Пікірлер
@noknoknokpha4835
@noknoknokpha4835 13 күн бұрын
น้อม​กราบ​สาธุ​เจ้าค่ะ​กราบ​อนุโมทนา​บุญ​เจ้าค่ะ​
@พัชรีแก้วสุข-ซ5ฉ
@พัชรีแก้วสุข-ซ5ฉ 7 ай бұрын
😘😚😘😚😘😚 🍸🍸🍸🍸🍸🍸 Happy New Year
@kunchalee265
@kunchalee265 7 ай бұрын
สาธุ
@njmobile2299
@njmobile2299 8 ай бұрын
สาธุ😊😊😊😊😊❤❤❤❤❤
@ISUZU4393
@ISUZU4393 8 ай бұрын
❤ขอนอบร้อมก้มกราบพระบารมีธรรมะของพระเดชพระคุณครูบาด้วยใจครับผมสาธุสาธุสาธุอนุโมทามิรวยรวยรวยวันนี้ทันทีทันใดทันใจด้วยเทอญฯ❤❤❤❤❤❤❤❤❤
@รัชพลผ่านสกุล-บ1ค
@รัชพลผ่านสกุล-บ1ค 10 ай бұрын
น้อมกราบ สาธุ คับ พ่อแม่ครุอาจารย์. ครูบา
@Artit888
@Artit888 Жыл бұрын
สาธุครีบ
@ยมเปล่าประโยชน์2456โชคดี
@ยมเปล่าประโยชน์2456โชคดี Жыл бұрын
กราบสาธุๆๆ
@อุเทนศิริพิทยกุล
@อุเทนศิริพิทยกุล Жыл бұрын
อนุโมทนาสาธุครับครูบากฤดาครับ
@phe.a.9126
@phe.a.9126 Жыл бұрын
ขอนอบน้อมกราบนมัสการพระครูบาเจ้าค่ะ สาธุ🙏
@serene3108
@serene3108 2 жыл бұрын
น้อมกราบท่านครูบาเจ้า🙏🙏🙏 เป๋นบุญวาสนาที่ได้มาเป๋นลูกศิษย์ท่านครูบา หนีน้องน้ำ ไปๆ มาๆ ระหว่างนนท์กับบ้านหละปูน พึ่งมีบุญได้ไปกราบประมาณปี๋ป๋าย แต่ถือว่าบ่าสายเกินไป ทำบุญกับท่านถือว่าโชคดีนักหนา ท่านเตือนหื้อเก็บเงินไว้ใช้ต๋อนแก่เฒ่า สาธุ พระโพธิสัตว์ของเหล่าลูกศิษย์
@berchoochai8801
@berchoochai8801 2 жыл бұрын
สาธุ สาธุ สาธุ 🙏
@chanidapa3663
@chanidapa3663 2 жыл бұрын
กราบสาธุค่ะ
@HengAllisWell
@HengAllisWell 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับผม
@kwanchanal8743
@kwanchanal8743 3 жыл бұрын
ข้าพเจ้าขอน้อมกราบครูบาด้วยชีวิตของข้าพเจ้าครับ สาธุ สาธุ สาธุ ขอให้ลูกได้มีโอกาสไปกราบครูบาด้วยเถิดครับด้วยบุญกุศลที่ข้าพเจ้าได้ทำมาแล้ว สาธุ
@อรุณีบุญอนันต์
@อรุณีบุญอนันต์ 3 жыл бұрын
สาธุ​สาธุ​สาธุ​ค่ะ​
@วีรยุทธยิ่งดี-ภ9ฃ
@วีรยุทธยิ่งดี-ภ9ฃ 3 жыл бұрын
หลังโควิด ลูกศิษย์จะทำตามที่ตั้งใจไว้ จะรับใช้ครูบาท่านให้ได้ดีกว่าเดิมด้วยศัทธาบริสุทธิ์ ขอให้เป็นจริงเร็วนี้ด้วยเทอญ สาธุ
@sakdiratkittikun1468
@sakdiratkittikun1468 3 жыл бұрын
กราบนมัสการครูบากฤษดาด้วยความศรัทธายิ่งครับและขอน้อมรับสิ่งดีๆอันเป็นมงคลยิ่งครับ
@nawarutyaintharawiset4075
@nawarutyaintharawiset4075 3 жыл бұрын
ได้ยินเสียงนี้ คิดถึงแม่ แม่เคยว่าวให้ฟัง น้อมรับกราบสาธุ สาธุ สาธุค่ะ
@adamsoulmate7270
@adamsoulmate7270 3 жыл бұрын
สาธุ
@noinoi1475
@noinoi1475 4 жыл бұрын
สาธุ สาธุ สาธุ เจ้าค่ะ
@sudaratbidon6200
@sudaratbidon6200 6 жыл бұрын
กราบครูบาคับ
@พัฒนะแก้วเกตุ
@พัฒนะแก้วเกตุ 7 жыл бұрын
สาธุครับ
@3443-n8e
@3443-n8e 7 жыл бұрын
