Exclusive Talk | เด็กไทยสอบตก เพราะการศึกษาไทยไม่ทันสถานการณ์ | เข้มข่าวเย็น

  Рет қаралды 95,498

PPTV HD 36

PPTV HD 36

Күн бұрын

PISA (Programme for International Student Assessment) ปี 2022 ของเด็กไทย ต่ำลงทั้ง วิทย์ คณิต และด้านการอ่าน แนวทางในการปรับหลักสูตรการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กไทยควรจะเป็นอย่างไรหลังจากนี้
.
ติดตาม “เข้มข่าวเย็น” ทุกวัน เวลา 16.30 น. ทาง PPTV HD 36 และย้อนหลังทาง KZbin และ Website PPTV HD 36
.
#Pisa #ผลสอบpisa #การศึกษาไทย #PISAต่ำสุด #PPTVHD36 #PPTVNews #ช่อง36 #ครบทุกข่าวเข้าใจคอกีฬา
.
ติดตามข่าวสารเพิ่มเติมที่เว็บไซต์ www.pptvhd36.com
และช่องทาง Social Media
Facebook : / pptvhd36
Facebook Video : / videos
Twitter : / pptvhd36
Instagram : / pptvhd36
LINE VOOM : pptv36.tv/174l
TikTok : / pptv.thailand

Пікірлер: 1 200
@THOA-01
@THOA-01 Жыл бұрын
ไม่แปลกใจ 10ปีผ่าน เห็นข่าวการบ้านเด็กประหลาดๆมากขึ้นเรื่อยๆ การบ้านเด็กอนุบาล แต่คำนวณระดับ ม.ต้น? คำถามภาษาไทยที่ไม่รู้จะวัดอะไร นอกจากใจผู้ออกข้อสอบ ให้เด็กเรียน 10 วิชาทั้งที่จบมาใช้เนื้อหาในชีวิตจริงไม่ถึง 0.5 วิชาด้วยซ้ำ เรียนหนัก เสียเวลา และไร้ค่า เพราะไม่สามารถเอามาใช้ในชีวิตจริงๆ จบมาแล้วก็ต้องมาเรียนรู้งานใหม่จาก 0 เวลาทำงานจริงๆ
@pantipgmail5041
@pantipgmail5041 Жыл бұрын
เห็นด้วยเลยค่ะ
@kru2934
@kru2934 Жыл бұрын
👍 ครับ จริงมากๆ เรียนฟิสิกส์กันตั้งแต่ ป 4,5 😅
@infinitylogic1164
@infinitylogic1164 Жыл бұрын
เสียเวลา เสียสุขภาพจิต เสียสุขภาพกาย เด็กบางคนอาจหารดีๆยังไม่เคยได้กิน ได้แต่เอาเงินไปซื้อเสื้อผ้าและค่าเทอม เด็กบางคนกระดูกพรุนเลยด้วยซ้ำ สมัยนี้นมโรงเรียนก็ไม่มี ต้องพึ่งแต่นมซื้อเอาถ้าอยากให้เด็กแข็งแรง และเรื่องอื่นๆมากมายที่ทุกคนต่างรู้กันดี
@milop4475
@milop4475 Жыл бұрын
​@@kru2934 ที่ไหนครับเรียนตั้งแต่ ป4
@kru2934
@kru2934 Жыл бұрын
@@milop4475 รร แห่งนึงใน ชม ครับ ความเร็วสัมพัทธ์ ใช่ฟิสิกส์ไหมครับ
@primepatthapon
@primepatthapon Жыл бұрын
ผู้ใหญ่พูดให้ตัวเองดูดีเสมอแต่ไม่เคยปรับปรุงอะไรให้ดีขึ้นแล้วประเทศจะเจริญได้ยังไง สงสารเด็กรุ่นใหม่ที่ต้องเกิดมาเจอผู้ใหญ่ ที่ไม่รู้จัก ยอมรับผิดและพร้อมที่จะปรับปรุง ให้ชีวิตนักเรียนดีขึ้น
@iHappy-y5b
@iHappy-y5b Жыл бұрын
จริง โทษเด็กที่เล่นมือถือทั้งที่ผู้ใหญ่บางคนเองก็เล่นมือถือ เอาเวลาของผู้ใหญ่ไปเลี้ยงดูเด็กให้ดี ดีกว่ามาพิมพ์โทษเด็กในyoutube
@primepatthapon
@primepatthapon Жыл бұрын
@@iHappy-y5b ผู้ใหญ่ในระบบการศึกษาไทย โทษปัจจัยภายนอก เช่น โทรศัพท์ Covid และนักเรียน ซึ่งประเทศอื่น ก็มีสิ่งเหล่านี้เหมือนกัน สาเหตุใดจึงพัฒนาดีกว่าประเทศไทย ซึ่งความเป็นจริงแล้ว ระบบการศึกษาไทยไม่พัฒนาก็เพราะว่าผู้ใหญ่ในบ้านเมืองและอาจารย์ ไม่มีคุณภาพในการพัฒนา คุณภาพชีวิตและการศึกษาของนักเรียนโดยตรง แต่กลับไม่ยอมรับความจริงและพักภาระให้สิ่งอื่น ที่ไม่ใช่ต้นเหตุของปัญหา ตราบใดที่ประเทศไทยยังบังคับให้เรียนหนังสือจำนวนชั่วโมงที่มากโดยไม่สนใจถึงคุณภาพการศึกษา บังคับให้ใส่ชุดนักเรียนและทรงผมต้องเป็นตามระเบียบ โกงข้าวกลางวันเด็ก โกงงบประมาณที่จะพัฒนานักเรียนโดยตรง เหตุผลเหล่านี้เป็นการละเมิดสิทธิและเสรีภาพของนักเรียน จึงทำให้ระบบการศึกษาไทยไม่พัฒนาสักที
@allercetcetirizine9857
@allercetcetirizine9857 Жыл бұрын
งง ชีวิตคุณ อนาคตคุณ คุณก็ดิ้นรนเองสิครับ โทษแต่คนอื่นเขาอ่ะ ตัวเองพยายามหรือยัง
@primepatthapon
@primepatthapon Жыл бұрын
@@allercetcetirizine9857 ชีวิตทุกคนก็ดิ้นรนเองอยู่แล้วครับ แต่ถ้าสภาพแวดล้อมดีด้วยก็จะดิ้นรนได้ง่ายขึ้นครับ
@theatmosphere3643
@theatmosphere3643 Жыл бұрын
ถ้าเป็นสมัยก่อนคำพูดคุณไม่ผิดหรอกโอกาสมันมีมาก แต่เดี๋ยวนี้มันต้องดูที่ระบบที่ผู้บริหารวางมาด้วยไม่ใช้แค่ดิ้นร้นแค่ตัวเอง ถ้าต้องดิ้นร้นทุกอย่างจะมีรัฐบาลไปทำไม@@allercetcetirizine9857
@tawat652
@tawat652 Жыл бұрын
หลักสูตรไทยโบราณมาก สมัยเด็กผมเรี่ยนอะไร ตอนนี้ก็ยังสอนเหมือนเดิมอยู่เลย ถามคนอังกฤษ อายุ 40 ปีคนนึง ถามว่าเค้าเรียนลูกเสือยังไง? มีวันต้องแต่งชุดลูกเสือมั๊ย? เพราะไม่เคยเห็นเด็กอังกฤษแต่งชุดลูกเสือในสื่อเลย เค้าบอกว่า ตั้งแต่สมัยเค้าเด็กก็ยกเลิกไปแล้ว ผมนี่ถึงกับอึ้ง หลักสูตรนี้ไทยลอกมาจากอังกฤษ และไม่เคยเปลี่ยนแปลงมาหลายสิบปี ทั้งที่ต้นตำหรับเค้าเลิกไปแล้ว นี่แหล่ะเราหลักสูตรแบบอนุลักษณ์นิยม อนุลักษณ์อยู่ได้มาหลายสิบปี
@noobxddd
@noobxddd Жыл бұрын
ขณะที่หลักสูตรอื่นๆ มีการปรับเปลี่ยนให้เข้ากับโลกปัจจุบัน ส่วนหลักสูตรไทย....................ยึดอยู่กับที่ ไม่เปลี่ยนแปลง น่าเศร้ามาก😒😒😒
@samirasamilan2645
@samirasamilan2645 Жыл бұрын
@@noobxdddสพฐ มันมีแต่พวกควาย ทำงานครับ
@สายชล-ฆ2ต
@สายชล-ฆ2ต Жыл бұрын
สมัยเกือบ 60 ปีก่อนผมก็อยู่ในชุดลูกเสือ ป่านนี้ยังมีอยู่เหรอ
@Linqingqing14
@Linqingqing14 Жыл бұрын
อนุรักษ์
@meilee9950
@meilee9950 Жыл бұрын
คุณ น่าจะเข้าใจผิด กระมัง เรื่องหลักสูตร การสอน มันมีการเปลี่ยน แน่นอน เพราะ เรามีลูกหลาน หลายคน มันดู ยากขึ้น กว้างขึ้น กว่า สมัยเรา เป็น เด็ก นะ จน เรา คิดว่า เด็ก มัน จะไหว หรือ อย่าง ระดับ ประถมต้น ก็เหมือนเรียน ของ มัธยม สมัยก่อน แล้ว ประมาณนี้ ส่วน ลูก เสือ มัน ก็คล้าย เป็น กิจกรรม คิดว่ามี เรียน น่าจะเป็น ประโยชน์มาก กว่า การ ยกเลิก
@mammaam5901
@mammaam5901 Жыл бұрын
เริ่มจากง่ายๆก่อนเลย เท่าที่เจอมาคุณภาพครู เจอหลายครั้งมากที่ึครูสอนเนื้อหาที่ไม่ถูกต้องกับเด็ก ครูบางคนไม่สอนโยนใบงานมาให้เด็กแล้วบอกให้เด็กไปทำเอง ทำพื้นฐานความถูกต้องให้ได้ก่อน ถึงจะพัฒนาการคิดวิเคราะห์ได้ ไม่ต้องเรียนปริมาณเยอะ เอาคุณภาพดีกว่า
@1437kda
@1437kda Жыл бұрын
ใช่ครับผมเห็นด้วยอย่างยิ่ง
@อภินพจิตใจงาม
@อภินพจิตใจงาม Жыл бұрын
คือ PISA วัด 3 กลุ้มวิชาใหญ่ ๆ แต่ไทยเรียนสารพัด บางวิชาควรจัดเป็นวิชาเฉพาะทางที่ให้เด็กชอบเรียนแยกไปเรียนตามความชอบ ความถนัด
@OunsaNonphala
@OunsaNonphala Жыл бұрын
ใช่ครับ ผม ทำงานอยู่มหาวิทยาลัยชั้นนำของปีะเทศไทย ผมมีลูก3คนคนโตเรียนมหาวิทยาลัยแล้ว คนกลางเรียนมัธยม คนเล็กเรียนประถม พอผมกลับบ้านผมสอนการบ้านคนเล็ก ดูตำราเรียนภาษาไทย ยุคปัจจุบัน อะไรนะช้าง2ตัวใบโบก ใบบัว ผมมึนเลยครับ ไม่รู้ใครต้นคิด ถ้า บางจังหวัดในไทยไม่มีช้างเลย ตาย เด็กงง คิดใหม่ทำใหม่เถอะครับก่อนจะตายห่าจากโลก
@rayza2396
@rayza2396 Жыл бұрын
เอาแต่โทษครู ลืมพื้นฐานไปหรือเปล่าว่าอยู่ที่ครอบครัวด้วย หลักๆเลยคือเอางานอะไรที่ไม่ใช่งานครูออกไปทุกวันนี้ครูงานหนักมาก ถึงมากที่สุด สอนแค่ 20%เองมั้ง
@theatmosphere3643
@theatmosphere3643 Жыл бұрын
ละงานครูที่สอนเด็กจริงๆกี่เปอร์เซ็นต์ @@rayza2396
@chaosukyart
@chaosukyart Жыл бұрын
คนเรียนเก่งระดับหัวกะทิ ไม่อยากเป็นครู แต่ไปเป็นแพทย์ วิศวะ เพราะผลตอบแทนมันแตกต่างกันเยอะ รวมทั้งหัวโขนก็ดูดีกว่าด้วย เพราะฉะนั้นต้องมาคิดกันใหม่ว่าจะทำยังไงให้คนเก่งๆมาเป็นครู เพราะถ้าครูเก่งแนวโน้มนักเรียนก็จะเก่งไปด้วย ตรงกันข้ามถ้าครูไม่เก่ง นักเรียนก็จะมีโอกาสเก่งน้อยลงไปด้วย
@leelawadeesrisamad9573
@leelawadeesrisamad9573 Жыл бұрын
เงินเดือน 😂
@Lookbebook
@Lookbebook Жыл бұрын
บางคนเก่งจริงๆ เขาได้เงินเดือนไม่ได้เยอะมาก เขายอมทำเป็นครูนะ แต่แพ้อะไรรู้มั้ยแพ้ระบบระเบียบราชการระยำ มานัดต่อนัดแล้ว กล้ารื้อมั้ยละระบบราชการ
@rayza2396
@rayza2396 Жыл бұрын
@@Lookbebook ยอมได้แค่ไหน ไม่นานก็ออก งานมันเยอะจัด เพราะมันโยนภาระมาครูหมด
@abdularrachic6137
@abdularrachic6137 Жыл бұрын
เด็กราชภัฎ เขาเรียนครูมาโดยตรง ไม่จำเป็นต้องเอาคนเก่งมาเป็นครู
@natade4422
@natade4422 Жыл бұрын
ใช่ เงินเดือนครูน้อยมาก ทั้งที่ครูคือคนสร้างชาติ สร้างคน เพราะไม่ว่าจะตำแหน่งอะไร ทำงานอะไร ทุกคนก็ต้องเรียนเป็นอันดับแรก
@user-tg9ni3qe8h
@user-tg9ni3qe8h Жыл бұрын
