ตัวต้านทานเบื้องต้น EP1(ตัวต้านทานคืออะไร ? ทํางานอย่างไร ?)

  Рет қаралды 142,990

Zim Zim DIY

Zim Zim DIY

Күн бұрын

สวัสดีครับยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่ช่อง ZimzimDiy วันนี้ผมจะมาอธิบาย เกี่ยวกับ ตัวต้านทานกัน ครับ
ตัวต้านทานคือ ?
ตัวต้านทาน เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ชื่อมันก็บ่งบอกถึงตัวมันโดยตรงเลยนะครับ นั้นก็คือ ตัวมันจะยังคงเป็นตัวนำไฟฟ้าอยู่ แต่มีการ ต่อต้านการไหลของกระแสไฟฟ้า ค่ามากค่าน้อย ก็อยู่ที่เราจะเลือกซื้อมาใช้งาน เป็นที่นิยมใช้กันมากในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบัน
ชื่อภาษาอังกฎษก็คือ Resister คนไทยนิยมเรียกตัว R
สัญลักษณ์ในวงจรของ ของตัวต้านทานที่เราเห็นส่วนใหญ่ จะมีอยู่กัน 2 แบบแรกจะใช้ ในยุโรป EU และก็แบบนี้ เป็นแบบ ใน อเมริกัน US
แต่ที่เราคุ้น เคยที่เห็นบ่อยๆ ก็คงจะเป็น สัญลักษณ์แบบอิมริกัน นี่แหละครับ
หน่วย วัดค่าความต้านทานคือ Ohms สัญลักษณ์ก็คือเป็นตัว กรีกโอเมก้าแบบนี้
ก่อนจะลงลึกถึง ตัวต้านทาน เรามาเข้าใจ
แนวคิดเรื่องไฟฟ้า กันก่อนนะครับ
ผมจะยกตัวอย่าง สายไฟเส้นหนึ่งเป็นสาย ทองแดง ละกันนะครับ สายทองแดง เป็นตัวนำไฟฟ้าชนิดหนึ่ง มีส่วนประกอบของ อิเล็กตรอนอิสระอยู่หนาแน่น แล้วมันพร้อมที่จะเคลื่อนที่ไปไหนมาไหนได้ตลอดเวลา
ขอเพียง มีความต่างศักย์ หรือ แรงดันไฟฟ้า มาต่อระหว่างปลายสายทั้งสองด้าน กระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายก็จะเริ่มไหลออกมา จากขั้ว ลบ ผ่านสายทองแดง ไปหาขั้ว บวก ได้อย่างรวดเร็ว
อย่างไรก็ตามแม้ว่า สายทองแดง สามารถพาอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผ่านสายไฟได้ไปมาได้ดี
แต่หลายๆกรณี อุปกรณ์โหลด ไม่ต้องการกระแสมาก เราก็จะใช้ ตัวต้านทานนี่แหละครับมา ดรอปกระแส จากแหล่งจ่าย
ให้มันเหลือเท่า ที่โหลดร้องขอ ส่วนกระแสที่เหลือ มันก็จะกลายเป็นความร้อนตกคร่อม อยู่ที่ตัวต้าน ทาน ยิ่งมีความต้านทานมาก R ก็จะร้อนมากเช่นกัน
โลหะแทบทุกชนิด นำกระแสได้ดี แต่
วัสดุบางชนิด อิเล็กตรอนมันก็ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านได้เช่นกัน
ที่เราเห็นก็จะเป็น พวก แก้ว พลาสดิก เซรามิก วัสดุพวกนี้ ก็เลยไม่ได้รับเลือกให้เป็นผู้นำ
เนื่องจากมัน ไม่มีอิเล็กตรอน อิสระ เพียงพอที่จะ นำไฟฟ้าได้
เราก็เลยจับ วัสดุเหล่านี้ มาเป็น ฉนวนหุ้มสายไฟ ป้องกันไฟดูด ไว้ซะเลย