อัตชีวประวัติ พอสังเขป พระกฤษดา สุเมโธ เดิมอาศัยอยู่ที่บ้านห้วยม่วง เลขที่ ๕๗ หมู่ ๓ ต.ห้วยยาบ อ.บ้านธิ จ.ลำพูน บิดาชื่อนายอุทัย มารดาชื่อนางถิรนันท์ นามสกุล เอกกันทา ในช่วงที่มารดาอุ้มท้องก่อนกำหนดคลอดหนึ่งวัน ซึ่งตรงกับวันพฤหัสบดี ขึ้น ๘ ค่ำ ตรงกับวันพระ ในตอนใกล้รุ่ง มารดาฝันว่าได้ลูกแก้วมณีมีความสดใสสวยงามมากลอยเข้ามาหา แล้วมารดาก็รับแก้วมณีดวงนั้นไว้ในอก พอสะดุ้งตื่น มารดาก็เริ่มมีอาการปวดท้องเล็กน้อย จนถึงกำหนดคลอดอีกวันหนึ่ง ซึ่งตรงกับ วันศุกร์ที่ ๗ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๖ (ใต้) แต่เป็นเดือน ๘ ของทางเหนือ เวลา ๒๓.๐๐ น. โยมมารดา ได้ถือกำเนิดทารกเพศชาย มีผิวผรรณ วรรณะเหลืองสุก คล้ายดอกจำปา โดยมีญาติผู้ใหญ่ของท่านเป็นผู้ทำคลอดในบ้านของท่าน โดยผู้ใหญ่ท่านนี้ชื่อว่า พ่อน้อยยืน พันกับ ปัจจุบันท่านยังมีชีวิตอยู่ ด้วยในช่วงนั้น จะหารถไปส่งโรงพยาบาลในตัวจังหวัดก็ลำบาก รถยนต์ก็ไม่ค่อยมี หนทางก็ไกลหลายสิบกิโลเมตร บวกกับว่าในช่วงต้นเดือนพฤษภาคม ทางเหนือเริ่มมีฝนตก ทำให้ลำบากมากในการที่จะไปโรงพยาบาล ในวันที่ท่านคลอดก็เกิดฝนตกหนักมาก ฟ้าแลบฟ้าร้อง มีลมกรรโชกแรงมาก และตอนนั้น ในหมู่บ้านยังไม่มีไฟฟ้าใช้กัน ต้องจุดตะเกียงน้ำมันก๊าด หรือไม่ก็เทียนไข เพื่อส่องสว่างในยามค่ำคืน หลังจากที่ท่านคลอดมาแล้ว โยมบิดาได้ตั้งชื่อว่า เด็กชายกฤษดา เพราะถือฤกษ์ที่มารดาฝันว่าได้แก้ว และในช่วงที่คลอดเกิดฝนตกหนักพอดี หลังจากท่านคลอดและอาบน้ำอุ่นแล้ว ฝนก็อันตธานหยุดตก เป็นอัศจรรย์ ท่านเป็นทารกที่คลอดง่าย ไม่ร้องไห้เหมือนเด็กคนอื่น และที่น่าแปลกตรงที่ว่า ลายฝ่าเท้าของท่าน มีรูปคล้ายดอกบัวตูม และรูปหอยสังข์ซ้อนกันอยู่อย่างเห็นได้ชัดเจนมาก โดยเฉพาะรูปหอยสังข์ และรูปดอกบัวตูมที่ฝ่าเท้าด้านขวาเห็นจนถึงปัจจุบัน โยมบิดาจึงได้ตั้งชื่อท่านตามนิมิตดังกล่าวมา หลังจากที่ท่านได้เจริญเติบโต เป็นเด็กที่มีความขยัน กตัญญู และมีความคิดเฉลียวฉลาด เรียนรู้อะไรได้เร็ว ตลอดถึงการพูดจาเหมือนผู้ใหญ่ ช่างเจรจา อ่อนน้อมถ่อมตน เป็นที่เอ็นดูสำหรับผู้พบเห็น แต่เป็นเด็กที่เลี้ยงยากมาก ในด้านของสุขภาพ ท่านไม่สบายบ่อยมาก ท่านได้ศึกษาชั้นประถมต้นที่โรงเรียนวัดห้วยยาบ และช่วงนั้นก็เริ่มมีใจรักในพระศาสนา ด้วยที่ว่าคุณปู่เป็นคนชักชวนให้ตามไปทำบุญ รักษาศีล ในช่วงเข้าพรรษา ทางเหนือจะนิยมนอนวัดกัน เพื่อจะประกอบการถือศีลภาวนา ครั้งแรกที่ได้ไปทำบุญกับคุณปู่ ตอนที่นั่งในพระวิหาร พิจารณามองพระประธาน ดูองค์ท่านสง่างามมาก เหมือนท่านยิ้มให้ จึงเกิดปิติความศรัทธาหลายอย่าง ทุกครั้งที่ไปวัด ท่านชอบมองพระประธานนาน ๆ เสมอ และอยากจะบวชในบวรพุทธศาสนา และมีอีกอย่างหนึ่งในช่วงที่เป็นเด็กได้ศึกษาวิชาทางสมุนไพรและสรรพวิชาเหมือนกับคุณปู่ เพราะว่าท่านเป็นหมอพื้นบ้าน เป็นที่นับหน้าถือตาของคนในหมู่บ้านนั้น และหมู่บ้านใกล้เคียง เกี่ยวกับการรักษาโรคต่างๆ ได้ หลังจากนั้นที่ได้ศึกษาจากโรงเรียนชั้นประถมจนจบแล้ว ตอนนั้นอายุได้ ๑๓ ปี ได้รับการบรรพชาเป็นสามเณรภาคฤดูร้อนที่พัทธสีมาวัดป่ายาง (สันพระเจ้าแดง) ต.