มันไม่แปลกหรอกที่เด็กเราจะสอบข้อสอบพิซ่าได้คะแนนน้อย เพราะ 1.ข้อสอบพิซ่ามันไม่ได้มีส่วนต่อการเข้ามหาลัยหรือเรียนต่อ เด็กไทยสอบเยอะมากนะทั้งโอเน็ต ทั้งสอบเข้ามหาลัย สอบปลายภาค ไหนจะการบ้านอีก ดังนั้นผมเป็นคนหนึ่งแหละที่สมัยที่สอบข้อสอบพิซ่าก็มั่วไปหลายข้ออยู่ ไม่ได้ตั้งใจอยากจะสอบ อยากจะทำ เพราะไม่ได้มีความสำคัญแค่ทำให้มันจบไป 2.ข้อสอบพิซ่ามันเป็นข้อสอบในเชิงคิดวิเคราะห์ ซึ่งหลักสูตรการศึกษาของเมืองไทยไม่ได้เน้นด้านนี้ เน้นการท่องจำ เช่น ในข้อสอบมันให้รูปสนามแข่งรถมา 4 สนามแล้วมันก็ถามว่าสนามไหนรถใช้ความเร็วได้สูงสุด เป็นต้น 3.ครูโรงเรียนไม่ได้มีความใส่ใจในเรื่องการสอบนี้เพราะมันไม่ได้มีผลกระทบต่อการประเมินโรงเรียน เลยไม่จำเป็นต้องมีการจัดติวหรือเปลี่ยนวิธีการสอนเพื่อให้เด็กทำข้อสอบแบบนี้ได้ อีกอย่างงานของครูก็เยอะอยู่แล้วไหนจะทำงานบัญชี พัสดุ ไหนจะทำรายงานประเมินเลื่อนขั้น ตัวชี้วัด แผนการสอน จะเอาเวลาที่ไหนมาติว มาคิดว่าทำไงให้เด็กทำข้อสอบพิซ่าได้ ลองคิดว่าทำไมโรงเรียนวิทยาศาสตร์มันถึงได้คะแนนสูงเพราะ 1.เด็กเขามีความตั้งใจ แม้มันไม่มีผลกับเขามาก แต่เด็กก็ตั้งใจทำเพราะอยากลองข้อสอบ 2.โรงเรียนวิทยาศาสตร์เขาสอนในเชิงคิดวิเคราะห์อยู่แล้ว เด็กเหล่านี้จะคิดวิเคราะห์แยกแยะ มีตรรกะเก่ง สิ่งสำคัญสุดที่ทำให้เราได้คะแนน้อยคือตัวข้อสอบ เราไม่ชิน เพราะเหมือนหลักสูตรเราหรือวิธีการของเราไม่ได้ถูกออกแบบมาให้สอดรับกับข้อสอบแบบนี้ เชื่อเถอะว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงอะไรหรอกแม้ผลการสอบจะเป็นแบบนี้ก็ตาม เป็นอย่างไงก็เป็นอย่างนั้นแหละไทยแลน เน้นเยอะไว้ก่อน เยอะกว่าย่อมดีกว่า เลยเน้นเรียนหนัก เรียนเยอะ อ่านเยอะ การบ้านเยอะ จำเยอะ เน้นเอาเยอะไว้ก่อน
@stdkr4-285
@stdkr4-285 Жыл бұрын
เห็นต่างครับ จากคนที่สอนขยายโอกาสครับ การบ้านนะควรมีโดยเฉพาะวิชาสำคัญ เพราะนั่นคือโอกาสเดียวที่เด็กจะได้ฝึกฝนและทำความเข้าใจกับความรู้ เพราะเวลาเรียนในชั่วโมงไม่มีทางที่เด็กจะเข้าใจได้ลึกซึ้ง เพราะมันมีสิ่งรบกวนเยอะ โดยเฉพาะกลุ่มเพื่อนที่ไม่ตั้งใจเรียน แล้วอย่ามาบอกนะว่าครูไม่ดูแล ในมื่อห้องเรียนห้องหนึ่งมีนักเรียน เฉลี่ย 25-40 คนต่อห้อง ต่อครู 1 คน แต่สิ่งที่ควรปรับคือ ลดวิชาจิปาถะลงครับ เพราะเด็กเราเรียนหลายวิชาเกินไป สุดท้ายมันเยอะเกิน จริงๆ เราเรียนแค่วิชาที่จะเป็นพื้นฐานสำคัญ เช่น ภาษาต่างประเทศ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ พละศึกษา กิจกรรมตามความสนใจ สังคม ประวัติศาสตร์ ศาสนา ประมาณนี้ พอครับ แต่จัดเวลาให้ 4 กลุ่มแรกเยอะๆหน่อย เอาแบบให้สามารถทำแบบฝึกหัดเสร็จไปเลยยิ่งดี เพื่อลดการบ้านลง แต่ก็ยังคงควรให้มีการบ้าน เพราะนั่นคือโอกาสทบทวน
@nuttaponjirakittiwut4742
@nuttaponjirakittiwut4742 Жыл бұрын
เห็นด้วยในส่วนแรก ตอนเด็กผมก็รีบการีบออกมาเล่นกับเพื่อน มันไม่ได้มีผลอะไรอยู่แล้ว มันไม่จูงใจให้ทำคะแนนเลย
@user-ru6nc5rz6o
@user-ru6nc5rz6o Жыл бұрын
ผมคิดว่า เด็กเก่งไทยเราไม่แพ้ใคร แต่เด็กอ่อนนั้นอ่อนจริง ไม่ต้องไปโทษการศึกษาเพราะเด็กกลุ่มนี้ไม่สนใจเรียนเท่าไหร่ ให้ไปเรียนที่ไหนก็คงไม่ต่างจากเดิมเท่าไหร่ อย่างแรกที่ควรทำคือ กระตุ้นให้เด็กสนใจเรียนมากขึ้น จะดีกว่า ไม่ใช่เรียนให้รวย แต่อย่างน้อยให้เคยชินกับการเป็นคนใฝ่หาความรู้กับให้เคยชินกับการเป็นคนขยันมีความมานะพยายาม
@darussankarat8195
@darussankarat8195 Жыл бұрын
​@@stdkr4-285คำถามต่อมาเเล้วเด็กที่พิการละจะทำอย่างไรให้เขามีความรู้ความสามารถเทียบเท่ากับเด็กทั่วไป? สมมุติครูสอนเหมือนกันในวิชาคณิตศาสตร์เเต่ปรากฏว่าเด็กปกติสอบผ่านเด็กที่เป็นออทิสติกสอบตก อันนี้เป้าหมายสำคัญที่เราจะทำให้คุณคิดคือทำอย่างไรให้เด็กที่เป็นออทิสติกตามเด็กปกติทัน ก็ต้องใช้หลักการความเสมอภาค อย่างการเลือกปฏิบัติเชิงบวกนั้นก็คือการที่ครูนั้นจะต้องปฏิบัติกับเด็กออทิสติกนั้นในลักษณะที่เเตกต่างจากเด็กปกติเพื่อให้เด็กที่เป็นออทิสติกได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่เท่าเทียมกันกับเด็กปกติ การสร้างเกมที่ยุติธรรมในการศึกษาสำคัญเพราะนั้นคือตัวบ่งบอกว่าจะเกิดความยุติธรรมในสังคมหรือไม่
@darussankarat8195
@darussankarat8195 Жыл бұрын
​@@stdkr4-285สงสัยมั้ยครับว่าทำไมป้ายเด็กดีเด่น เด็กเก่งที่ถูกขึ้นป้ายหน้าโรงเรียนมีเพียงไม่กี่คน เเละการขึ้นป้ายเด็กเก่งหน้าโรงเรียนนั้นขอบอกเลยว่าไม่มีชาติไหนเขาทำกัน เเละการทำเเบบนี้มันซํ้าเติมเด็กที่ไม่เก่งให้ถดถอยลงไปอีก ถ่างช่องว่างทางการศึกษาระหว่างเด็กเก่งเเละเด็กไม่เก่ง ดังนั้นเด็กเก่งจึงไม่เท่ากับว่ามีทักษะทางสังคม เพราะเด็กบางคนเก่งสุดๆพอโตขึ้นก็ใช้ความเก่งนั้นมาทำลายล้างคนในสังคมก็มี ดังนั้นวิชาการ กับ ทักษะสังคม ต้องคู่กันเเยกไม่ได้ เเละต้องลดช่องว่างด้วย ไม่นั้นต่อไปในอนาคตได้มีเเยกฝาบ้านเเน่นอน
@Sola-Home
@Sola-Home Жыл бұрын
ครูเน้นสร้างผลงาน เน้นวิชาการ มากกว่าการใช้ในชีวิตจริง เช่น ภาษาอังกฤษ เน้นแต่ไวยากร แต่การสนทนาจริงใช้งานได้น้อย เพราะเด็กกลัวจะพูดผิดกับที่เรียนมา บางทีคิดว่า ส่งไปเรียนกับไกด์นำเที่ยว ยังพูดอังกฤษเก่งกว่านั่งเรียนกวดวิชา
@thongsookboonhom4609
@thongsookboonhom4609 Жыл бұрын
ถูกต้องเลย
@LordAlpaca555
@LordAlpaca555 Жыл бұрын
ครูก็ต้องรายงานการสอน และมันจำเป็นเพราะสิ่งนี้จะเอาไว้ชี้วัดคุณภาพของคุณครู มันหมายถึงความก้าวหน้าในอาชีพการงานของคุณครู สิ่งที่ดกิดขึ้นก็คือคุณครูต้องใช้เวลากับการสร้างผลงานมากกว่าจะสอนนักเรียนจริงๆ ต้องตั้งคำถามกับระบบว่าการสร้างผลงานของครูนั้นมันตรงตามจุดประสงค์ของการศึกษาจริงๆรึเปล่า
@rjb6590
@rjb6590 Жыл бұрын
จริงๆถ้าเน้นการสื่อสาร ไวยากรณ์นี่เด็กๆเลย
@sutesara4746
@sutesara4746 Жыл бұрын
แล้วสร้างความคิดว่าภาษามีผิด ทำให้ไม่กล้าพูดเลยกลัวผิด ควรเน้นการสื่อสารความหมายมากกว่า แต่มันวัดผลลำบากอาจทำการอัพเงินยากหรือป่าว
@omori8554
@omori8554 Жыл бұрын
ใช่เลยค่ะ ตอนนี้เราเรียนม. 6 ศิลป์ภาษาอังกฤษ ครูส่วนใหญ่เขาสอนแกรมม่าหมดเลยค่ะ แทบไม่มีใครสอนเรื่องการพูด ทักทาย เป็นภาษาอังกฤษ เขาเน้นแค่แกรมม่าถูกอย่างเดียวทั้งๆที่นักเรียนในห้องส่วนมากยังอ่านเขียนอังกฤษไม่คล่องเลยด้วยซ้ำ (ส่วนเราพูดเขียนได้คล่องค่ะ แต่ไม่ได้แกรมม่าเลย เวลาคุยกับชาวต่างชาติ เขาก็ไม่ได้ว่าอะไรเลยค่ะถ้าเราพูดแกรมม่าผิด แค่สื่อสารให้เข้าใจก็พอ)
@chanchaiwangdee5367
@chanchaiwangdee5367 Жыл бұрын
เอาข้อสอบPISA มาให้ รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการให้คนในระบบการศึกษา รวมทั้งพวกนักวิชาการทั้งหลายลองทำดูก่อนไหม
@passiemk11
@passiemk11 Жыл бұрын
เคยไปดูแล้วค่ะ ง่ายจะตาย
@surapongtritipskul3950
@surapongtritipskul3950 Жыл бұрын
ข้อสอบไม่ถึงกับยากคับ แต่การเขียนต้องละเอียดหน่อยคับ
@iamsusi29
@iamsusi29 Жыл бұрын
สอนให้จำไปกา ก็เลยเขียนเหตุผลไม่เป็น
@johnmadow5331
@johnmadow5331 11 ай бұрын
ข้อสอบนี้ให้แค๋เด็กวิทย์ระดับผลการเรียนปานกลางทำก็ได้ผลดีครับ แต๋ถ้าเอาโรงเรียนวัดโคกขี้แร้ง หรือ หนองม้าว้อทำมันก็ออกมาแบบนั้นแหละ สมัยโบราณที่มีข้อสอบ"กระทรวง"ระดับ.ประโยค" ผมเป็นเด็กระดับล่างจากห้องคิงส์ของโรงเรียนดังๆของไทยผมก็ทำได้ดี
@kool1311
@kool1311 3 ай бұрын
ข้อสอบไม่ยากมากนะครับ
@bajangkamo
@bajangkamo Жыл бұрын
เด็กเรียนร้อยวิชา ทั้งทีบางวิชาไม่รู้จะเรียนแล้วเอามาใช้อย่างไร แถมกิจกรรมสารพัด ครูนั้นวุ้นเพราะสารพัดงาน เจ้าหน้าพัสดุ ธุรการ ภารโรง งานประชุมทั้งหลาย พร้อมงานต้อนรับคณะแขกผู้ทรงเกียรติทั้งหลายแหล่
@เทย่าเก็กเค
@เทย่าเก็กเค Жыл бұрын
เป็นเช่นนี้มานานนนนน และจะยังคงเป็นเช่นนี้ตลอดไป ตราบใดที่บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายไม่เปลี่ยนวิสัยทัศน์ ค่านิยมผิดๆ และยังคงมุ่งทำธุระกิจ หารายได้กับการเรียนการสอน ไม่จบไม่สิ้น
@cattiekwan
@cattiekwan Жыл бұрын
เพราะวิธีการสอนไร้ประสิทธิภาพ หลักสูตรก็ตกยุคคะ คือ ระบบราชการไทยตกยุคสุดๆโดยรวม
@georgeyang3200
@georgeyang3200 11 ай бұрын
ถ้าพวกบ้าอำนาจยังบริหารประเทศแบบนี้อีก 10 ก็ตามไม่ประเทศอื่นหลอก….ไม่ต้องไปหวัง…เดียวนี้คนรุ่นใหม่เขามีความรู้และฉลาดมาก100เท่า…
@ramsrisith6372
@ramsrisith6372 Жыл бұрын
วิเคราะห์ผืดแล้วครับ​ โรงเรียนเด่น​ ๆ​ ส่วนมากจะมีคณาจารย์ทีมีวุฒิทางการศึกษาดีเยี่ยมแทบทั้งหมด​ รวมทั้งด้านอาคารสถานที่​ อุปกรณ์การเรียน​ ที่พร้อมมูลเอื้อต่อการเรียนรู้ทุกอย่าง.. และข้อสำคัญคือเด็กที่จะเรียนได้นั้น​ ฐานะทางบ้านต้องดีพอ​ และต้องเป็นผู้ทีมีสติปัญญาสูงเกินเกณฑ์ด้วย.. จึงจะมีโอกาสได้เข้าไปเรียน.. เห็นมีหลายคณะนี่ครับที่เดินทางไปดูงานด้านการศึกษาที่ประเทศต่าง​ ๆ​ ไม่มีซักประเทศเลยหรือครับที่จะนำมาปรับปรุุงใช้กับบ้านเราได้​ หรือว่าก็แค่ไปดูอย่างเดียว.. ป.ล.​ ฟังการให้สัมภาษณ์แล้ว​ ดร.เอ้พูดแบบนักการเมืองหาเสียงเป๊ะ​ เหมือนอยู่บนหอคอยงาช้าง​แล้วตัดสินผู้ที่เดินอยู่บนพื้นดิน​ว่าควรเป็นอย่างไร​ เจ้าหนุ่มที่นั่งคู่ดูจะพูดจาติดดินมากกว่า.. บนหอคอยเหฺ็นไกลก็จริง​ แต่ลองลงมาเดินบนดินดูบ้างก็ได้นะครับ.. จะได้เห็นภาพชัดขึ้น..