แต่บางทีโลหะ มีขนาดเท่ากันก็จริง แต่วัสดุที่ สร้างแตกต่างกัน เช่นตัวหนึ่งทำมาจากทองแดงตัวหนึ่งทำมาจากเหล็ก
การนำไฟฟ้า ก็จะต่างกัน เนื่องจาก เหล็ก นำไฟฟ้าได้ แต่มี การจัดวาง อะตอมไม่ค่อยดี เท่าทองแดง
มันก็เลย เหมือน สร้างอุปสรรคให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ลำบากกว่าหน่อยๆ เหล็กก็เลยมีความต้านทานมากกว่า ทองแดง นิดหน่อย
สิ่งที่ต้านทานของเหล็กนี้ มันจะมีค่าของมันด้วยนะครับ เราจะเรียกค่าเหล่านี้ว่า ค่าสัมประสิทธิ์ของวัตถุ ถ้าค่าวัตถุมีค่า สัมประสิทธิ์น้อย ความต้านทานจะต่ำ
ถ้าค่า สัมระสิทธิ์ของวัตถุมีค่ามาก ความต้านทานก็จะมากตามครับ
ผมจะลองทดสอบ ตัวต้านทาน ที่ผมผลิตขึ้นมาใช้เอง
R ตัวนี้ มีค่าประมาณ 68-69 kโอห์ม แต่คงไม่มีใครอยาก เชื่อมต่อมะม่วงสุกเข้ากับ อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ใช่ไหมครับ
มันไม่สะดวก มันน่าจะนำไปบริโภคมากกว่า วิศวะกรก็เลย ใช้ วัสดุอื่นที่ต้านทานกระแส และทำงานได้ดีพอๆกับมะม่วงสุก เอามาใส่แทน ก็เลยได้ ได้ตัวต้านทานหน้าตาแบบนี้ ขนาดก็ประมาณ 68 kโอห์ม เท่ามะม่วงของผม มาใช้งาน แทน ครับ
นอกจากค่าสัมประสิทธิ์แล้ว ก็ยังมีปัจจัยอื่นๆ ทั้ง ความยาวและความกว้าง ของวัตถุ ก็ล้วนแล้วส่งผลถึง ความเร็วของอิเล็กตรอน ในการเดินทางด้วย
ผมจะยกตัวอย่างอีกหนึ่งชุดละกันนะครับ ผมให้ น้ำเป็นกระแส และ ให้ท่อน้ำ เป็นขนาดของวัตถุ
ถ้าเรามีความยาวของท่อเพิ่มขึ้น อิเล็กตรอนมันก็ต้อง พยายาม มากขึ้น ใช้เวลานานขึ้น เพื่อที่จะผ่านความยาวของท่อมาให้ได้
พูดง่ายๆก็คือ วัตถุที่ยาวก็จะมีความต้านทานมากขึ้น แต่ในทางกลับ กัน ถ้าเราเพิ่มเส้นผ่านศูนย์กลาง ของท่อ ให้ใหญ่ขึ้น
แม้ว่าค่าสัมประสิทธิ์ ความต้านทานจะเท่าเดิม
แต่ความกว้างของท่อก็ช่วยให้ การไหลของอิเล็กตรอนไหลถึงแม้จะช้า แต่มันกว้าง มันก็เลยไหลผ่านได้มาก ครับ
พูดง่ายๆ ก็คือ ยิ่งพื้นที่ หน้าตัดของวัตถุ มีมากขึ้น มันก็ส่งผลให้ การไหลของกระแสมากขึ้น
ซึ่งจากที่ผม อธิบายมาข้างต้น ถ้าเราอยากให้มีความต้านทาน ที่สูงมาก ๆ ตามทฎษฎี แล้ว เรา ก็สามารถ สร้างความต้านทานโดยใช้วัสดุที่บางมาก ๆ เพื่อให้มี
ค่าความต้านทานสูง แต่ในความเป็นจริง จริงๆแล้ว
การออกแบบ มันจะยากมาก ทั้ง ความค่าความแม่นยำ และก็ขนาด ที่เล็กมากของมัน
-----------------------------------------------------------
เพราะฉะนั้น