ห้วยยาบ อ.บ้านธิ จ.ลำพูน ในวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๓๒ เวลา ๑๓.๐๐ น. โดยมีพระครูโสภณรัตรสาร เจ้าคณะอำเภอบ้านธิ เป็นพระอุปปัชฌาจารย์ และหลังจากได้รับการบรรพชาแล้วก็จำพรรษาอยู่วัดห้วยยาบและช่วงนั้นก็ได้ศึกษานักธรรมบาลีจากสำนักเรียน โรงเรียนโสภณวิทยาทั้งแผนกสามัญและปริยัติควบคู่กันไป จนครบหนึ่งปี สำหรับการที่อยู่จำพรรษาวัดห้วยยาบ และแล้วในปี ๒๕๓๓ ก็ได้มาจำพรรษาวัดป่ายาง (สันพระเจ้าแดง) เพื่อสะดวกในการศึกษาเล่าเรียนต่างๆ เพราะต้องขึ้นรถประจำทางมาโดยตลอด ในปีนี้เอง ได้พบกับครูบาอินตา อินทปัญโญ วัดห้วยไซใต้ ต.ห้วยขาบ อ.บ้านธิ จ.ลำพูน ในตอนคารวะช่วงปีใหม่เมือง คือมองเห็นท่านและเกิดความศรัทธาอย่างบอกไม่ถูก ชึ่งท่านก็เป็นพระอาวุโสที่มีอายุพรรษาสูงมากในอำเภอและพอเคยได้ยินกิตติศัพท์ความสามารถของครูบาอินตา มาจากคุณปู่และชาวบ้านมาบ้างแล้ว จึงถือโอกาสแวะเวียนไปมาบ่อยๆ จนเป็นที่คุ้นเคยกับครูบาอินตา ซึ่งท่านก็ให้ความรักและเอ็นดูดุจลูกหลานมาโดยตลอด ท่านอบรบสั่งสอนทุกด้าน โดยเน้น สมถภาวนา ในด้านการนับลูกประคำและแนวทางการกำหนดลมหายใจเข้าออก นอกจากนั้นยังได้เริ่มเรียนอักขระล้านนาควบคู่ไปด้วย ตลอดถึงบทสวดและคำภีร์ต่างๆ ของล้านนาที่ได้มาจากพ่อน้อย พ่อหนาน อาจารย์ต่างๆ ที่พอมีอยู่ในสมัยนั้น ไม่เข้าใจสิ่งใดหรือติดขัดเรื่องใด หลวงปู่ครูบาอินตาท่านได้แนะนำบอกกล่าวจนเข้าใจตลอดมา จึงเป็นเหตุให้ผูกพันท่านมากเป็นพิเศษ จะว่าไปแล้วในสมัยตอนเป็นเณรอยู่วัดห้วยไซเสียส่วนมาก แต่ก็ได้ไปกลับวัดป่ายาง (สันพระเจ้าแดง) อยู่เป็นประจำ เพราะต้องช่วยงานทั้งสองวัด มิให้ขาดตกบกพร่องใดๆ การศึกษาเป็นไปอย่างต่อเนื่องหลายอย่าง และฝึกเรียนเทศน์มหาชาติเวสสันดรชาดก โดยเฉพาะกัณฑ์กุมาร กัณฑ์มัทรี เทศน์ได้ไพเราะมาก ถือว่ามีชื่อเสียงมากในสมัยที่ยังเป็นสามเณร มีกิจนิมนต์เทศน์ทั่วภาคเหนือ จนกระทั่งท่านมีอายุครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์ พร้อมที่จะอุปสมบทเป็นพระภิกษุในบวรพุทธศาสนา โดยมีพระอุปปัชฌาย์ คือ พระครูโสภณรัตรสาร เจ้าคณะอำเภอบ้านธิ พระกรรมวาจารย์ คือพระสิงห์คำ ขันติโก (มรณภาพ) และ พระอนุสาวนาจารย์ คือพระอธิการวิลา อัคคจิตโต เจ้าคณะตำบลห้วยยาบ (ลาสิกขา) อุปสมบท ณ พระอุโบสถวัดป่ายาง (สันพระเจ้าแดง) ต.ห้วยยาบ อ.บ้านธิ จ.ลำพูน ตรงกับวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๙ เวลา ๑๕.