@sabakukireko5863
@sabakukireko5863 Жыл бұрын
+1 ครับ
@sittichokngamsut9944
@sittichokngamsut9944 Жыл бұрын
ถ้าเขาตั้งใจไปศึกษาดูงานจริง อย่างน้อยเขาก็ต้องรู้ว่าประเทศที่เขาพัฒนาแล้วเขาให้ความสำคัญกับครูกับการสอนและการดูแลเด็กจริงๆ ซึ่งครูในประเทศที่พัฒนาแล้วเขาแทบไม่ต้องทำอะไรเลยนอกจากสอน เลิกโรงเรียนกลับบ้านเตรียมสอนวันต่อไปก็แค่นั้น คงไม่ปล่อยให้ครูไทยทำงานสารพัดอย่างควบกับการสอนแบบนี้หรอก
@Infinity-g1o
@Infinity-g1o 6 ай бұрын
งบประมาณ
@prasitopatawong8262
@prasitopatawong8262 6 ай бұрын
คนหนุ่มนั่นพึ่งสอบได้ ผอ.กศน.หรือเปล่า ถ้าจำไม่ผิด
@mattch1243
@mattch1243 Жыл бұрын
ระบบราชการไทยทำให้ครูทำงานหนัก เด็กก็เรียนหนัก ความเครียดสูงทั้งครูทั้งเด็ก เด็กไทยมีภาวะเสี่ยงและเป็นโรคซึมเศร้าเยอะเลย
@gu128
@gu128 Жыл бұрын
😂😂😂😂
@jintanajintana1554
@jintanajintana1554 7 ай бұрын
จริง.บางประเทศเรียน 1/2 วันแต่เด็กเก่งกว่า.ไทย
@mattch1243
@mattch1243 7 ай бұрын
@@jintanajintana1554 มาเลย์ติดกับเรานี่แหบะครับ เขาเรียนครึ่งวัน คุณภาพอันดับสองรองจากสิงคโปร์ ประเทศเจริญๆเขาเริ่มเรีสนตอนอานุ7 ขวบ บ้านเรา 2 ขวบกว่าๆก็ถูกจับเข้าศูนย์เด็กเล็กแล้ว และนี่ก็น่าจะทำให้เด็กหน่ายเพราะขโมยวันเด็กไป
@นิภาภรณ์แสนคุณท้าว
@นิภาภรณ์แสนคุณท้าว Жыл бұрын
ฟังการแก้ปัญหาของ สพฐ แล้ว ตอนต้นคลิปไม่แปลกเลยที่การศึกษาไทยตกต่ำลงไปเรื่อยๆ แทนที่จะวิเคราะห์ต้นตอของปัญหา แต่จะมาแก้ที่ปลายเหตุ ด้วยระบบพี่เลี้ยง กล่องของขวัญ ช่างตื้นเขินจริงๆ
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
เรื่องนี้สะท้อนคุณภาพของครูผู้สอนด้วย ครูบางส่วนยังไม่ได้คุณภาพ ประสิทธิภาพในการสอนไม่เท่ากัน และงานของครูในประเทศไทยไม่ได้สอนอย่างเดียวอย่างเต็มที่แต่ต้องทำงานวิชาการอื่นๆอีกมากมาย
@Chartpan18
@Chartpan18 9 ай бұрын
ใช่ครับ เด็กนักเรียน เรียนเยอะเรียนหลายวิชาเกินไป จนดูเหมือนจับฉ่ายไปหมด อีกอย่างตามใจเด็กทุกสิ่งทุกอย่างจนเกินไป จนขาดระเบียบวินัย จนไม่เอาอะไรเลยุคุณภาพก็แย่ตามที่เห็น
@kannachatseangboon2718
@kannachatseangboon2718 Жыл бұрын
เด็กเล็กหลายที่น่าสงสาร ครู ไม่มีความเป็นครู ใช้อารมณ์กับเด็ก หลานชาย กลัวการไปโรงเรียน กลัวการเขียน น้องขาดความมั่นใจ มองหน้าครูตลอด เพราะน้องคงโดนครูบางท่านกระทำอย่างหนัก จนถึงขั้นพบจิตแพทย์ และอยู่ขั้นตอนกำลังรักษาอยู่ แก้ที่คนสอน จิตวิญญาณผู้สอนอย่างหนักจะดีมาก
@sunc.8275
@sunc.8275 Жыл бұрын
เรื่องแบบนี้ต้องช่วยกันทุกฝ่าย ระบบก็ต้องแก้ ผู้ปกครองก็ต้องใส่ใจเด็ก เด็กเองก็ต้องพยายามด้วย ไม่ใช่โทษกันไปมา
@yourkeytosuccess647
@yourkeytosuccess647 Жыл бұрын
อันนี้จริงครับ ถ้าแต่ละคนมีความรับผิดชอบ ขยัน และพ่อแม่ แบ่งเวลาให้เพื่อดูแล มันไม่มีปัญหานะครับ
@ภักพลแต่งศรีวรรณ
@ภักพลแต่งศรีวรรณ Жыл бұрын
เห็นด้วยอีกหนึ่งเสียง ผมเห็นหลายบ้าน เวลาเด็กมีปัญหาการเรียน มักโทษครู โทษโรงเรียน โทษรัฐบาล โทษกระทรวง แต่มักลืมมองตัวเอง และมีข้ออ้างให้กับตัวเอง งานยุ่ง ไม่มีความรู้ เด็กไม่รักดี (ผมเห็นบางบ้าน วัน วัน พอว่างจากงาน ก้มหน้าก้มตาดูโทรศัพท์) เด็กจะเก่งได้ ต้องเริ่มต้นที่ครอบครัว เด็กอนุบาล ประถม ต้องใช้ความรู้แค่ไหนเชียว พอพื้นฐานเขาดี เขาก็จะไปต่อได้สบาย ปล. ผมไม่ได้มีอาชีพเป็นครู ผมเป็นพ่อมีลูก 2 คน และลูกก็เก่งระดับหนึ่ง จึงเห็นปัญหาของคนรอบข้าง ซึ่งก็ไม่ทุกบ้าน บางทีเตือนเขา เขาโกรธเราด้วยแหนะ
@thanetn3934
@thanetn3934 Жыл бұрын
ใช่ครับ ปัญหาเกิดจากทุกส่วน มีแต่โยนกันไปมาไม่มีทางแก้ได้
@R.K.O1
@R.K.O1 Жыл бұрын
สันดานผู้ปกครองเปียนกันไม่ได้จริงๆ พ่อเเม่ประเภทมีลูกเเล้วทิ้งให้ยายตาเลี้ยง พ่อเเม่หนีหายหัวไปหมด
@waroonh4291
@waroonh4291 Жыл бұрын
ไม่เน้นฉลาด เน้นเชื่อง ให้เชื่อฟัง ให้ท่องจำ เอาแค่นั้นพอ (ถ้าคิดจะเอากันแบบนี้ก็รอวันสิ้นชาติเหอะ)
@ภูวณัฐเชษฐสุมน
@ภูวณัฐเชษฐสุมน Жыл бұрын
การประเมิน (evaluation) การประเมิน = การวัด (measurement) การประเมิน =การวิจัยประยุกต์ (applied research) การประเมิน =การตรวจสอบความสอดคล้อง (determining congruence) การประเมิน =การใช้เครื่องมือช่วยในการตัดสินใจ (assist decision making) การประเมิน =การอธิบายอย่างลึกซึ้งหรือลุ่มลึก (description or portrayal) การประเมิน =การวินิจฉัยตัดสินคุณค่า (determining of worth or value) เป้าประสงค์ของการประเมิน (evaluation goal) จุดมุ่งหมายของการประเมิน คือ การพัฒนาคุณค่า วัตถุประสงค์ของการประเมิน คือ การตัดสินคุณค่า สิ่งที่ต้องการประเมิน เริ่มจาก ทรัพยากร ไปสู่ กิจกรรม ไปสู่ โครงการ ไปสู่ แผนงาน ไปสู่ แผน (รวมนโยบาย) ไปสู่ หน่วยงาน ไปสู่ สถาบัน/องค์กร ไปสู่ สังคม (คือปลายทาง) การเมืองของการประเมิน หมายถึง การที่ผู้เกี่ยวข้องกับการประเมินไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง พยายามสร้างอิทธิพลหรือเข้ามามีอิทธิพลต่อกระบวนการประเมิน (รวมเข้ามาครอบงำทางความคิด แนวคิด ตลอดจนทัศนคติ ของคน และสังคม) เพื่อให้การดำเนินการงานหรือผลการประเมินเป็นไปในทิศทางที่ผู้นั้นปรารถนา ดังนั้นการเมืองของการประเมินจึงเป็นความพยายามโน้มน้าวหรือโน้มนำหรือการใช้อำนาจต่อกิจกรรมการประเมิน เพื่อให้เห็นผลของการดำเนินงานไปในทางสำเร็จ/ล้มเหลว ซึ่งจะเป็นแนวทางนำไปสู่การสนับสนุน/ต่อต้านโครงการนั้น หรือโครงการใหม่ (รวมถึงกิจกรรมหรือเหตุการณ์หรือเรื่องราวต่างๆ) ของหน่วยงาน/สถาบัน(สถาบันทางการเมืองคือพรรคการเมืองที่เป็นส่วนหนึ่งของสถาบัน)นั้น อันจะนำไปสู่การสร้างภาพลักษณ์(รวมสร้างความชอบธรรม และอำนาจทางการเมืองต่อไป
@joebangkokthailand
@joebangkokthailand Жыл бұрын
แนะนำให้เด็กไทยเรียนไปด้วยและทำงานไปด้วยตั้งแต่จบ ป.6 จะทำให้เด็กได้ค้นหาตัวเองและรู้ว่าตัวเองอยากทำงานอะไรตั้งแต่เมื่อตอนอยู่ ม.ต้น และ กระทรวงศึกษาต้องปรับหลักให้ตรงกับความต้องการของเด็กที่จะนำไปใช้ทำงานในอนาคต ถ้าเป็นไปได้ปรับหลักสูตรเป็นอินเตอร์ตั้งแต่ อนุบาล และ ให้เรียนภาษาที่ 3 กันตั้งแต่เด็ก นอกจาก ภาษาไทยและอังกฤษ และ ปรับชม.การเรียนให้น้อยลง คือ เรียนหลังเลิกงาน หรือ ทำงาน 3 วัน เรียน 3 วัน
@naninanut.5395
@naninanut.5395 Жыл бұрын
เด็กๆมีเวลาเท่ากัน อาทิตย์นึงมี168 ชั่วโมง แล้วแต่ว่าเวลาที่มีเด็กๆจะใช้ทำอะไร เราอยู่อเมริกา ลูกๆเรียนวันละ4-5 วิชา โรงเรียนห่างจากบ้าน 5นาที โรงเรียนเข้า 08:40 & เลิก 15:15 การบ้านไม่ค่อยมี ลูกๆเข้านอน2ทุ่มตื่น 8โมงเช้าทุกวัน เด็กๆอารมณ์ดีมาก ลูกสาวอยู่ป.6 เล่น gymnastics อาทิตย์ละ 8 ชั่วโมง + ballet 8 ชั่วโมง + computer coding 4 ชั่วโมง + ขี่ม้า 1 ชั่วโมง + piano 1 ชั่วโมง. ลูกชายอยู่ป.1 เล่นsoccer อาทิตย์ละ 5 ชั่วโมง + basketball 3 ชั่วโมง + parkour 3 ชั่วโมง + computer coding 4 ชั่วโมง + gymnastics 1 ชั่วโมง. ยังมีเวลากินข้าว, อาบน้ำ, อ่านหนังสือ, เล่นเกม. เพื่อนๆลูกก็หนักกิจกรรม เรียนที่นี่ไม่เครียดมากจนเริ่มเข้าม.3 พอเข้าม.3 เด็กๆส่วนมากจะเริ่มตัดกิจกรรมออก เหลือไวัแค่ 1-2 กิจกรรมที่ชอบจริงๆ เด็กไทยเก่งนะคะแต่ระบบประเทศเราคงจะไม่ค่อยดี รถติด, โรงเรียนไกลจากบ้าน, เด็กนอนไม่พอ & เหนื่อย เรียนเยอะแต่เรียนแต่จากหนังสือ ไม่ได้ออกกำลังกายมากเพราะต้องติวเยอะ หวังว่าระบบบ้านเราจะดีขึ้นเร็วๆนี้