ตัวต้านทาน ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน หลักๆสามารถทำได้ 3 วิธีดังนี้
วิธีแรก ก็คือ การใช้ ลวดนิกเกิล พันในหลอดเซรามิกที่เป็นฉนวน
ด้วยวิธีนี้ คุณสามารถควบคุมค่าความต้านทานทั้งหมด ได้ โดยปรับเปลี่ยนความยาวของสาย ถ้าอยากให้มีความต้านทานมาก็เพื่มจำนวนรอบเข้าไป วิธีนี้ ข้อดีก็คือ มันยังสามารถ ยังคงขนาด ตัวต้านทานที่กระทัดรัดเอาไว้ได้ ในกรณีที่มีค่าความต้านทานที่มากก็ตาม
ตัวเลือกที่สอง คือการเลือกใช้วัสดุผสม ในการปรับเปลี่ยน กำหนดปริมาณค่าสัมประสิทธิ์
และดังนั้นค่าของความต้านทาน จะอยู่ที่วัสดุที่มาผสม เป็นหลัก
และตัวเลือกที่สาม คือการใช้กระบอกเซรามิกที่หุ้มด้วยฟิล์มคาร์บอน ซึ่งถูกตัดเป็นเกลียว จนได้ค่าความต้านทานที่ต้องการ
มันจะคล้ายๆกับวิธีแรก นั้นแหละครับ แต่เปลี่ยนจาก ลวดนิกเกิล เป็น ฟิล์ม คาบอร์น
และตัวต้านทาน มีอยู่หลากหลายค่า
เช่น ค่าความต้านทาน 0โอห์ม ไปจนถึง 10โอห์ม จนไปถึง 100โอห์ม เรียงๆกันไป 1,000โอห์ม 10,000โอห์ม 100,000โอห์ม จนไปถึง 1,000,000 โอห์ม
ขอบคุณข้อมูล จากอินเทอร์เน็ต:
The Engineering Mindset

Пікірлер: 156
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 2 жыл бұрын
⚠️เนื่องจากเนื้อหาใช้เวลาในการเรียบเรียงข้อมูลค่อนข้างนาน เพื่อนๆสามารถสนับสนุน ค่ากาแฟ☕ ให้กับผมได้โดย.. 1. ซื้อสินค้าผ่าน Shopee 👉 shope.ee/8encLFBkcT 2. ซื้อสินค้าผ่าน Lazada 👉 s.lazada.co.th/l.Zlpm ขอบคุณมากครับ
@noomkubpom1
@noomkubpom1 2 жыл бұрын
เข้าไม่ได้ครับ
@pongponkongpisutpaisan2461
@pongponkongpisutpaisan2461 2 жыл бұрын
เข้าที่ร้านไม่ได้เหมือนกันครัล ขอ ชื่่อร้านทาง Shopee หน่อยนะครับ
@pppooo3773
@pppooo3773 3 жыл бұрын
ถึงแม้ว่าไม่เป็นอาจารย์มาก่อน แต่สำหรับผมแล้ว ผู้ที่ไห้ควารู้ ความเข้าใจกับผู้อื่นได้ดีเช่นนี้ ผมว่านับถือเป็นอาจารย์ได้ครับ ขอบคุณสำหรับความรู้มากมาย ที่มอบไห้ทุกๆคนครับ
@mut8271
@mut8271 3 жыл бұрын
อธิบายดีมากครับ ละเอียด เข้าใจง่าย เข้าใจถึงหลักการ มีประโยชน์ต่อน้องๆนักเรียนมากครับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@บุญล้ําพาเพลิน
@บุญล้ําพาเพลิน 11 ай бұрын
zim zim diy สุดยอดที่สุดแห่งการนำเสนอ..สอนได้ดีมากๆเลยครับ..ผมให้10ดาวเต็มครับ
@surakanwongart1999
@surakanwongart1999 Жыл бұрын
พูดช้าๆชัดๆแบบนี้เข้าใจง่ายมาก👍