๓๘ น. โดยพระอุปปัชฌาย์ให้ฉายาทางพระภิกษุว่า "สุเมโธ" ซึ่งแปลว่า เป็นผู้มีความรู้ดี หลังจากที่ได้อุปสมบทแล้วไม่นาน เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันในสมัยนั้นก็ได้ลาสิกขาไป ซึ่งเป็นเหตุให้หน้าที่ทุกๆ อย่างภายในวัดป่ายาง (สันพระเจ้าแดง) ตกแก่ท่าน ท่านต้องรับผิดชอบทั้งหมด ตั้งแต่อายุ ๒๐ ปี พรรษาแรกหลังจากอุปสมบท โดยทำหน้าที่รักษาการแทนเจ้าอาวาสมาโดยตลอด จนถึงอายุครบ ๒๕ ปี พรรษาที่ ๕ ทางจังหวัดได้แต่งตั้งให้ท่านดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส จนถึงปัจจุบัน และได้เทศน์สั่งสอนพุทธศาสนิกชนทั้งหลายตลอดมา รวมถึงได้พัฒนาถาวรวัตถุ เสนาสนะต่างๆ ภายในวัดป่ายาง (สันพระเจ้าแดง) และวัดวาอารามใกล้เคียง ที่มีขอให้ท่านเป็นประธานในการก่อสร้างถาวรวัตถุมากมายหลายวัด ต่างตำบลต่างอำเภอ ออกไปจนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดีทุกประการ ซึ่งในแต่ละครั้งต้องใช้ทุนทรัพย์ในการก่อสร้างหลายล้านบาท แต่ท่านมิได้ย่อท้อแต่ประการใด พร้อมทั้งพัฒนาทั้งในด้านจิตใจให้ความรู้ด้านธรรมะแก่สาธุชนทั่วไปโดยไม่เลือกชั้นวรรณะ พัฒนาควบคู่ไปกับการพัฒนาในด้านถาวรวัตถุ สิ่งก่อสร้างต่างๆ อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
@3443-n8e
@3443-n8e 7 жыл бұрын
Phra Krisda Sumatho’s Autobiography Phra Krisada Sumatho was living at Ban Huai Muang, 57 Moo 3, Tambon Huaiyap, Banthi District, Lamphun province. Father named Mr. Uthai Eakkuntha and mother named Mrs. Tiranan Eakkuntha. During the pregnancy before the birth one day which felt on Thursday the 8th day of waxing moon in the early morning. Mother dreamed to has a very brilliant crystal ball ornament float towards to her. Mother had been received a glass ornament in the breast after that mother was started little stomach pain. The day of birth which felt on Friday, 7 May 1976 at 23:00 pm. Her baby boy was born with a bright yellow skin like Champa flowers. The birth was done by one of her relative named Pornoiyeen who is still alive today. At that time it was difficult to get a car to the hospital in the city. The way has far dozens of kilometre away from the city also. Furthermore, in the early of May the north of Thailand begin to rain. It was difficult to go to the hospital. The day of Phra Krisada was born, heavy rain and lightning thunder came. There was a wind blowing, and the village has no electricity used yet. The kerosene or candles gave light in the night only. After a baby boy was given birth, Krisada named by his father according to auspicious mother’s dream. During the birth, it was heavy rain. But after the birth and he was taken a warm bath, the rain had stopped falling. It was amazing. A baby boy did not cry like other