@รณกรลายนอก
@รณกรลายนอก Жыл бұрын
ประเด็นสำคัญ ที่สื่อทุกสำนัก เห็นตรงกันคือ เน้นการท่องจำมากจนเกินไป เด็กจะต้องท่องจำแทบทุกวิชา แต่ไม่ได้สอนให้เด็ก รู้จัก คิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีส่วนร่วมในการเรียน เช่น เด็กต้องกล้าตั้งคำถาม ต้องกล้าคิด ไม่ใช่ ทุกอย่างจบที่ครูผู้สอนอย่างเดียว หลายๆคนจะพูดคล้ายๆกันคือ เด็กฝั่งยุโรปและอเมริกา เวลาในชั้นเรียน จะกล้าพูดกล้าถาม แต่เด็กฝั่ง โซนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศที่เด็กกล้าแสดงความเห็น มีแค่ สิงคโปร์และมาเลเซียเท่านั้น
@kukkik6839
@kukkik6839 Жыл бұрын
น่าจะมีวิจัยว่าในห้องเรียนแบบฝรั่ง เด็กฝรั่งหรือเอเชียได้คะแนนมากกว่ากัน
@รณกรลายนอก
@รณกรลายนอก Жыл бұрын
@@kukkik6839 ผลการ วิจัยตั้งแต่ปี 1994-2020 เด็กเอเชีย ทำคะแนนในส่วน วิชา คณิตศาสตร์และ พีชคณิต ได้สูงกว่าเด็กฝั่งยุโรปและอเมริกามากมาย แต่ประสิทธิภาพโดยรวม ทั้งการ คิดวิเคราะห์ การสร้าง นวัตกรรมใหม่ๆ การคิดนอกกรอบ สู้เด็กจากฝั่ง อเมริกาและยุโรปแบบไม่เห็นฝุ่น อยากรู้มั้ยว่าเด็กจากประเทศไหนที่ได้คะแนนสูงสุด เกาหลีใต้ เกาหลีเหนือ จีน และ จาก อิหร่าน
@Squier123
@Squier123 Жыл бұрын
​@@kukkik6839เอเชียเรื่องความคิดสร้างสรรค์ยังไงก็เเพ้ฝรั่ง แต่ถ้าให้มานั่งคิดเลขเอเชียขาดลอย
@BFP-BFP
@BFP-BFP Жыл бұрын
เรื่องขาดความคิดวิเคราะห์เห็นด้วย แต่เรื่องกล้าถามเนี่ยมันคงต้องใช้เวลานานต้องปลูกฝังเด็ก ครูยอมรับได้ไหมเวลาเด็กถามคำถามที่ตอบไม่ได้ ครูปรับวัฒนธรรมรับได้ไหมว่ามีคนมา challenge เพราะถึงตอนนี้ก็ยังคิดว่าผู้ใหญ่ยังมีความคิดว่าเด็กกว่าไม่ควรถามและกลายเป็นเถียง การออกความเห็นคือการเถียงและก้าวร้าว (ไม่ได้บอกว่าเห็นด้วยกับการแสดงออกแบบก้าวร้าว)
@BFP-BFP
@BFP-BFP Жыл бұрын
@@kukkik6839 ถ้าวิชาเลขหรือท่องจำแบบทฤษฎีจ๋าคนเอเชียน่าจะคะแนนเยอะกว่า ถ้าเรื่องเขียนจินตนาการวิเคราะห์โดยรวมฝรั่งจะทำได้ดีกว่า ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับว่าเด็กที่มาทำข้อสอบคือจากไหน เช่นถ้าเลือกเด็กไทยที่เรียนโรงเรียนที่ไม่มีสื่อการสอนครบหรือแบบครูคนเดียวสอนเด็กทุกวิชาบวก ป1 ถึงป6 แนวโน้มน่าจะคะแนนน้อยกว่าทุกวิชา (ขอไม่ดราม่าว่า พูดแบบบูลลี่เหรอ เปล่าแค่พูดถึงความเป็นไปได้ว่าครูคนเดียวจะเก่งทุกวิชาสอนเด็กหลายชั้นได้แล้วมีประสิทธภาพสูงมันมีโอกาสน้อย)
@ahakikimimi
@ahakikimimi Жыл бұрын
มุมมองคุณเอ้ ที่จะพัฒนาการศึกษา ควรนำมาใช้จริงๆ สักทีมันทำให้เกิดการพัฒนาได้จริง และมีประโยชน์มาก เด็กไทยเราเก่งกว่าหลายชาติ ดูจากการไปแข่งขันต่างๆ ได้เหรียญทองโอลิมปิกมามากมาย แต่ผลการสอบpisa ไม่มีประโยชน์ในประเทศไทย ชี้วัดไม่ได้ ไม่ควรเอาภาษีประชาชนไปใช้ เพื่อมาทดสอบ เพราะไม่ได้ใช้คะแนนpisaในชีวิต กังวลว่า เสียเงินภาษีไปแบบไร้ค่า
@tiktan4092
@tiktan4092 Жыл бұрын
ไม่เชื่อว่าเด็กโง่ แต่ครูไม่รู้จักสอนรู้จักถ่ายทอดมากกว่า เพราะตอนสมัยเรียนมัธยม มีความรู้สึกว่าแม่งเรียนเหมือนไม่เรียน เรียนแล้วเหมือนมันอยู่ที่เดิมอ่ะ ถามว่าเราโง่ไหม เราก็ไม่โง่น่ะ แต่ครูสอนไม่รู้เรื่อง บ่นพึมพำอยู่ฟน้ากระดานคนเดียว😂
@siriwanbun8085
@siriwanbun8085 Жыл бұрын
จริงค่ะ
@ยุติธรรมกรรมเก่า
@ยุติธรรมกรรมเก่า 11 ай бұрын
ในกรณีที่เด็กตั้งใจเรียนครูสำคัญมาก สมัยเด็กเอาครูพละมาสอนคณิตศาสตร์เนื่องจากขาดแคลนครู สอนผิดๆถูกๆ
@candyman1576
@candyman1576 11 ай бұрын
​@@ยุติธรรมกรรมเก่า555 โรงเรียนบางโรงเรียนเอกชนในสามจังหวัด เอาครูไม่ได้จบครูยังน้อยสอนในวิชาที่เกี่ยวข้องกับตังเองจบ แต่ครูจบรัฐศาสตร์ ไปสอนศิลปะอันนี้กูลั่นเลย ครูบางคนปี1เข้ามาสอนแค่2ครั้งแล้วออกข้อสอบ ถามจริงเอาอะไรมาออก ยิ่งเด็กจบที่โรงเรียนนั้นพอจบปริญญา 80%โรงเรียนนั้นจะรับหมด
@tamagemon
@tamagemon 6 ай бұрын
พกสมุดพกหนังสือมาอ่านให้ฟังด้วยคับ ถ้าไม่หายากสอนก้อให้นรทำเทส
@ฉันชื่อ.พิศิษฐ์.อายุประมาณ.31
@ฉันชื่อ.พิศิษฐ์.อายุประมาณ.31 Жыл бұрын
มี. ม.3. 2. รูปแบบ 1. ม.3. สาย เด็กเรียน 2. ม.3. สาย. เด็กทั่วไป
@maxzachin6840
@maxzachin6840 Жыл бұрын
โทษครูอย่างเดียวไม่ได้หรอกครับ มันต้องแก้และดูทั้งระบบ บางโรงเรียนที่ผมไปมาทั้งโรงเรียนมีครูคนเดียว วิ่งสอนเด็ก ถามตรงๆนะครับ ครูเก่งทุกศาสตร์วิชาเหรอ ครูได้ทุกทักษะเหรอ กระทรวงควรทำอะไรสักอย่าง เพิ่มครู คืนครูสู่ห้องเรียน เลิกประเมินบ้าๆบอๆ ทำงานอื่นที่นอกงานสอน
@JohnSmith-qd1uf
@JohnSmith-qd1uf Жыл бұрын
หลักสูตรอยู่เหนือครูครับ อยู่ที่รัฐบาลล้วนๆ อยากให้ประชาชนเป็นแบบไหน
@pannnonghong3406
@pannnonghong3406 Жыл бұрын
จริงมันต้องโทษรัฐมนตรีศึกษา
@offeryoung
@offeryoung Жыл бұрын
มันไม่ได้อยู่ที่ใครคนใดคนหนึ่ง หลักสูตรต้องแก้ ระเบียบต้องแก้ ครูต้องพัฒนา สังคมต้องพัฒนา และที่สำคัญที่สุดคือเด็ก เด็กนั้นก็มีหลายรูปแบบหลายระดับ มีทั้งสนใจ ขวนขวาย และไม่สนใจเรียน ถ้าเด็กทั้งหมดสนใจ ขวนขวาย นั่นยังไงเด็กก็พัฒนาได้ แต่ถ้าเด็กเป็นอีกกลุ่ม ต่อให้เอาจรวดมาดึงยังไงมันก็ไม่เอา แต่ที่สำคัญคือกลุ่มหลังตอนนี้มีมากขึ้นเรื่อยๆ
@smpuk
@smpuk Жыл бұрын
เคยเจอครูขายข้อสอบที่ตัวเองเป็นคนออก ใครไปเรียนพิเศษกับครูคนนั้นในวิชานั้นๆ จะได้คะแนนดี ถ้าครูผู้สอนทำแบบนี้ เด็กไทยจะไปเก่งได้ยังไง แล้วพ่อแม่บางคนก็ดันสนับสนุนเพื่อให้ลูกตัวเองได้เกรด 4 แบบนี้มันเลยทำให้เด็กบางคนที่อยู่รร.นี้ได้เกรดดี แต่พอไปสอบแข่งขันกับคนอื่นกลับสู้ไม่ได้ แบบไม่ติดฝุ่นเลย
@Linqingqing14
@Linqingqing14 Жыл бұрын
สมัยเราก็มี 20กว่าปีที่แล้ว
@narawadeeable
@narawadeeable Жыл бұрын
ใครน่ารักคะแนนเก็บมาเป็นกระบุง😂
@atenarnon
@atenarnon 6 ай бұрын
รัฐมนตรีประจำกระทรวงศึกษา ไปดูงานเยอะมากๆ แต่ก็ยังเป็นแบบเดิมๆ ทั้งๆ ที่ อินเตอร์เน็ตก็มี มือถือก็มี การทำสื่อแสนจะถูก แสนจะง่าย ห่วงจริงๆ
@yonsrirong5627
@yonsrirong5627 Жыл бұрын
ให้ลดการเรียนกวดวิชา ครูต้องตั้งใจสอนในห้องเรียน ห้ามครูในสถานศึกษาสอนกวดวิชา
@PP-nu8kz
@PP-nu8kz Жыл бұрын
ไม่เกี่ยวกับครูไปสอนกวดวิชาเลยครับ เด็กไทยสมาธิสั้นลงเรื่อยๆ เพราะเทคโนโลยี และการเรียนหลายๆ คนในห้องเรียน ถ้าเด็กเรียนไม่ทัน หรือไม่เข้าใจ ครูจะมารอแค่นักเรียนคนเหล่านี้ไม่กี่คนไม่ได้ ก็ต้องผ่านไปเพื่อส่วนรวม ตัวเด็กนั่นแหละ ต้องไปหาความรู้เพิ่มเติมในส่วนที่ไม่เข้าใจหรือไม่ทันเพื่อน ด้วยการไปเรียนกวด หรือต้องมีคนสอนให้เข้าใจ
@tigerngae8261
@tigerngae8261 Жыл бұрын
เพิ่มเงินเดือนให้ครูด้วยไหม บางกินมีภาระต้องกินต้องใช้
@stdkr4-285
@stdkr4-285 Жыл бұрын
@@PP-nu8kz เห็นด้วยครับ พวกตอบตามกระแสเม้นตามกระแส ก็จะบอกเป็นเพราะกวดวิชา ทั้งที่การกวดวิชาคือการเพิ่มพูนทักษะความรู้ด้วยซ้ำ จริงๆ ควรลดจำนวนวิชาที่มันพร่ำเพื่อ แล้วมาเพิ่มชั่วโมงวิชาสำคัญ วิชาหลักดีกว่า