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY Жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@Ragnar-d4h
@Ragnar-d4h 3 ай бұрын
ขอขอบคุณผู้จัดทำคลิปครับ นายธนาวิทย์ สุขีทรัพย์ เลขที่6 ปวช1/1 สาขาวิชายานยนต์ไฟฟ้า ตัวต้านทานหรือResisterคือตัวต่อต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าหน่วยวัดคือโอห์มหน้าคือคอยต้านกระแสอิเล็กตรอนไว้ไม่ให้ผ่านแล้วผ่านไปแค่ที่ต้องการ
@asreephuteh
@asreephuteh 3 жыл бұрын
ขอบคุณคลิปดีๆนี้ นึกว่าจะอ่านยาก ดูจบแล้วอ่านเป็นเลย
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@เจไดพาเที่ยว
@เจไดพาเที่ยว 3 жыл бұрын
บรรลุเลย เหมือนแสงส่อง กลางหลัง ดั่งเทพมาโปรด หลังจบคลิป ขอบคุณความรู้ดีๆ มีสาระ มากๆ ครับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@sittichainimthong6265
@sittichainimthong6265 3 жыл бұрын
อะไรมันจะพอดีขนาดนี้ ผมเพิ่งเริ่มเรียนไฟฟ้า ในเทคนิคพอดีเลยครับ เลยมีประโยชน์มากๆเลย ขอบคุณมากครับผม
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ดีเลยครับ ทบทวนอีกครั้งหนึ่ง
@ธีรภัทร์ทัดเหว่า
@ธีรภัทร์ทัดเหว่า 3 ай бұрын
ตัวต้านทานคือตัวต้านการไหลของกระแสแต่ก็ยังเป็นตัวนำแต่แค่มีการต้านการไหลของกระแสและสัญลักษณ์ก็คือตัวRหรือตัวโอห์มเมก้าแถบสีของตัวต้านทานก็จะบอกว่าตัวต้านทานตัวนี้กี่โอห์มมีค่าเท่าไหร่ นายธีรภัทร์ ทัดเหว่า ขอบคุณเจ้าของคริปครับ
@New_876
@New_876 3 жыл бұрын
ขอหลายๆอุปกรณ์เลยนะครับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ยินดีครับ
@manussu411
@manussu411 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ยินดีครับ
@Sompo6040
@Sompo6040 Ай бұрын
มีโยชน์มาก
@น้องเกลรินรดา-ง2ม
@น้องเกลรินรดา-ง2ม 3 жыл бұрын
สมกับที่ลอยคอ เอ้ยยย รอคอย ขอบคุณสำหรับความรู้นะครับ ตอนเรียนไม่รู้จักเรียน ,(ด่าตัวเองครับ55)
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@taotaogogo
@taotaogogo 3 жыл бұрын
ชอบช่องนี้มาก ไปอยู่ไหนมา
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
คราวหลังจะมาบ่อยๆครับ
@ณัฐชนนเก่งนอก
@ณัฐชนนเก่งนอก 3 жыл бұрын
เป็นครูมาก่อนหรือเปล่าครับ อธิบายยกตัวอย่างได้ดีมาก
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
เปล่านะครับ แต่อาจจะซึมซับจากครูที่มหาลัยมา ครับ ฮ่าๆ
@ณัฐชนนเก่งนอก
@ณัฐชนนเก่งนอก 3 жыл бұрын