children. That was surprising, the baby’s foot shows a lotus bud shaped and conch nested significantly. In particular, a conch and a lotus bud on the right foot have shown until today. After a boy has grown. He is gratitude, diligent and intelligent. He is learning faster throughout the talks, as well as engaging chatty humility for those exposed. Unfortunately, he is very difficult to aliment. In the area of health, he got sick very often and every year. At the elementary school, Wat Huaiyap, he began with a patriotic religious. His grandfather persuaded him to healing sacrament during the Lent. First time when he went to the temple, during sat in the temple. He considered the principal. They are very elegant look and smiled to him. It takes a lot of faith joy. Every time he went to the temple, he would like to see the principals and would always ordained in Buddhism. When he was a child, he also studied the herbs from his grandfather. His grandfather is a local doctor who well respected from people in the village and nearby, about various diseases retreat. In summer after graduated from elementary school, at the age of 13 years old, a boy, Krisda has been ordained to be a novice at Wat Payang (Wat Sanphrajaodang), Tambon Huaiyap, Banthi District, Lamphun province on April 1, 1989 at 13:00 pm. by Phraku Sophonratsan who was a master of ordination. During ordination, he stayed at Wat Huaiyap and had a chance to study Bali from Sophonvitaya School. He studied in both General and Pariyat parallel for one year in the temple of Wat Huaiyap. Anyhow, because of the difficulty of transportation, he decided to move to the temple of Wat Payang (Wat Sanphrajaodang) in 1990. And along this year, he had met with Kruba Inta Intapunyo at Wat Hauisai Tai, Tambon Huaiyap, Banthi District, Lamphun, in Thai New Year. His faith was declared and valued. Kruba Inta Intapunyo was the senior monk and very high respect in the district, and he has heard a strong reputation in the eyes of the local people and his grandfather. He often visited Kruba Inta Intapunyo and was familiar with him. He learned and studied from Kruba Inta many things specifically Samatha Prawana (a way of breathing), and the guidelines set out breath. He was also studying the character along with all the various psalm and vedic Lanna from Pornoi and Pornan who were his teachers