@デイズ-0
@デイズ-0 Жыл бұрын
จขพ ความรู้รอบตัวโคตรน้อย การคิดวิเคราะห์ก็ต่ำ ถ้าเป็นเพราะกวดวิชาจริง ญี่ปุ่น จีน ต้องมีปัญหาแบบเดียวกันแล้วปะ ระบบการศึกษาของกระทรวงไทยนี่ล่ะตัวกากเลย kpi ครูที่ไม่เกี่ยวกับเด็ก ผลงานผักชีมหาศาลที่ครูต้องทำ เพราะมีพวกคนแก่น้ำเต็มแก้วแบบนี้ล่ะ ใช้ความรู้ที่มโนกันเองในวงคนแก่มาตอบ การคิดวิเคราะห์ก็ไม่เคยถูกสอน
@nol0apisit0lon2
@nol0apisit0lon2 Жыл бұрын
​@@PP-nu8kzงั้นสิงคโป ที่ได้อันดับ1 เด็กไม่เล่นมือถือหรอครับ ยอมรับเถอะครับระบบการศึกษามันห่วย
@jintanajintana1554
@jintanajintana1554 7 ай бұрын
วินัย..ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตัวเอง...สังคม....สำคัญมากกกก
@จิตรผ่อง
@จิตรผ่อง Жыл бұрын
เด็กเขมร ตอนเช้าไปช่วยพ่อแม่ทำงาน เข้าเรียนเที่ยงถึง 6 โมงเย็น พูดอังกฤษเก่งกว่าเด็กไทย
@daeng0y130
@daeng0y130 Жыл бұрын
อันนี้เรื่องจริงเมื่อ20กว่าปีทีผ่านมาเราไปเจอเด็กกัมพูชาทีญี่ปุ่นไม่น่าเชื่อเลยว่าจะพูดEngได้ดีมากทีแรกคิดมาจากฟิลิปิน
@สายชล-ฆ2ต
@สายชล-ฆ2ต 11 ай бұрын
จ้างคนฟิลิปปินส์ค่าแรงถูกๆมาสอนเด็กไทยเป็นหมื่นๆคนรับรองว่าภาษาอังกฤษในเมืองไทยเก่งหมดทั้งประเทศแน่
@สมพรหมอินทร์
@สมพรหมอินทร์ 11 ай бұрын
เด็กนักเรียนระดับประถมศึกษา เรียนมากมายหลายวิชามาก น่าจะเป็นสาเหตุให้นักเรียนรับภาระมากเกินไป บางวิชาที่เคยมีก็ยกเลิกไป อยากให้มีภาคปฏิบัติมากขึ้นวัดผลภาคปฏิบัติให้มากขึ้น บางวิชาไม่ต้องวัดผลแบบเป็นคะแนนเอาแค่ผ่านไม่ผ่าน จะลดภาระนักเรียนระดับประถมศึกษาลงไปมาก
@coredang
@coredang Жыл бұрын
ก็เนื้อหา / วัตถุประสงค์ของ PISA ไม่ได้โดนใส่เข้าไปในการศึกษาขั้นพื้นฐานนี่ ข้อสอบนี้วัดการคิดเชิงวิเคราะห์ ก็แปลว่า การศึกษาขั้นพื้นฐานไม่ได้เน้นการคิดเชิงวิเคราะห์ ทั้งที่ "ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21" เป็นคำที่พูดกันมานานมากแล้ว
@dontgiveup7262
@dontgiveup7262 Жыл бұрын
1. การบ้านไร้สาระเยอะมาก 2. ไม่นับโครงงาน รายงานกลุ่ม รายงานเดี่ยว ชั่วโมงจิตอาสา ชั่วโมงพัฒนาผู้เรียนบ้าบอทั้งหลาย กิจกรรมที่โดนบังคับให้ทำ กิจกรรมที่ต้องทำเพื่อใช้ยื่นพอร์ตเข้า รร ดัง เข้ามหาลัยดัง 3. เอาหนึ่งบวกสอง แล้วเหลือเวลาวันละกี่ชั่วโมงกันคะ พ่อแม่บางคนก็เลยต้องมาช่วยลูกทำทั้งหนึ่งทั้งสอง เพื่อจะให้ลูกไป... 4. เรียนพิเศษ เพื่อจะสอบเข้า รรดัง เข้ามหาลัยคณะดัง ๆ เพื่อสอบ GAT PAT SAT IELTS TOEFL ฯลฯ วนลูปกันไป
@ขวัญฤดีจันทร์แก้ว-ง2ต
@ขวัญฤดีจันทร์แก้ว-ง2ต Жыл бұрын
จริงค่ะ เรียนหนัก กระเป๋าหนัก เดินกว่าจะถึงแต่ละตึกแทบตาย เวลาเข้าห้องน้ำก้อไม่มี เข้าห้องช้าก้อโดน เด็กบางคนกดดันจนลาออกก้อมี😢
@lüye-f2x
@lüye-f2x Жыл бұрын
ครูเก่งหรือไม่ ครูสอนเป็นหรือไม่ ครูเป็นที่น่าเคารพของนักเรียนหรือไม่ นี่คือคุณสมบัติของครูที่ดี
@supawanthayaping7162
@supawanthayaping7162 Жыл бұрын
ไปดูหลักสูตรแกนกลาง แล้วจะรู้ว่า เรียนบางเรื่อง ซ้ำซาก ทำให้เด็กทำงานที่ครูสั่งมากมาย ความรู้เท่าเดิม บางเรื่องไม่จำเป็นต้องบังคับให้เรียน
@user-hx8ru4rl6k
@user-hx8ru4rl6k Жыл бұрын
นักเรียนม.ปลายหลายคน อีกไม่กี่ปีกำลังจะออกไปใช้ชีวิตผู้ใหญ่แต่กลับไม่ค่อยมีความรู้เรื่องภาษี การลงทุน กฎหมาย
@user-hx8ru4rl6k
@user-hx8ru4rl6k Жыл бұрын
บุคลากรที่เกี่ยวข้องควรพิจารณาแก้ปัญหา
@-mo-on-light-
@-mo-on-light- Жыл бұрын
จากใจเคยอยู่ห้องท้าย พูดตรงๆว่าโดนมองยิ่งกว่าควายค่ะ เวลาสอบโอเน็ต คือโดนว่าละทำคะแนนเพื่อนห้องอื่นตกบ้างแหละ ไม่สอนบ้างแหละทั้งที่ค่าเทอมก็จ่าย2พันเท่าเด็กคนอื่นดันโดนครูมองว่าโง่แล้วก็สร้างภาพจำให้ห้องอื่นมองห้องท้ายว่าโง่อีก ใครเจอครูดีในร.รอื่นคือดีใจด้วยมากๆนะคะ เรายังโชคดีที่สอบโอเน็ตผ่านสอบคะแนนผ่านแต่เพื่อนในห้องบางคนเขาเรียนไม่ไหวเรียนไม่รู้เรื่องครูก็จะเอาแต่ตี ตอนนี้จบมาหลายปีแล้วกฏห้ามตีน่าจะมาแล้วมั้ง ความทรงจำวัยเรียนดีๆไม่มีเลยสำหรับเรา55555
@iamsusi29
@iamsusi29 Жыл бұрын
เนื้อหาที่ให้ใช้ความจำ แต่ไม่สอนให้เข้าใจ สอนยังไงให้เด็กท้อแท้ ผู้สอนไม่สนใจ กระทรวงก็ไม่เห็นค่า จบมาแบบใจเหวอะหวะ สมควรให้เขาดูถูกการศึกษาแบบไทยสไตล์ เราก็จบมาแบบไม่ชอบที่สอนเลย ห่วย...
@pmk76
@pmk76 11 ай бұрын
สมัยนี้นักเรียนไม่อ่านหนังสือเพราะติดเกมมือถือครับ มีแค่นักเรียนห้องวิทย์-คณิต ที่แบ่งเวลาเป็น
@taojuka714
@taojuka714 Жыл бұрын
เด็กก็เรียนหนักครูก็ทำงานหนัก แต่ผลที่ได้ก็อย่างที่เห็นทำเยอะแต่ไม่มีคุณภาพแบบนี้ก็ไม่ไหว ต้องแก้การศึกษาด่วนเลยแบบนี้
@chemingsingmiding6702
@chemingsingmiding6702 4 күн бұрын
เอาแค่ความสำคัญของครู วิชาชีพเงินเดือนต่ำ ระบบหวย หัวหน้าไม่ความเป็นผู้นำ แมนที่จะโฟกัสจิตวิทยากับเด็กเพื่อความรู้เพื่อให้รักการเรียนรู้และแก้ไข้ปัญหาให้เด็กบ้างส่วนที่มีปัญหาการเรียน ดันมาต้องระแวงกับเอกสาร หัวหน้า ,ไหนจะเงินเดือนไม่พอใช้ต้องหาอาชีพเสริมอีก เทียบกับมาเล เวลาเรียนน้อยกว่า กดเกนบ้านเขาเครงกว่า แต่สิ่งสำคัญที่สุดที่เขาให้คือ ความสำคัญกับผู้สอนครูอาจารย์ ไม่ต้องคิดเรื่องอื่นเยอะ คิดแค่การสอนและจิตวิทยากับเด็กให้ได้ความรู้และรักการเรียนรู้
@tswbxyoojchannel3400
@tswbxyoojchannel3400 Жыл бұрын
ไม่แปลกครับ ตัวอย่างเช่นวิชาลูกเสือ ตั้งแต่เรียนมา ครูไม่เคยสอนหุงข้าว ทำอาหาร ไม่เคยสอนเรื่องสัตย์มีพิษไม่มีพิษ สมุนไพร ผมเข้าค่ายลูกเสือ ทำเป็นแต่มาม่าปลากระป๋อง
@kannachatseangboon2718
@kannachatseangboon2718 Жыл бұрын
สมัยลูกสาวย้ายมาประเทศนอร์เวย์ ตอนจบชั้นป.1 และขึ้น ป2 ได้สามเดือน ครูถามว่า ประเทศไทยสอนเลขยังไง ทำไมลูกสาวเก่งมาก ส่วนเด็กนอร์เวย์ เค้าไม่ได้เริ่มสอนอะไรเลย เค้าเน้นเล่น เดินป่า ทำกิจกรรมนอกห้องเรียน ปัจจุบัน ลูกสาวเรียนสายวิทย์ คณิต เตรียมตัวเข้ามหาวิทยาลัย กลายเป็นไม่เครียด ไม่เข้มเหมือนญาติ น้องชายที่เรียนในกรุงเทพ ลูกสาวบอกน้องเรียนเข้มกว่ามาก นอร์เวย์ ไม่เรียนโหดเท่าไทย รอดูว่าปีหน้า ลูกสาวกับหลานชายจะสอบติดอะไรได้บ้าง
@user-ru6nc5rz6o
@user-ru6nc5rz6o Жыл бұрын
นอรเวย์เขาน้ำมันเยอะป่าวครับ เมืองไทยเอาแบบอย่าง จีน เกาหลี ญี่ปุ่น ไต้หวัน สิงคโปร์ น่าจะเหมาะกว่า เพราะเขาพัฒนาชาติด้วยคน ไม่มีทรัพยากรอะไรมากมายเหมือนกัน
@santk2220
@santk2220 Жыл бұрын
ย้อนไปดูผู้บริหารประเทศแต่ละคน ดูการทำงานของรัฐบาล เจ้าหน้าที่ ข้าราชการ ผู้ใหญ่ในประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ ไม่แปลกใจ
@Zeth001
@Zeth001 6 ай бұрын
มันมีเรื่องที่มองข้ามมาตลอด จะให้ครูเอาเวลามาหาความคิดสร้างสรรค์ที่จะมาสอนเด็กให้มีความรู้ ให้อยากเรียน จากไหนก่อน วันๆเอาแต่ทำงานให้ผอ ซึงผอ ก็รับคำสั่งหนังสือมาจากเขตฯ เขตก็รับมาจากส่วนกลางอีกที หนังสือคำสั่งส่งมาแต่ละทีมีแต่ให้งานครูประเมินนั่นนี่ให้ครูทำงานที่ไม่ใช่การสอนเยอะไปหมด ทั้งที่ส่วนใหญ่ make เอาทั้งนั้น เอาจริงไทยอะครูเก่งเยอะมากนะ แต่ส่วนใหญ่ถอดใจ บางคนลาออกจากราชการ มันมองเห็นปัญหาแต่ไม่แก้กัน ดูแค่จากเด็กแห่ไปเรียนพิเศษ ทำไมครูสอนพิเศษมันสอนดีกว่า สร้างสรรค์กว่า เพราะมันไม่ต้องมานั่งทำงานเอกสาร เอาเวลาไปโฟกัสเด็กได้เต็มที่ แก้แค่นี้ให้ได้ก่อนเหอะ