@@ZimZimDIY ขอบคุณที่มาต่อยอดครับ ไม่มีโอกาสได้เรียนต่อถึงมหาลัยแต่จะพยายามครับ ขอบคุณสาระดีๆ
@9Bermdiy
@9Bermdiy 3 жыл бұрын
ได้ความรู้ดีมากเลยคนับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ยินดีครับผม
@โร่ง่วง
@โร่ง่วง 3 ай бұрын
ขอบคุณเจ้าของคลิปคนรับ ผมขอสรุปเพื่อส่งงานอาจารย์ครับ ตัวต้านทานทำหน้าที่ ควบคุมปริมาณกระแสไฟฟ้าและแรงดันระหว่างสองจุดในวงจร ตัวต้านทานทำงานอย่างไรลดการไหลของกระแสและในเวลาเดียวกันก็ทำหน้าที่ลดระดับแรงดันไฟฟ้าภายในวงจรทั่วไป อาจเป็นแบบค่าความต้านทานคงที่ นายอรรถพล ฉิมเเม้คนพันธุ์ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
@Fly-To-The-Hell
@Fly-To-The-Hell 3 жыл бұрын
ช่องนี่ดีมาก สอนเข้าใจง่าย
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@golfsupersoundmixooo7766
@golfsupersoundmixooo7766 3 жыл бұрын
ในแอะสุดยอดมากครับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@Topfy214
@Topfy214 Жыл бұрын
ลั่นตรงมะม่วงสุกเลยคับ😂😂
@agkchannel5231
@agkchannel5231 3 жыл бұрын
สุดยอดครับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@เจ็บส่ําฟ้า-บ9ธ
@เจ็บส่ําฟ้า-บ9ธ 2 жыл бұрын
เข้าใจง่ายมากครับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@daoklk105
@daoklk105 3 жыл бұрын
Fcชอบมาก
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@nufirealarm1654
@nufirealarm1654 3 жыл бұрын
ผมเข้าเรียน แผนกอิเล็ก วันแรก เอา R จิ้มกับเต้ารับ ไฟดับทั้งแผนก ครูเลยให้เป็นหัวหน้าห้อง5555
@ช่างป
@ช่างป 3 жыл бұрын
555
@ปุณยพจน์นักรู้กําพลพัฒน์
@ปุณยพจน์นักรู้กําพลพัฒน์ 10 ай бұрын
กดซับให้แล้วนะครับจาร
@pairojkoree4504
@pairojkoree4504 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ยินดีครับ
@maxarmor7295
@maxarmor7295 3 жыл бұрын
อาจารย์เก่งลูกศิษย์ก็จะเก่ง
@golfsupersoundmixooo7766
@golfsupersoundmixooo7766 3 жыл бұрын
แจ่ม มากมีตัวนำเมาไหม🤧😬😄
@thanakorntoso2911
@thanakorntoso2911 2 ай бұрын
ช่องมีประโยชน์ เด่วสนับสนุนค่ากาแฟครับ
@p.satinee
@p.satinee 3 жыл бұрын
ขอขอบคุณ
@p.satinee
@p.satinee 3 жыл бұрын
ขอความรู้สมมุติ เราต้องการไฟดีซีจากแบตฯ๑๒โวลล์-๒๔โวลล์และทำให้มันเหลือเพียง๕โวลล์๒แอมป์นั้น(แบบใช้ระยะยาวนานติดต่อกันหลายวัน) เราจะทำอย่างไร?บ้างไหม?