in those days. If he did not understand anything or had found any obstructions, Kruba Inta will give him advises all along, so that why he had very close relationship with Kruba Inta Intapunyo. Education is continuously varied, sermons and lessons of Mhachati Vessantara allegory. He preached Kumarn and Matsi lessons very sweet and very famous when he was a novice. He also was invited to preach a mission over the North of Thailand. Until 20 years of age and was ready to be ordained as a Buddhist monk in Buddhism. Phraku Sophonratsan was a master of ordination for him again at the temple of Wat Payung (Sanphrajaodang), Tambon Huaiyap, Banthi District, Lamphun province, on 7 May 1996 at 15.38 pm. He named in the title of the monk “ Sumatho” by Phrakru Sophonratsan. “Sumatro” means a person who has a great knowledge. Not so long after his ordination. The current abbot at that time was leaving from the monk and he had to take responsibility everything in Wat Payung (Sanphrajaodang) since he was 20 years old, the first years of his ordination. The age of 25 years, he was selected to be an official abbot of Wat Payung (Sanphrajaodang) and he is an abbot of Wat Payung until today. He has taught and preached throughout the Buddhists and been developed Wat Payung and temples nearby. He is asked to preside over the construction of many temples. Each time he spent the funds for the construction of a multi-million Baht. Anyhow, he is not intimidated whatsoever. He emphasizes on the development of psychological and Buddhism knowledge to people without religion barriers and castes. In the other hands, the constructions and building are developed in parallel and he still keeps continue until today.
@bluestar6894
@bluestar6894 3 жыл бұрын
Thank you very much for information.
@3443-n8e
@3443-n8e 7 жыл бұрын
อย่าลืดกด HD เพื่อภาพคมชัดนะครับ
@niceloveaun
@niceloveaun 8 жыл бұрын
เมืองแต้ๆๆ ชอบขนาดเลย ท่านปอฮับนิมนต์เตสนอกสถานที่ก่อครับ
@3443-n8e
@3443-n8e 9 жыл бұрын
อาจารย์เอียด วัดดอนศาลา และฆารวาสนำ แก้วจันทร์ (ท่านศีกษาก่อนที่ท่านอาจารย์นำจะอุปสมบท) โดยท่านมีสหธรรมมิกที่สำคัญๆคือ หลวงพ่อเอื้อม วัดบางเนียน หลวงพ่อพ่วง วัดแดง นครศรีธรรมราช ในระหว่างครองเพศบรรพชิต ท่านผ่านประสบการณ์ในด้านต่างๆมาอย่างโชกโชน เคยเป็นทั้งเสือ และหัวหน้าหน่วยพื้นที่สีแดง ปกครองคนในพื้นที่พิเศษ ในด้านการครองเรือนท่านเคยมีภรรยาที่อยู่กินกันถึง 7 คน แต่ทั้ง 7 