@taramaneet695
@taramaneet695 Жыл бұрын
เด็กยังอ่านหนังสือไม่ออกก็ต้องให้เลื่อนชั้น เพราะหลักเกณฑ์ไม่ให้มีการซ้ำชั้น วิธีการสอนและเนื้อหาก็ไม่ส่งเสริมการอ่านออก
@johnmadow5331
@johnmadow5331 11 ай бұрын
สมัยผมนานมาเกือบ ๖๐ ปีแล้วทุกห้องมีการซ้ำชั้นกันห้องละ 15% (ยกเว้นห้องคิงส์)การเรียนให้ได้ดียากมากเพราะเรามีหลายวิชาที่ไม๋สำคัญมากมาย ที่พอมาเรียนเอมริกาวืชาพวกนี้โดนปลดทิ้งหมดในระดับมัธยม ผมคิดว่าวิชาลูกเสือ วิชาศิลป เลือก ที๋บังคับให้เราเรียนที่เมืองไทยยังมีค๋าน้อยกว๋าวืชา"ขับรถยนต์และกฏจราจร"ที่สอนในโรงเรียนเอมรืกาในสมัยโบราณซะอีก
@patcharin8593
@patcharin8593 Жыл бұрын
สอบตกเรียนพิเศษและในรร.หนักมาก แต่ครูหนักทำผลงานวิชาการ นั่นคือ คนรวยเรียนได้ แต่เด็กประถม มัธยมตจว.มาวัดเหลื่อมล้ำพูดมาตลอด ไม่เคยปรับพัฒนาระบบโครงสร้างเลย
@ploy8162
@ploy8162 Жыл бұрын
จริง
@poiujlp8785
@poiujlp8785 Жыл бұрын
พูดแบบความจริง เด็กไทยคุณว่ามีจำนวนเท่าไร คนที่ไม่ผ่านเกณฑ์กี่เปอร์เซ็นต์ เอาง่ายๆเด็กเมืองกับเด็กชนบทการเรียนการสอนมันก็ต่างกันแล้ว เมืองเรียนคอม ชนบทเรียนเกษตร แต่เอาตัวชี้วัดแบบเด็กเมืองมาตัดสิน สังคมไทยเคยชินกับคำว่าเสมอภาคเท่าเทียม แต่ความจริงมันไม่ใช่ โลกไม่สวยเหมือนคำพูด รวมไปถึงการรายงานผลจากตัวระดับล่างไปสู่ระดับสูง มักเอาคำโกหกเพื่องานผ่านง่าย หลอกนายเพื่อขั้นและตำแหน่ง และที่สำคัญนายไม่รู้อะไรเลย นายก็นำเสนอต่อหน่วยเหนือไปตามคำโกหกที่รับมา มักไม่ยอมรับความจริง เพื่อแก้ปัญหา แต่ยอมรับกับสิ่งหลอกลวงเพื่อผลสนองที่ตามมาต่อตนเอง เมื่อไหร่จะยอมรับความจริงแบบความจริงกันสักที
@Piyoungkul_yinsakulchai
@Piyoungkul_yinsakulchai 11 ай бұрын
ผมชอบการเรียนนะแต่ว่ามันหนักเกินไปอะอยากให้มีการปรับวิชาการงานจากให้ปลูกต้นไม้เป็นอาชีพในฝันดีกว่าแล้วเปลี่ยนวิชาหน้าที่พลเมืองจากให้สอนรักชาติเป็นสอนมารยาททางสังคมดีกว่า
@teeranatthaplum7380
@teeranatthaplum7380 Жыл бұрын
เด็กจะเก่ง จะเก่งตั้งแต่อนนบาล ป1- พื้นฐาน พ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย ต้องมีความรู้บ้างงครับ เพราะต้องสอนการบ้าน สอนอ่าน เขียน เรื่องจริง
@Piyanun-i5w
@Piyanun-i5w Жыл бұрын
ขอบคุณมากที่บอกปัญหาการศึกษา น่าสงสารลูกหลาน สู้ๆครับ
@fog3124
@fog3124 Жыл бұрын
เรียนหนักจบมาเป็นนักวิชาการไง ก็คิดเอาเองแล้วกัน วิเคราะห์ได้ทุกเรื่อง แต่ถูกรึป่าวอันนี้ไม่รู้
@somchaiaimpoe7709
@somchaiaimpoe7709 11 ай бұрын
จะทำโน่น จะทำนี่ จะมาแล้ว 20 ปี แล้วเรายัง " จะ " กับ อนาคต ทาง การศึกษา ต่อๆไปครับ น่าตกใจครับ กับ อนาคต ของ ประเทศชาติครับ
@P48511
@P48511 Жыл бұрын
1. ระบบการสอนล้าหลัง หลักสูตรไม่ตรงกับโลกปัจจุบัน 2 .ครู 1 คนต้องทำหน้าที่หลายอย่าง จัดซื้อจัดจ้าง พัสดุ ประเมินผลการเรียน ประเมินผลงานระดับโรงเรียน วางแผนการเรียนการสอน ไหนจะต้องทำ วิริยะฐานะ เพื่อเลื่อนระดับอีกต่างหาก **นี้คือความจริงเพราะแม่ผมเป็นครูมา ตอนนี้เกษียณอายุราชการแล้ว
@ratchanaisirichan1385
@ratchanaisirichan1385 Жыл бұрын
เด็กยุคนี้เขาไม่ได้ดิ้นรนจะเดินตามระบบต่างหาก พ่อแม่รุ่นผมไม่คิดส่งเสริมด้านการเรียนด้วยเพราะเรารู้ซึ่งความทุกข์ในระบบการศึกษา อย่าไปฝืนใจคนเลย
@jintanajintana1554
@jintanajintana1554 7 ай бұрын
ให้เวลาเรียนมากกก....แต่ได้ความรู้น้อย...แปลกดีมีที่ประเทศไทย
@veechat
@veechat Жыл бұрын
รัฐบาลที่แล้วพรรคไหนเป็นรมต.ศึกษา น่าจะไปบอกคนในพรรคปฏิรูปการศึกษานะ
@allercetcetirizine9857
@allercetcetirizine9857 Жыл бұрын
ดร.เอ้ พูดถูกต้องที่สุดแล้วครับ
@maxness2582
@maxness2582 Жыл бұрын
อยู่ที่ตัวผู้สอนครับ และบุคลากรให้ความรู้ แร่งแต่หาเงิน ไม่ใส่ใจในตัวเด็กให้มากขึ้น แบบจริงจัง ให้สมกับเงินเดือนที่เพิ่มขึ้นตลอด แต่เด็กต้องท่องจำกับต้องเสียตังค์ค่าเรียนพิเศษเพื่อแข่งกับเพื่อนในห้อง แต่ออกนอกห้องจาก โรงเรียนตัวเองไป ก็รู้แล้วว่าสู้ใครได้ .....?ไม่มีไง
@ภูวณัฐเชษฐสุมน
@ภูวณัฐเชษฐสุมน Жыл бұрын
ปัญหา หมายถึง สภาวะที่บกพร่อง ------------ สภาวะที่ไม่สมบูรณ์ ------------ สภาวะที่น่าผิดหวัง ------------ สภาวะที่เบี่ยงเบนไปจากมาตรฐาน องค์ประกอบของปัญหา -ความเบี่ยงเบน(ออกจากมาตรฐานหรือเป้าหมาย) -เหตุการณ์ในอนาคต(ความแตกต่างที่เป็นแนวโน้ม จะต้องปรากฏในอนาคต) -ความไม่แน่นอน(มีเหตุมาแทรกแซง ย่อมมีโอกาส เกิดขึ้นได้เสมอ) ความเข้าใจปัญหา -เข้าใจปัญหาทั้งหมด -เข้าใจปัญหาบางส่วน -ไม่เข้าใจปัญหา การแก้ปัญหาเป็นผลของการตัดสินใจ อาจจะเป็น -แก้ปัญหา หรือ -ไม่แก้ปัญหา หรือ -ขยายปัญหา หรือ -แก้ปัญหาเก่า แต่ก่อปัญหาใหม่ หรือ -ลดปัญหาเก่าได้บางส่วรน แต่ก็ก่อปัญหาใหม่ หรือ -ขยายปัญหาเก่า และเพิ่มปัญหาใหม่ หรือ -ผนวกปัญหาเก่าเข้ากับปัญหาใหม่ ทำให้สลับซับซ้อนยิ่งขึ้น
@อารีศรีทองเพ็ชร-ฏ1ฌ
@อารีศรีทองเพ็ชร-ฏ1ฌ Жыл бұрын
ฟังท่านรองฯ...พูดแล้วผมอายครับ บ้านผมเขาเรียกว่าแก้เก้อนะครับ....สุดท้ายเด็กคือหนูทดลองยา..มาทุกรุ่น..ท่านครับ..ลองให้กระจายอำนาจลงมาให้ท้องถินผมว่าเขาทำได้ดีกว่าใช้ระบบเบื้องบนสั่งการเหมือนเดิม...แค่นี้ก็รู้แล้วว่ากึ๋นผู้นำทางการศึกษาคิดอะไรอยู่...สุดท้ายก็คิดเหมือนเดิม...😢
@yolomct2073
@yolomct2073 Жыл бұрын
เปลี่ยนหลักสูตรก่อนเลยครับ ส่วนใหญ่เป็นการเน้นจำมากเกินไป จึงไม่เกิดการคิดอย่างมีหลักการ
@rockdiy
@rockdiy Жыл бұрын
ไม่ใช่เรียนหนักครับ แต่เรียนเยอะเกิน คือมีหลายวิชาเกินไป
@piboonpinsuwan6707
@piboonpinsuwan6707 8 ай бұрын
ผมเกษียณมาได้6ปีมานั่งเลี้ยง​หลาน​2คนคนโตเรียนป.1คนเล็ก​อยู่​อนุบาล​1​ทุกวันนี้​มานั่ง​สอนอ่านเขียน​เห้นหลักสูตรถึง​ม.3แล้วตกใจครับเรียนอะไรกัน​มากมายก่ายกอง​เอาแค่เขียนตัวD​ ตัวใหญ๋​.dตัวเล็ก20ตัวงอแงหนึ่ง​ช.มเอาแค่​บันได​ขั้น​เล็กๆยังขนาดนี้อย่า​ไปพูด​ว่าจะปีนถึง​ยอดดอยอินทนนท์...
@OliveraZhang
@OliveraZhang Жыл бұрын
ถ้าพูดถึงเด็กโดยรวม เห็นคนพูดเรื่องการศึกษาโดยตรงหลายเม้นท์แล้วที่น่าสนใจ ผมขอพูดถึงเงื่อนไขของการใส่ใจต่อการศึกษาดีกว่า ครอบครัวชาวบ้านทุกวันนี้จะอยู่ให้รอดวันต่อวันยังลำบากเลยครับ ใครจะมีกะใจไปใส่ใจเรื่องเรียนครับ ถ้าปากท้องเรายังไม่ดี มันไปต่อยากครับ มันต้องมีสวัสดิการสังคมให้ทุกคนใช้ชีวิตอยู่ได้ก่อนครับ
@user-ru6nc5rz6o
@user-ru6nc5rz6o Жыл бұрын
อยู่ที่ทัศนคติของคนด้วยครับ ถ้าสวัสดิการดีให้ทุกครอบครัวอยู่ได้ ก็จะมีบางครอบครัวบอกว่า อยู่ด้วยสวัสดิการได้แล้วจะดิ้นรนทำงานดิ้นรนเรียนหนังสือไปทำไม มันมีจริงๆครอบครัวแบบนี้ แต่แน่นอน มันจะช่วยให้บางครอบครัวที่พยายามได้มีโอกาสมากขึ้น
@OliveraZhang
@OliveraZhang Жыл бұрын
@@user-ru6nc5rz6oผมแค่ขอให้คนที่ขยัน คนที่ใช้ความสามารถของตัวเองอยู่ได้ แค่นั้นก็น่าจะพอครับ แต่มันไม่ใช่แบบนั้นสิ
@skyteam8561
@skyteam8561 Жыл бұрын
อย่ามีข้ออ้างเลย...ว่าเด็กเครี้ยด บลา บลา บลา....