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
สามารถ ดรอปโดยใช้ตัวต้านทานก็ได้ครับ เดี๋ยวผมจะอธิบายเป็นคลิปให้ฟังอีกทีครับ
@arlaweelateh1482
@arlaweelateh1482 Жыл бұрын
ขอบคุณมากครับอาจารย์
@กิตติศักดิ์จะซือ
@กิตติศักดิ์จะซือ 3 жыл бұрын
คลิปหน้าคํานวณได้ไหมครับ
@noomkubpom1
@noomkubpom1 2 жыл бұрын
ขอบคุนครับ
@KidzKun
@KidzKun 3 жыл бұрын
มาแล้วๆ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
กลับมากับตัวต้านทานครับบ
@KidzKun
@KidzKun 3 жыл бұрын
@@ZimZimDIY เล่นบุหรี่ไฟฟ้ามาสักพักแบบงูๆปลาๆ ตอนนี้เข้าใจค่าโอม อย่าท่องแท้แล้ววววว
@สุดสาครงามวิลาศ-ฦ3ข
@สุดสาครงามวิลาศ-ฦ3ข Жыл бұрын
ขอบคผคุณครับ
@gk-4723
@gk-4723 2 жыл бұрын
ฮาดีครับเอามะม่วงมาเป็นR 5555จัดว่าเฟี้ยว
@Twcnok
@Twcnok 3 жыл бұрын
เป็นประโยชน์มากเลยครับสำหรับการทำคลิปดีๆขอบคุณแทนทุกคนที่สนใจครับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@Kittiศักดิ์ปูยี
@Kittiศักดิ์ปูยี 3 жыл бұрын
ไดโอต ไฟAC ใช้กับ DC ได้รึป่าว ครับ ??.. .. ขอบคุณ ครับ
@teetadphungvicha55
@teetadphungvicha55 3 жыл бұрын
ถ้าผมเป็น กระทรวงศีกษา ผมมอบปริญญาเอกให้เลย สอนให้คนมีความรู้เป็น แสนๆ คน
@blackeye1980
@blackeye1980 2 жыл бұрын
เรียนฟิสิกส์สองคำณวนอย่างเดียวแทบไม่มีภาพในหัว เจอช่องพี่เจ้าไป สว่างจ้าเบย ขอบคุณคั้บ
@ไม่เชื่ออย่าลบออก
@ไม่เชื่ออย่าลบออก Жыл бұрын
ครูฟิสิกส์เขาไม่เคยจับของจริงเขาก็เล่าตามหนังสือไปแหละครับ
@NattasitSuanpang
@NattasitSuanpang 3 ай бұрын
นาย ณัฐสิทธิ์ สวนเพลง เลขที่2 รูปแบบตัวต้านทานมี2แบบ แบบยุโรปกับแบบแอฟฟิริกา สามารถสร้างตัวต้านทานด้วย3วิธี วิธีที่1คือกาใช้ลวดนิเกินพันธ์ในหลอนเซรามิกที่เป็นฉนวน วิธีที่ 2. คือการเลือกใช้วัสดุผสมในการปรับเปลื่ยน วิธีที่3 ใช้กระบอกเซรามิคห่มด้วยฟิล์มคาร์บอนแล้วก็ตัดเป็นเกลียว
@karyl2229
@karyl2229 3 жыл бұрын
อธิบายสนุกดีครับสอนทำแอมป์ 2.1 หน่อย
@บรรพตตั้งจิรวัฒนา
@บรรพตตั้งจิรวัฒนา 3 жыл бұрын
อ.ครับ สอบถามเรื่องความต้านทานลำโพง กรณีที่เรามีลำโพง 4 โอม แต่เราต้องการใช้ลำโพง 8 โอม เราสามารถมา R 4โอม 100w มาต่ออนุกรมกับขั้ว +ของลำโพงได้หรือเปล่าครับ และ กรณีกลับกัน มีลำโพง 8 โอม ต้องการทำให้เหลือ 4 โอม โดยนำ R 4โอม 100w มาต่อขนาน กับขั้ว + และ - ของลำโพงได้หรือเปล่าครับ และ จะมีผลต่อความเพี้ยนของเสียงหรือเปล่าครับ
