การแก้ปัญหาจริยธรรมภาคปฏิบัติในสังคมพุทธ สมภาร พรมทา

  Рет қаралды 3,412

Somparn Promta

Somparn Promta

Күн бұрын

Пікірлер: 8
@sriratdecha8809
@sriratdecha8809 2 ай бұрын
ขอบคุณมากครับ!สำหรับข้อมูลความรู้
@sahachatthiprin4628
@sahachatthiprin4628 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@บริวัฒน์ไชยตัน-ผ8ถ
@บริวัฒน์ไชยตัน-ผ8ถ 2 жыл бұрын
หลักการพิจารณาของอาจารย์เชื่อเพียงเพราะถือเอาว่าคนฟังคือศิษย์ของตนหรือศิษย์เชื่อเพียงเพราะถือว่าเป็นอาจารย์ของตนเหตุผลคืออาจารณ์หยิบยกเอาคนคนที่สังคมเคยยอมรับในอดีตมาตัดสินหรือมีให้อ้างในตำราส่วนความเชื่อทางศาสนาไม่มีผลสำเร็จที่มีส่วนสท้อนให้เห็นด้วยงานส่วนตัวที่เพียรรู้ชอบหากมิเคยสำนึกรู้ด้วยตนปัญหาที่มีในส่วนที่สังคมวงกว้างต้องตระหนักรับผิดชอบเอง
@บริวัฒน์ไชยตัน-ผ8ถ
@บริวัฒน์ไชยตัน-ผ8ถ 2 жыл бұрын
ตำรากับตำเราผลรู้ลงที่จิตประเมินค่าของตนรู้ไดจริง
@wattana69ify
@wattana69ify 2 жыл бұрын
ที่คุณบริวัฒน์กล่าวมานั้น มิได้ศึกษาศาสนา เปรียบเทียบด้วย การที่จะสร้างจิตสำนึกไม่สามารถสอนกันได้ แม่ลูกพ่อแม่เดียวกันจิตสำนึก จริยธรรมยังมีความต่างกัน การที่เราจะเชื่ออะไร ถ้าอิงทฤษฎีๆ ซึ่งผ่านการทดลองมาแล้ว ครับ ส่วนด้านศาสนา ให้คุณไปศึกษาศาสนาเปรียบเทียบจะเข้าใจมากกว่านี้ครับ
@suraphotthaweesak1221
@suraphotthaweesak1221 2 жыл бұрын
ที่จริงแล้วคำบรรยายนี้ยืมแนวคิด secular morality มาอธิบายว่า หลักจริยธรรมพุทธอนุญาตให้มีอาชีพโสเภณี, บ่อนถูกกฎหมาย และการุณยฆาตได้ เพราะผู้บรรยายไม่ได้อ้างหลักจริยธรรมพุทธตรงๆ มายืนยันว่าหลักกอะไรในพุทธธรรมที่อนุญาตให้รัฐออกกฎหมายเช่นนั้นได้ ที่ใช้อาร์กิวเมนท์ "เมืองพุทธ (ซึ่งวาทกรรม "เมืองพุทธ" คือการเหมารวม ที่จริงมีพุทธ พราหมณ์ ผี คริสต์ อิสลาม คุณค่าสมัยใหม่แบบตะวันตกและอื่นๆ อีกเยอะมากในสังคมไทย) ยอมให้รัฐมีโรงฝิ่น โรงงานยาสูบเป็นต้นได้" นี่ก็ไม่ใช่เพราะหลักจริยธรรมพุทธอนุญาต แต่เพราะระบบการเมืองแบบเผด็จการอำนาจนิยมต่างหากที่ทำให้มีสิ่งพวกนั้น ส่วนที่อ้างถึง secular morality ของมิลล์ก็พูดแบบไม่ละเอียด ถ้าพูดตามความคิดมิลล์ เคสโสเภณีถูกกฎหมาย ไม่ได้มองที่สังคมได้ประโยชน์เป็นเกณฑ์หลักอย่างเดียว แต่มอง "เสรีภาพในการเลือกใช้ชีวิตของปัจเจกบุคคลตามที่ตนเองเห็นว่าดี" ด้วย ซึ่งสังคมหรือรัฐจะแทรกแซงเสรีภาพในการเลือกใช้ชีวิตของปัจเจกบุคลไม่ได้ ตราบที่เขาไม่ทำอันตรายต่อคนอื่น ดังนั้นเคสนี้จึงพิจารณาได้สองเหตุผล คือ 1) ต้องถามว่าเป็นเสรีภาพในการเลือกใช้ชีวิตของปัจเจกบุคคลที่ไม่ทำอันตรายต่อคนอื่นหรือไม่ และ 2) สังคมได้ประโยชน์มากกว่าจะเสียประโยชน์หรือไม่ ส่วนคานท์ "แยกศีลธรรมจากศาสนา" และ "แยกศีลธรรมกับกฎหมาย" อาชีพโสเภณีผิดศีลธรรม เพราะใช้ความเป็นมนุษย์เป็นเครื่องมือ แต่การทำผิดศีลธรรมบางอย่างไม่ผิดกฎหมาย เช่น การโกหก หรือเฮตสปีชที่ไม่เป็นอันตรายทางกายภาพต่อคนอื่น หรือไม่ละเมิดสิทธิคนอื่น คานท์ไม่ถือว่าผิดกฎหมาย อีกอย่างคานท์ถือว่ารัฐต้อง "เป็นกลางทางคุณค่า" เกี่ยวกับการเลือกชีวิตที่ดีของปัจเจกบุคคลทั้งหลาย ดังนัน อาชีพโสเภณี การุณยฆาตอาจผิดศีลธรรม แต่ถ้าไม่ละเมิดสิทธิคนอื่น รัฐก็ควรรับรองเสรีภาพนั้น ส่วนการผิดศีลธรรมตามแนวคิดค้านท์เอง, แนวคิดปรัชญาต่างๆ, ความเชื่ออื่นๆ หรือศีลธรรมศาสนาต่างๆ ย่อมเป็นเรื่องที่ปัจเจกบุคคลที่เชื่อแบบคานเที่ยนหรือเชื่อศีลธรรมแบบปรัชญาหรือศาสนาอื่นๆ ต้องรับผิดชอบกันเอง การกระทำที่ละเมิดสิทธิเสรีภาพคนอื่นหรือการทำอันตรายต่อคนอื่นเท่านั้น จึงเป็นเรื่องของการใช้กฎหมายหรืออำนาจรัฐ ซึ่งพุทธศาสนาไม่ได้พูดเรื่องพวกนี้ไว้ชัดเจนเท่า secular morality แบบคานท์และแบบมิลล์ (เป็นต้น) เลย
@philoking4670
@philoking4670 2 ай бұрын
ความเป็นรัฐศาสนาไม่เหมาะต่อสังคมประเทศไหนเลย
@hidhamma8190
@hidhamma8190 2 жыл бұрын
ตถตา
黑天使被操控了#short #angel #clown
00:40
Super Beauty team
Рет қаралды 61 МЛН
Каха и дочка
00:28
К-Media
Рет қаралды 3,4 МЛН
สนทนาธรรม อุทิศกุศลแด่ คุณแก้วตา อเนกพุฒิ วันพุธที่ 15 มกราคม 2568
2:02:44
มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนา
Рет қаралды 1,5 М.
黑天使被操控了#short #angel #clown
00:40
Super Beauty team
Рет қаралды 61 МЛН