@เล็กแดก-ญ3ฑ
@เล็กแดก-ญ3ฑ Жыл бұрын
จากประสบการณ์​ผมเคยเป็นเด็กมาก่อน​จนวันหนึ่งต้องมาเป็นคณะกรรมการประกวดการแข่งขันนวัตกรรมวิชาการ​ ทีมที่ควรจะชนะ​ กลับไม่ชนะ​ เหตุผลที่จำใจตัดสินให้แพ้เพราะ​ปีทีแล้วเขาแพ้​ให้เขาไปเถอะ​ ผมก็คิดได้ว่าผมก็เคยเป็นเด็กที่แข่งขันแบบนี้มาก่อน​ สุดท้ายแล้วเราทำไปเพื่ออะไร​เพื่อใคร​ทำไมต่างหากละครับ😢😢😢
@9chortravelgames90
@9chortravelgames90 Жыл бұрын
มีใครเคยไปสำรวจมั้ยว่าเด็กเรียนแก่ง ทำยังไงให้เรียนเก่ง แล้วคนเรียนไม่เก่งมันทำยังไง อย่าเอาแต่โทษการศึกษาหรือครู ห้องเดียวกันก็มีทั้งคนสอบได้คะแนนสูงและต่ำ ลองไปศึกษาดูยัง
@TitineYin
@TitineYin 11 күн бұрын
สิ่งหนึ่งคือไม่ใช่เทคโนโลยีที่เข้าถึงเพียงอย่างเดียว โอกาสที่พัฒนาการเรียนรู้จากประสบการณ์ที่สมวัย การเรียนที่เหมาะกับเด็ก อย่าหลงไปกับเทคโนโลยีจนลืมพื้นฐานชีวิตที่จะสร้างให้เด็กพัฒนาในแบบในความถนัดของเขา
@ด.ญ.ศศิภัทร์อกอุ่น
@ด.ญ.ศศิภัทร์อกอุ่น Жыл бұрын
1. ครูบางคนก็ไม่เก่ง สอนในห้องไม่เต็มที่ คอยแต่จะเจอกันที่เรียนพิเศษ 2. เด็กประถม 1วิชาใช้เวลาสอนแค่ 1ชั่วโมง ครูเข้าสายบ้าง มัวแต่ดาเด็ก ๆบ้าง กำลังทำความเข้าใจในเนื้อหาที่สอน จบ....หมดเวลา... 3.วิชาไร้สาระเยอะมาก 1วันเรียน 6วิชาแม้แต่แนะแนวก็สั่งงานชิ้น รายงาน ชมรม ก็เคร่งเครียดหนักกว่าวิชาหลัก 5 วิชาเสียอีก 4.ครูภาษาอังกฤษ ก็พูดอังกฤษไม่ได้อธิบายไม่ค่อยถูก ( อยากเก่งอังกฤษต้องไป ร.ร. เอกชน แพง ๆ ) 5.หนังสือหลาย ๆเล่ม แบกกันไปทุก ๆ วัน วันละประมาณ 5-7 กิโลนะค่ะ เอาไปชั่งน้ำหนักดูได้เลย แต่ไม่ได้สอนทุกเล่มค่ะ ถ้าไม่เอาเล่มไหนไปก็โดนตีอีก.... ถ้าถามว่าต้องเข้มการอ่านไหม ใช่ค่ะ แต่บางวิชาน่าตัดออกไปบ้าง เพราะเอาแต่วิชาหลัก ๆ ยาก ๆ วิชาทั่วไป เอามาใส่เป็นกิจกรรมชมรมบ้างก็ได้ # จะต้องสอนทุก ๆ วิชาทุก ๆอย่างในชีวิตก็ไม่ไหว บางอย่างก็ฝึกเองได้ในชีวิตประจำวัน ไม่ต้องดึงมาสอน ไปสะทุกอย่าง ( ความคิดเห็นส่วนตัวนะค่ะ )
@chutimaprompradith7692
@chutimaprompradith7692 Жыл бұрын
ป.1 ป2 ป3 ป4 5555เรียน คณิต อังกฤษ เทอมละ 3 เล่ม จากการดูหนังสือ มันสุดๆๆๆ ถามว่าครูเองก็สินไม่ครบค่ะ เด็กบางคน ป.4 ถาม ตัวพยัญชนะ ข้ามตัวชี้ ตอบไม่ได้ ว่า ตัวอะไร สูตรคูณ ท่องไม่ได้ สุดๆๆๆ จากการประเมินการสอนการบ้านหลานๆ และถามว่าครูให้ทำอะไร เด็กบอก ……
@jrochai7131
@jrochai7131 Жыл бұрын
อยากจะพูดมานานแล้ว มากวิชาเกินไปรับยาก เก่งในวิชาแต่อ่อนวิชาในการดำรงชีพ
@คิดทําดีมีแต่สิ่งดีดี
@คิดทําดีมีแต่สิ่งดีดี Жыл бұрын
เรียนหนักเฉพาะหลักสูตร เพราะเด็กต่างจังหวัดแทบไม่เขาเรียน ติดยา ติดเกม ติดเซ็ก
@ดวงทนงพุทธินันท์
@ดวงทนงพุทธินันท์ Жыл бұрын
จะให้โรงเรียนเก่งช่วยโรงเรียนอ่อน ทางปฎิบัติจะทำยังไง คนที่จะไปช่วยเก่งจริงหรืดเปล่าหรือเป็นเด็กเส้น วัดผลครูก่อนไม่ดีกว่าหรือ
@Komaru_2005
@Komaru_2005 5 күн бұрын
ความคิดเห็นส่วนตัวของผมนะครับ : ผมคิดว่าทำไมการศึกษาไทยต้องมุ่งให้เด็กติดท๊อปหล่ะครับ? การติดท๊อปบางทีมันก็ไม่ได้วัดได้ว่าคนนั้นเก่งเท่าที่ควรนะครับ ความเห็นส่วนตัวของผมคือ เเทนที่พวกเราจะมุ่งยกระดับการศึกษาไทยเกี่ยวกับการนำสิ่งที่เรียนไปปฏิบัติงานจริงๆได้เเละเลี้ยงชีพตัวเองได้ไม่ดีกว่าหรอครับ เศรษฐกิจเเละการไหลเวียนกระเเสเงินสดของประเทศไทยจะได้ไหลลื่นมากยิ่งขึ้นด้วย ทำไมต้องเเย่งเป็นที่ 1 หรือ ติดท๊อปกันหล่ะครับ สำหรับผมส่วนตัวเเล้วคิดว่าผลการเรียนที่ดีไม่ใช่จะวัดว่าเด็กเก่งหรือไม่เก่งครับ มันอยู่ที่คุณเรียนจบเเล้วคุณมีความสามารถมีความรู้เเละประสบการณ์นำมันไปใช้ในชีวิตได้หรือเปล่าเเละสามารถนำไปประกอบเลี้ยงชีพตัวเองได้หรือเปล่า😶‍🌫
@chadrudeesirilamduan5154
@chadrudeesirilamduan5154 Жыл бұрын
เด็กไทย บาง รร ต้องเรียนพิเศษกับครูเพื่อทำข้อสอบให้ได้ และเรียนพิเศษ รร กวดวิชา ถาม นศ ปี 1 ทุกปี ใครไม่เรียนพิเศษ มีน้อยมาก ค่ะ หลักสูตรไทย ต่างจากหลักสูตรอื่นค่ะ ไม่วิจารณ์แล้วกัน ทุกคนทราบค่ะ
@passanunmook1844
@passanunmook1844 Жыл бұрын
พิธีกรผู้ชายต้องปรับปรุงวิธีการสัมภาษณ์แขกรับเชิญด่วน การพูดแทรกแขกทั้งๆที่แขกยังพูดไม่จบ การเสนอแนวคิดตัวเองแบบมั่นหน้า ไม่ควรทำค่ะ
@ApMghjvv
@ApMghjvv Жыл бұрын
อีกความเห็นนึงเลยนะ แบบที่สัมผัสมาเลยจากโรงเรียนแห่งนึง เด็ก ป.1 เล่นโทรศัพท์ พกมาโรงเรียนเกือบทั้งโรงเรียน บางคนเล่นติกต๊อก ไปวัดก็ไปเจอเด็กยังไม่เข้าโรงเรียนเล่นเกมแบบผู้ปกครองก็สบายไป ไม่ต้องเลี้ยงให้หน้าจอเลี้ยง แล้วเด็กมีภาวะ ออทิสติกเทียมเยอะมากๆๆๆๆ บางคนรอเลิกเรียนเพื่อไปกลับไปเล่นเกม ไม่อยากให้โทษแค่ครู เพราะแดวนี้เด็กโง่ก็โทษครู
@user-ru6nc5rz6o
@user-ru6nc5rz6o Жыл бұрын
จริง หลานญาติ ม.ปลายแล้ว เล่นโทรศัพท์จนมือหงิก
@Squier123
@Squier123 Жыл бұрын
ผมเล่นมือถือเล่นเกมส์หนักมากแต่ตอนสอบ pat 3 ผมได้ 200+ เข้าวิศวะ มก. ได้ผมว่ามันอยู่ที่วินัยล้วน ๆ และความสนใจของตัวเด็ก
@310thebank
@310thebank 6 ай бұрын
อย่างสมัยผม ให้เด็กเรียนอย่างเดียว ไม่มีกิจกรรม ทำเหมือนเรือนจำ มีเวลาพักน้อย ท้ายที่สุดใครมีเงินยุคนั้น ส่งไปเรียนนานาชาติ เรียนครึ่งวัน มีเวลาให้เลือกวิชาที่อยากให้เรียนเอง สมัยผมเรียน เรียนโคตรไม่มีความจำเป็น ตรีโกณมิติ แคลคูลัส เรียนไปทำไม ไม่ได้ใช้เลยจริงๆ และยุคนี้ AI ก็คำนวณได้เก่งแล้ว เราควรสอนให้ เน้น ประยุกต์ และสร้างสรรค มากกว่าสอนให้ ใช้เครื่องจักรเป็น ท่องจำแบบสมัยก่อน
@nuchjarinng2301
@nuchjarinng2301 Жыл бұрын
กระทรวงศึกษาธิการอาจจะต้องเพิ่ม โรงเรียนประจำ เพื่อลดการเดินทาง ช่วยให้แบ่งเวลาได้เหมาะสม
@ZeeZanZun
@ZeeZanZun Жыл бұрын
สอนมะละกอ ออกแอปเปิ้ล คือ เหมือนโรคจิต ออกข้อสอบแบบถ้าเด็กทำไม่ได้มันจะฟิน คงลืมไปว่าเป้าหมายของข้อสอบเป็นการสอบทานความเข้าใจของผู้เรียน ไม่ใช่ความสะใจของผู้ออกข้อสอบ
@RealTimeLove
@RealTimeLove Жыл бұрын
เครื่องมือที่ทันสมัยไม่ว่าจะเป็นระบบคอมพิวเตอร์หรืออะไรก็ช่างครับ มันไม่สามารถเปลี่ยนแปลงจิตใจของเด็กให้ขยันเรียนได้ พวกคุณต้องเข้าใจ การเรียนภาคบังคับ คือต้องบังคับจริงๆ ร้อยพ่อพันแม่มารวมกัน ถ้าคุณไม่ใช่ครูคุณไม่รู้หรอก ถ้าวันนี้เด็กขาดระเบียบวินัย มันเป็นไปไม่ได้เลย ที่เด็กเหล่านั้นจะฉลาดได้ เพราะฉะนั้นกฎระเบียบวินัยจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ สิ่งที่ปล่อยปละละเลยมาเป็นเวลาหลายปี ทำให้ผลร้ายเหมือนมะเร็งร้ายที่มันเกิดขึ้น การตีเพื่อสอน จึงยังคงเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด ในกฎระเบียบของการสอนภาคบังคับ ตั้งแต่ประถมต้นมัธยมปลาย
@Jimmy-er9rn
@Jimmy-er9rn Жыл бұрын
ค่านิยมความคิดของสังคมมันผิดตั้งแต่ต้น มัวแต่คิดที่จะแข่งขันในด้านตัวเลข ด้านปริมาณ แต่ไม่คิดด้านคุณภาพ ยัดเยียดแต่ความคิดว่าต้องได้มากต้องเหนือกว่าในด้านปริมาณวัตถุ
@Sentosa8683
@Sentosa8683 Жыл бұрын
ไปเอาแนวคิดแบบฝรั่ง สอนแบบสิงคโปร์ ประเมินผลแบบไทย คือ ไม่สุดไปสักอย่าง เลยไม่มีจุดเด่นในด้านการศึกษา ตราบใด ยังมีผู้ปกครองที่ชอบถ่ายผลการเรียนลงเฟส คุณจะมาสอนแบบฝรั่งไม่ได้หรอกครับ
@kraimonmaneesilp138
@kraimonmaneesilp138 11 ай бұрын
ดร.เอ้มางานนี้ ถูกฝาถูกตัวที่สุด แต่ไม่รู้จะมีใครเอาไปสานต่อรึเปล่า เสียดายที่อยู่ประชาธิปัตย์
@cattiekwan
@cattiekwan Жыл бұрын
ถ้าคิดอะไรไม่ออก ก็เอา หลักสูตร GCSE มาสอนเลยสิคะ เหมือนสิงคโปร์ ถ้าคิดมานานแล้วยังแก้ไขอะไรไม่ได้ ก็ขอเอามาใช้เลยทั้งหมดก็ได้นะคะ :)☺️