@PanyadPawong
@PanyadPawong 3 ай бұрын
ต้านทานคืออะไรอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งยังเป็นตัวนำาไฟฟ้าอยู่แต่มีการต้านการไหลกระแสเนื่องจากเหล็กมีตัวนำไฟฟ้าได้แต่มีการจัดตัววางอะตอมไม่ค่อยดีเท่ากับทองแดง นางสาว ปานวาด ปาวงค์
@ศุภกรสมพิทักษ์
@ศุภกรสมพิทักษ์ 3 ай бұрын
ขอขอบคุณคนทำคลิปผมจะนำความรู้ไปอาจารย์ ตัวต้านทานคือเป็นอูปกรณ์ไฟฟ้าชนิดนึงมันจะยังคงเป็นตัวนำไฟฟ้าอยู่เเต่มีการต่อต้านการไหนของกระเเสไฟฟ้าส่วนค่ามากค่าน้อยก็อยู่ที่เราจะเลือกซื้อมาใช้งานชื่อภาษาอังกฤษขิงมันคือรีซิสเตอร์
@bossbobber
@bossbobber 3 жыл бұрын
ชอบตรงมะม่วงสุก
@davitjosh
@davitjosh 3 жыл бұрын
ชอบจริงๆ เอามะม่วงมาทำตัวต้านทาน 5555
@smokeline8368
@smokeline8368 3 жыл бұрын
สอนโม สปอร์ตไลท์ โซลาร์เซลล์ 25w ผมอยากให้มันสว่างขึ้นครับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ไม่ได้จับเลยครับ
@tonmaipiyaphong6963
@tonmaipiyaphong6963 Жыл бұрын
ต่อ Resistor ก่อนโหลดกับหลังโหลด มีความแตกต่างกันไหมครับ ควรต่อแบบไหนครับ
@jos3213
@jos3213 2 жыл бұрын
สอนเข้าใจกว่าครูที่โรงเรียน
@sorayut1902
@sorayut1902 Жыл бұрын
ลั่นเลยครับเจอมะม่วง5555
@mypoy7312
@mypoy7312 Жыл бұрын
ผมขำมะม่วงอ่ะ55555😂😂😂
@xmabqustiktok1398
@xmabqustiktok1398 3 жыл бұрын
Fc
@ไชยอนันต์จันทะแดง-ต4ห
@ไชยอนันต์จันทะแดง-ต4ห 2 жыл бұрын
คล้ายๆ หม้อแปลงใช่มั้ยครับ
@นายธนดลสุวรรณพรม
@นายธนดลสุวรรณพรม 3 жыл бұрын
ถามหน่อยครับ ตัวเก็บประจุ หรือแบต จะไหลออกขั่วลบเสมอหรือครับ
@puttasukputtaraksa
@puttasukputtaraksa 3 жыл бұрын
น่าไปเป็นครูสอน รับรองเมืองไทย เจริญแน่นอน
@ไม่เชื่ออย่าลบออก
@ไม่เชื่ออย่าลบออก Жыл бұрын
นี่เขาก็เป็นอยู่เป็นครูในห้องเรียนทั้งจำนวนนักเรียนกับเงินเดือนมันน้อยกว่าทำยูทูปอีกเขาจะถอยหลังไปเพื่ออะไร
@souliphonmobile5342
@souliphonmobile5342 3 жыл бұрын
👍👍👍👍👍
@RCB_Diy
@RCB_Diy 3 жыл бұрын
ผมอธิบายใช้ใส่ดินสอ แต่คุณล้ำกว่าใช้มะม่วง แต่ไม่มะม่วงธรรมดานะ แต่มันคือมะม่วงสุก555
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ในตู้เย็นเหลือแต่มะม่วงครับ 555+
@puttasukputtaraksa
@puttasukputtaraksa 3 жыл бұрын
ดีนะที่ไม่ใช่ แป้ง
@ចៅល្ងង់
@ចៅល្ងង់ 3 жыл бұрын
Good
@dnewraptorraptornew
@dnewraptorraptornew 2 жыл бұрын
แล้วจะรู้ได้ไงกี่วัตรครับ
