EP.1-ผ่าเอ็นไขว้หน้า ACL แบบไม่ปวด“ Painless Surgery ” "จะทนเจ็บไปทำไม ในเมื่อผู้ป่วยเลือกได้" !!!

  Рет қаралды 16,877

DoctorJi Bone doctor Channel

DoctorJi Bone doctor Channel

Күн бұрын

ปรึกษาอาการได้ที่
1 Line ID : Dr.jirantanin1
(ทัก chat อาการที่ต้องการปรึกษา จะติดต่อกลับโดยเร็วครับ)
2.นัดตรวจรักษาได้ที่ website : Jirantanin.com
( พิมพ์คำว่า " Jirantanin.com " ในช่อง Google
Search
@ เทคโนโลยีการผ่าตัดแบบไม่ปวด หรือปวดน้อย “ Painless Surgery ” @
ในการผ่าตัดข้อเข่า-ข้อไหล่
""""" จะทนเจ็บไปทำไม ในเมื่อผู้ป่วยเลือกได้ """"!!
--------------------------------------------------------------------------------------------------------
เมื่อพูดถึง “ผ่าตัด” ข้อเข่า-ข้อไหล่ สิ่งแรกที่ผู้ป่วยส่วนใหญ่คิดถึงคืออะไร?
“กลัว” “เจ็บ” “ขอยังไม่เอาดีกว่า”
เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์..ทำให้การ “ผ่าตัด” ไม่จำเป็นต้อง “ทนเจ็บ” อย่างที่คิดอีกต่อไป
การผ่าตัดใหญ่รักษาหลายต่อหลายโรคทางออร์โธปิดิกส์ในปัจจุบันถ้าได้รับการวางแผนการผ่าตัดอย่างดี โดยเฉพาะการ “ระงับความเจ็บปวด” ที่ดีพอ จะทำให้ผู้ป่วยแทบจะไม่ปวดในหลังการผ่าตัดเลย และในหลายรายบอกว่าไม่เจ็บแผลอย่างที่คิดไว้ก่อนผ่าเลยแม้กระทั่งแพทย์อนุญาตให้กลับไปพักที่บ้านแล้ว โดยแพทย์ผู้ผ่าตัดจะต้องทำงานเป็นทีมและประสานกับวิสัญญีแพทย์ได้เป็นอย่างดี
Q : แล้วมีวิธีอะไรที่แพทย์จะเลือกใช้ให้กับคนไข้ได้บ้างเพื่อเป็น Painless Surgery…..?
A: “ทำให้การผ่าตัดนั้นบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อน้อยที่สุด” วิวัฒนาการทางการแพทย์ ทำให้สามารถทำการผ่าตัดโดยใช้เครื่องมือและกล้องขนาดเล็ก ผ่านแผลขนาดเล็กที่เรามักเรียกว่า “การผ่าตัดผ่านกล้อง”
( Arthroscopic Surgery ) ซึ่งขนาดของแผลจะเล็กประมาณปากกา หรือ นิ้วก้อย ทำให้บาดเจ็บต่อกล้ามเนื้อน้อย เมื่อบาดเจ็บน้อยก็ทำให้
-อาการปวดหลังผ่าตัดน้อยตามไปด้วย
-การฟื้นตัวหลังผ่าตัดจะเร็วมาก ทำให้ผู้ป่วยสามารถเดินได้ หรือขยับไหล่-ยก ไหล่ได้ภายใน 12 ชั่วโมงหลังผ่าตัด
-ในเมื่อการฟื้นตัวเร็ว ก็ทำให้ภาวะแทรกซ้อนต่างๆแทบจะไม่เกิด
Q : แล้วหลังจากฟื้นจากยาสลบ...ความเจ็บปวดก็จะกลับมาอีก?
A:ในปัจจุบันแพทย์สามารถวางแผนที่จะป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเจ็บปวดโดยไม่จำเป็นได้ตั้งแต่ “ก่อน -ระหว่าง และ -หลังการผ่าตัด” ด้วยยาและเทคนิคต่างๆ เช่น
1. การบล็อกหลัง ที่ทำให้ความเจ็บปวดแผลผ่าตัดขนาดใหญ่ลดลงอย่างมาก
2. การใช้เครื่องควบคุมการฉีดยาระงับปวดหลังการผ่าตัด หรือ “PCA” คือผู้ป่วยสามารถกดปุ่มให้เครื่องฉีดยาลดอาการปวดได้ตามต้องการ..แทนที่การ “ขอยาแก้ปวด” เมื่อปวดจนทนไม่ไหว แต่วิธีนี้จะมีเครื่องฉีดยาที่ต่อกับสายน้ำเกลือ และเครื่องนี้ต้องเสียบปลั๊กไฟ ทำให้ยุ่งยากในการหัดเดิน หัดบริหารหลังผ่าตัด
3. การฉีดยาชาระงับปวดที่เส็นประสาท ( Nerve block )
ที่ต้นขา ( สำหรับการผ่าตัดข้อเข่าได้ทุกประเภท )
และที่เหนือกระดูกไหปลาร้า ( สำหรับการผ่าตัดข้อไหล่ได้ทุกประเภท)
แล้วต่อสายยาชาเข้ากับขวดปั้มยา ( Balloon Jector มีขนาดขวดประมาณโค้กกระป๋อง) ซึ่งขวดจะสามารถปล่อยยาชาออกมาได้เองโดยไม่ต้องต่อกับสายไฟไดๆ( ทำให้แตกต่างกับการใช้ PCA ) คนไข้เมื่อแพทย์ปลดน้ำเกลือออกแล้ว ก็สามารถถือขวดปั้มยานี้ หรือใส่กระเป๋าเสื้อ ไปได้ตลอดเวลาที่หัดเดินบริหาร โดยทำให้ผู้ป่วยไม่เจ็บที่แผลผ่าตัด
แค่นี้ผู้ป่วยก็ผ่าได้อย่างปลอดภัย และไม่ปวดอีกต่อไป ##
....ข้อมูลโดย นพ.จิรันธนิน

Пікірлер: 39
哈莉奎因怎么变骷髅了#小丑 #shorts
00:19
好人小丑
Рет қаралды 47 МЛН
when you have plan B 😂
00:11
Andrey Grechka
Рет қаралды 62 МЛН
Men Vs Women Survive The Wilderness For $500,000
31:48
MrBeast
Рет қаралды 99 МЛН
ผ่าตัดรักษาเอ็นไขว้หน้าและหมอนรองกระดูก
19:09
ผ่าตัดเปลี่ยนเอ็นไขว้หน้า
10:07
ด็อกเตอร์หมอหมี
Рет қаралды 47 М.
การทำกายภาพบำบัดหลังผ่าตัดเอ็นไขว้หน้า
7:44
TOSSM official: อนุสาขาเวชศาสตร์การกีฬา
Рет қаралды 24 М.
哈莉奎因怎么变骷髅了#小丑 #shorts
00:19
好人小丑
Рет қаралды 47 МЛН