@kukkik6839
@kukkik6839 Жыл бұрын
555 ดีเหมือนกัน เด็กไทยจะได้ซาบซึ้งว่าสิงคโปร์เขาเรียนยังไงถึงได้เป็นที่ 1 อาเซียน โลกความเป็นจริงของประเทศพัฒนาแล้ว มันไม่ได้เป็นแบบพวกลิเบอโร่เพ้อฝัน
@Squier123
@Squier123 Жыл бұрын
ผมบอกเลย 80% เด็กไทยติด 0 กันระนาว
@chenhuiting8703
@chenhuiting8703 Жыл бұрын
คนมีเงินหนีไปเรียนอินเตอร์หมด เราก็จะเก็บตังส่งลูกเรียนหลักสูตร IGCSE ให้ได้ สมัยนี้โรงเรียนอินเตอร์ก็มีหลายเกรด เพราะผู้ปกครองไทยที่ใส่ใจเด็กเค้าไม่เอาหลักสูตรไทยแล้ว
@pongchaiwiriyawattana8151
@pongchaiwiriyawattana8151 4 ай бұрын
เรียนเป็นภาษาอังกฤษหมด นะ
@sriaung9317
@sriaung9317 Жыл бұрын
จุฬาภรณ์​ รรเอกชน​ คัดเด็ก​เก่ง แต่ของสิงคโปร์เด็กทุกกลุ่มเรียนดีไม่เป็นหย่อมๆแบบของเรา​ ยังไงเด็กเราขาดการฝึกทักษะคิดวิเคราะห์​ มาคุยให้รู้ว่าจัดไม่ได้มากกว่า​ เวรกรรมทำอะไรกันอยู่แก้ไม่ได้เลยหรือ​ ข้ออ้างคนขี้เกียจปลายมือลำบากได้ตายจริงจริงๆ
@ฅุณาณณท์กิ่งแก้ว
@ฅุณาณณท์กิ่งแก้ว Жыл бұрын
ครูหวงวิชาเอาไว้ให้เด็กไปจ้างติวอย่าพูดไปให้มันเลยความจริงนักคุณ
@chanansitathepsoda9610
@chanansitathepsoda9610 Жыл бұрын
หัวข้อข่าวตรงใจมาก ....ขอให้ ดีขึ้นในซักวัน
@พิสัยพรหมสุวรรณ
@พิสัยพรหมสุวรรณ Жыл бұрын
"เราต้องมาถามนักวิชา การสายต่าง ๆ ว่า วันนี้ เราเรียนกันเพื่ออะไร ไม่ใช้เพื่อตอบสนอง มนุษย์ด้วยกัน เพื่อให้เกิดความสุขสบายใน การใช้ชีวิตหรือ เด็กไทยไม่น้อยหน้าชาติใดในโลกเหมือนกัน โดยเฉพาะทางการแพทย์ เพราะเห็นได้ว่าแพทย์ไทยสามารถ ไปประกอบอาชีพใน ต่างชาติไม่น้อยหน้าใคร และมีคนจำนวน ไม่น้อยในประเทศต่างๆ ที่เดินทางมารัก ษาความเจ็บป่วยใน เมืองไทย แสดงว่า หลักสูตรการศึกษาไทยไม่น้อยหน้าใคร อาจมีเกล็ดเล็กน้อยที่ มีปัญหา ค่อยแก้ไขไป ครับ ขอชอบคุณท่าน นักวิชาการสาขาต่างๆ ทื่จะช่วยกันแก้ไข เพื่อ ให้สังคมไทยมีความ สุขและสง่างามในสาย ตาชาวโลกครับ" ด้วย ความเคารพครับ
@Mrgsqa
@Mrgsqa Жыл бұрын
วิเคราะห์เรื่องความเหลื่อมล้ำอะถูก​ แต่วิธีแก้ถ้ามาจากผู้บริหารที่หวังแค่ผลงาน​ ไม่ได้เข้าไปดูปัญหาที่แท้จริง​ ความสามารถครู​ ความเป็นอยู่​่​ บริบทของครอบครัว​ ออกแบบการเรียน​มาโคตรยาก​ เด็กทึ่เหลื่อมล่ำ หลุดแล้ว​ หลุดเลย
@kruparinya
@kruparinya 4 ай бұрын
ก็ที่ออกมาคุยอยู่นี่แหละ ทำไมจะคิดทำตอนเป็นอดีตล่ะ ทำไมตอนที่มีพาวเวอร์ มีโอกาส ไม่ช่วยกันทำ ควรไปพูดกับคนที่มีอำนาจตัดสินใจดีกว่ามาพูดเหมือนบ่นแล้วทำไม่ได้
@สภาพ-ร7ว
@สภาพ-ร7ว Жыл бұрын
บางทีก็มีคนสมองแน่นๆจบมาใหม่ๆหมั่นใจว่าได้ 95/100 ข้อแน่ แต่พอผลสอบออกมา บอกได้แค่ตัวสำรอง พอเหอะกับพวกลูกท่านหลานเทอ พอเหอะครับกับพวกเด็กฝาก ขอฝากแค่นี้พอประเทศเจริญแน่ๆ (คนเก่งๆมีอีกเยอะครับ เยอะจริงๆ)
@rachaneetemporn7041
@rachaneetemporn7041 Күн бұрын
พ่อแม่ต้องหาเงินให้ลูกเรียนพิเศษ ควรจะปรับเปลี่ยนระบบ การเรียนการสอน ลองใช้บทเรียนของต่างประเทศ มาใช้
@janebolton6267
@janebolton6267 Жыл бұрын
เด็กต่าวประเทศ ไม่เรียนหนักเหมือนระบบการศึกษาเมืองไทย ถ้าจะมีเรียนพิเศษจะเป็น พวกกีฬาบางประเภท หรือดนตรีที่เด็กๆอยากเรียน กับว่ายน้ำ การบ้านไม่มี นอกจากจะเรียนออนไลน์ แต่จะมีพอเหมาะสมที่เด็กสามารถมีเวลาทำในสิ่งที่ตนเองชอบ เน้นการสร้างสรรค์ นำไปใช้มากกว่าความจำ อีกอย่างระบบการศึกษาไม่เคยวิจัยสอบถามความต้องการของเด็กถึงวิธีการเรียนการสอน แต่จะใช้ระบบบังคับให้เด็กต้องรู้ ต้องเรียน รวมไปถึงข้อสอบส่วนใหญ่เป็นปรนัย แต่เด็กต่างประเทศเท่าที่สังเกตเน้นการตอบด้วยตนเอง มากกว่า choice เรียนหนักเกินจนสมองปฏิเสธที่จะรับ รสมถึงมีตัวแปรจากสื่อต่างๆที่นำความสนใจของเด็กให้เบี่ยงเบน และผู้ปกครองมีส่วนสนับสนุน Gold ของชีวิตไร้ทิศทาง เป็นไปตามระบบการศึกษาวางไว้ กลับมาที่การแนะแนวเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญ รวมถึงแนะนำเมื่อเด็กมีปัญหา
@exphox
@exphox Жыл бұрын
คำถามนะ ถ้าจำไม่ได้ แล้วจะเชื่อมโยงและวิเคราะห์อย่างไร มิทราบ คนเรามันต้องมีความรู้ ความจำ มันถึงจะนำไปสู่การวิเคราะห์ได้ อยู่ดีๆไม่มีความรู้ แล้วจะเอาอะไรไปวิเคราะห์ ถามหน่อย ดังนั้นทุกอย่างล้วนแล้วแต่เกี่ยวกันทั้งหมด ยกตัวอย่างง่ายๆ การฝึกพูดภาษาอังกฤษ คุณบอกว่ามัวแต่ท่องคำศัพท์ มัวแต่เน้นไวยากรณ์ ทำไมไม่ฝึกพูดเลยหล่ะ แล้วไอ้ที่ฝึกพูด ไม่ได้ใช้สมองจำประโยคที่พูดหรืออย่างไร ปัญหาที่แท้จริงมีหลายสาเหตุ เช่น จากครูผู้สอน ในด้านทักษะ และความรู้ ด้านผู้เรียน นักเรียนปัจจุบันสอนยาก ขาดวินัย ไม่มีความรับผิดชอบ เอาแต่ใจ ไม่เคารพกฎ ผู้ปกครอง ตามใจเด็ก ทำให้เด็กขาดความยับยั้งชั่งใจ สภาพแวดล้อม สังคม ทั้งหมดล้วนเกี่ยวข้อง
@Metoria331
@Metoria331 6 ай бұрын
จากใจนักเรียนที่ได้เคยสอบ pisa และโตมาเรียนครู จบมาตัดสินใจไม่เป็นครู ถ้าอยากให้นักเรียนไทยสอบคะแนน pisa ได้ดี เราต้องใช้หลักสูตรแม่แบบตาม pisa ทั้งประเทศ เราคือเด็กที่โดนบังคับไปโรงเรียนเสาร์อาทิตย์เพื่อติวสอบ pisa สุดท้ายเป็นไง ตกทั้งโรงเรียนเหมือนเดิม เพราะหลักสูตรการเสอนแต่ละโรงเรียนไม่เหมือนกันเลย บางที่ใช้หลักสูตรแกนกลาง บางทีเขียนหลักสูตรใช้เอง ซึ่ง pisa ไม่ใข่เป้าหมายด้วยซ้ำ การศึกษาไทย นักเรียนอ่อนเพราะ pisa ไม่ การศึกษาไทย นักเรียนปกติ แต่ ข้อสอบ pisa ไม่ได้ตรงกับที่ได้เรียน ใช่
@Phoo3281
@Phoo3281 Жыл бұрын
ไม่ใช่เรียนหนัก มันขี้เกียจต่างหาก นักเรียนไทยทุกวันนี้ขี้เกียจอ่านหนังสือมาก เล่นแต่เกมในมือถือเวลาว่าง
@chaiwatsongprasit5587
@chaiwatsongprasit5587 Жыл бұрын
ระบบท่องจำไง จะไปเทียบต่างชาติได้ไงระบบการศึกษาทำไมนักเรียนต้องเรียนพิเศษด้วยเพราะระบบมันสู้ต่างชาติไม่ได้เลยต้องใช้ครูพิเศษช่วยไง ส่วนนักเรียนที่ไม่ได้เรียนพิเศษเรียนในระบบเลยเรียกสั่นๆว่าโง่😢😢😢
@bankjungja
@bankjungja Жыл бұрын
โทษเด็กอีกแล้ว ลองไปเอาข้อสอบเด็กสมัยนี้มาลองทำดูแล้วจะรู้ว่ามันยากกว่ายุคของคุณอีกครับ แล้วไปบอกเล่นอชแต่เกมส์เล่นแต่มือถือ ถามว่าพ่อแม่เด็กยุคนี้เปิดยูทูปให้เด็กจั้งแต่เกิดหรือเปล่าละ เห็นมาหลายบ้านเปิดแท๊บเล็ตเปิดมือถือให้เด็กมันดูเวลาเลี้ยงลูกตั้งแต่เล็ก จนเด็กมันติด แล้วมาบอกเด็กขี้เกียจ ถถถถถ
@Phoo3281
@Phoo3281 Жыл бұрын
@@bankjungja งั้นแกจะแก้ยังไง ไหนลองบอกมาชิ เป็นครูเหรอถึงรู้ดีนัก นิสัย
@Squier123
@Squier123 Жыл бұрын
ผมไม่อ่านหนังสือนะแต่สอบ pat 3 ได้ 200+ trick คือเรียนในห้องให้ตั้งใจที่สุดแล้วก็หาโจทย์ตามเน็ตมานั่งทำดูคลิปใน KZbin ทำแบบนี้วนไป 2-3 เดือนก่อนสอบจริง หนังสือซื้อมารกเปล่า ๆ ยุคนี้มี Google ส่วนหนังกระทรวงอันนี้ไม่ไหวจริงเข้าขั้นขยะเลยเน้นใช้คำวิชาการเกินไปอ่านยาก
@squidprogrammer
@squidprogrammer Жыл бұрын
คงขกมาแหละครับ เพราะสภาพแวดล้อมที่คุณอยู่คุณเห็นคงมีแต่พวกเด็กไม่ถ่าน วัยรุ่นสร้างตัว ขวัญใจรถแห่อะไรทำนองนั้นซึ่งถูกมองเป็นขยะสังคมจากสังคมรอบข้างโดยปกติอยู่แล้ว แต่คุณลองไปคลุกตัวอยู่กับพวกเด็กห้องหน้าๆ ไม่ก็เด็กแถวรรท็อปๆประเทศดูแล้วจะได้มองเห็นภาพรวมมากขึ้นคนที่เป็นพวกรั้งสังคมมันมีทุกยุคทุกสมัยอยู่แล้วครับ แต่ที่เราคุยกันอยู่คือภาพรวมนะ ซึ่งจากประสบการณ์ผมมันไม่ใช่อย่างนั้นเลย
The evil clown plays a prank on the angel
00:39
超人夫妇
Рет қаралды 53 МЛН
MatiTalk การศึกษาไทยไม่ไปไหนเพราะ ?
40:42
มติชนสุดสัปดาห์ - MatichonWeekly
Рет қаралды 151 М.