวนตาก้าน ('64) : ทุเรียนออกดอกแล้ว..ต้องทำอย่างไร
8:21
สวนตาก้าน ทุเรียนนนท์
Рет қаралды 272 М.
Live พิเศษ ไขข้อข้องใจ "อโทนิค...คืออะไร"
1:27:59
อารักขาพืชเจียไต๋
Рет қаралды 12 М.
JISOO - ‘꽃(FLOWER)’ M/V
3:05
BLACKPINK
Рет қаралды 137 МЛН