คนนั้นมีบุตรเพียง 1 คน และได้เสียชีวิตไปแล้ว ท่านเล่าให้ฟังว่าท่านเคยหนีการจับกุมของท่านขุนพันธรักษ์ ในสมัยที่เป็นเสือ ในระยะประชิดตัวแต่ด้วยอำนาจของตระกรุดที่ท่านทำใช้เอง จากที่ได้เล่าเรียนมาทำให้หนีรอดมาได้ และเมื่อท่านถูกจับกุมในข้อหาต่างๆในขณะที่นำตัวไปขึ้นศาลท่านก็อาศัยบารมี ของตระกรุดโทน ทำให้ศาลยกฟ้องท่านมาจนนับไม่ถ้วน ท่านปกครองคนในเขตพื้นที่สีแดง อำเภอเคียนซา จนท่านมีที่ดินในการปกครองมากมาย มีคนนับหน้าถือตาท่านเป็นจำนวนมาก แต่ก็หาใช่ความสุขที่แท้จริงไม่ หลังจากท่านคิดทบทวนถึงชีวิตที่ผ่านมาก็ทำให้ท่านรู้สึกถึงความไม่เที่ยงแท้ และแน่นอนของชีวิตอีกทั้งท่านยังเป็นห่วงชาวบ้านในการปกครองของท่าน อยากให้ผู้คนเหล่านั้นเป็นคนดี ในที่สุดท่านจึงตัดสินใจยกที่ดินทั้งหมดเป็นพันไร่แจกจ่ายแก่ชาวบ้าน ให้เป็นที่ทำกิน โดยที่ดินที่ท่านยกให้นั้นปัจจุบันอยู่ในเขตพื้นที่ หมู่บ้านเขารักษ์ หมู่ 8 และหมู่ 9 ตำบลบ้านเสด็จ อำเภอเคียนซา โดยชื่อหมู่บ้านนั้นท่านเป็นผู้ตั้งโดยมาจากคำว่า คุณรักษา ต่อมาได้เพี้ยนเป็น เขารักษ์( จากประวัติโรงเรียนบ้านเขารักษ อําเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี) และได้ยกที่ดิน100ไร่จัดตั้งเป็นโรงเรียนขึ้น โดยในช่วงแรกได้ชื่อว่าโรงเรียนไทยรัฐวิทยา 22 (ใต้ร่มเย็น) สาขา บ้านเขารักษ์ และหลังจากนั้นมีการเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนบ้านเขารักษ์จวบจนปัจจับัน และภายหลังท่านยังตั้งกองทุนเพื่อการศึกษา โดยใช้ชื่อว่า กองทุนพ่อหลวงอิ้น อาภากโร (นายอิ้น ชูเมือง)อีกด้วย พุทธศักราช2532 หลังจากที่ท่านสละสิ่งของนอกกายจนหมดสิ้นแล้ว ภายในปีนั้นเองท่านก็ได้เข้าสู่ร่มเงาของพระพุทธศาสนา ณ.พัทธสีมาวัดบางสะพาน ตำบลบางจาก อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีพระครูวิธานชุลาธรณ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ และท่านได้กลับมาตั้งสำนักสงฆ์ บ้านทับใหม่ ในเขตพื้นที่สีแดงตามเจตนารมย์เดิมท่าน บนเนื้อที่ 19 ไร่ ที่มาจากการร่วมกันบริจาคจากชาวบ้านที่มีจิตศรัทธาในบริเวณนั้น หลังจากนั้นท่านก็เริ่มธุดงค์เพื่อแสวงหา ในสิ่งที่ท่านสงสัย สลับกับกลับมาสร้างศาสนสถานเพิ่มเติมเรื่อยๆ และในการธุดงค์นั้นท่านได้ไปยังทุกภาคของเมืองไทยและเลยออกไปยังประเทศใกล้เคียง จนท่านพอใจ และค้นพบในสิ่งที่ท่านสงสัย ท่านจึงกลับมายังที่เดิมอีกครั้ง และเริ่มพัฒนาอย่างจริงจังจากสำนักสงฆ์จนเริ่มเป็นวัด มีกุฏิตามอัตภาพ มีศาลาใช้สำหรับประกอบสังฆกรรม และในปัจจุบันท่านกำลังหาทุนทรัพย์เพื่อก่อสร้างพระอุโบสถ ซึ่งสำเร็จไปแล้ว 99 เปอร์เซ็นต์เหลืองเพียงงานฉลองยกช่อฟ้าเท่านั้น พ่อท่านอาการป่วยด้วยโรคชราต้องเข้าออกโรงพยาบาลบ่อยครั้ง แต่ยังคงสติดีเยี่ยมจนสุดท้ายวันที่ 22 ธันวาคม 2557 ท่านก็ละสังขารด้วยอาการสงบ