@tomtoto7742
@tomtoto7742 3 жыл бұрын
สอนการทำเครื่องชารต์แม่เหล็กลำโพงหน่อยครับ อยากศึษา
@011จักรพรรดโพธิ์ภา
@011จักรพรรดโพธิ์ภา 2 жыл бұрын
ตัวแทบสี...ที่ 7,8,9 ตัวคูณหายไหนครับ
@เติ้ลลเติ้ล-ถ9ถ
@เติ้ลลเติ้ล-ถ9ถ 3 ай бұрын
1. ตัวต้านทานคืออะไร เป็นตัวนำไฟฟ้า แต่มีการต้านการไหลกระเเสไฟฟ้า อิเล็กตรอนมันอยู่ห่างกัน มีค่าสัมประสิทธิ์น้อย ความต้านทาน=ต่ำ นาย พิทวัส สืบสุข เลขที่10
@AAAForTheKop
@AAAForTheKop 3 жыл бұрын
ตัวต้านทานมี EP2 ไหมครับ
@endonol4408
@endonol4408 3 жыл бұрын
การต่อความต้านทานแบบขนาน เหมือนเราจะเรียกวงจรอย่างนี้อีกแบบนึงว่า วงจรแบ่งกระแส ใช่หรือป่าวนะ
@เกลดีไซน์ปืบ
@เกลดีไซน์ปืบ 3 жыл бұрын
ทองแดงโลกี่บาท
@banjoly
@banjoly 3 жыл бұрын
ใช้โปรแกรมอะไรครับตัดต่อและทำอิเล็กตรอนไหล ผมจะทำวีดีโอีสอนนักเรียนครับผม
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
Premiere pro กับ After effect ครับ
@กพกดดดพกดพ
@กพกดดดพกดพ 3 жыл бұрын
อยากทราบว่าแรงดันคืออะไรคับ
@ไม่เชื่ออย่าลบออก
@ไม่เชื่ออย่าลบออก Жыл бұрын
มันคือความต่างศักย์ทางไฟฟ้าครับเขานำแนวคิดเรื่องน้ำมาเปรียบเทียบ กระแสไฟฟ้าจะไหลจากแรงดันสูงไปแรงดันต่ำเสมอครับยิ่งแรงดันเยอะกระแสจะไหลเยอะตามไปด้วย เหมือนเราเอาถังน้ำวางไว้บนเก้าอี้แล้วนำสายยางมาดูดน้ำให้ลงไปถังอีกใบที่วางบนพื้น คราวนี้เราเอาถังที่อยู่บนเก้าอี้ไปวางบนโต๊ะน้ำก็จะไหลแรงขึ้นเนื่องจากถังน้ำมันสูงขึ้น จุดความต่างนี่แหละครับที่วัดกันเป็นโวลต์
@nattaphonrueangsri2346
@nattaphonrueangsri2346 3 жыл бұрын
สวัสดีครับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
สวัสดีครับ
@Gingercat09
@Gingercat09 Жыл бұрын
พึ่งรุ้ว่ามะม่วงสุกมีค่าโอห์ม
@natitservice5552
@natitservice5552 3 жыл бұрын
เจอสูตรช่วงท้ายคลิปเข้าไป ถึงกับไปไม่เป็นกันเลยทีเดียว 555+
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ฮ่าๆ เดี๋ยวจะมาอธิบายอีกรอบครับ
@ประดิภาสแขกรัมย์
@ประดิภาสแขกรัมย์ 3 жыл бұрын
เรียนมาแต่ตกคำนวนครับ 5555
@banluechuaibamrung3706
@banluechuaibamrung3706 3 жыл бұрын
ข้างไหนบวก ข้างไหนลบครับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
R จะไม่มีขั้วนะครับต่อสลับยังไงก็ได้ครับ
@กังหันหมุน
@กังหันหมุน 3 жыл бұрын
👍❤
@กุ้งเสาธง
@กุ้งเสาธง 3 жыл бұрын
เเล้วแบตเตอรีนี้มันใช้อะไรเก็บไฟ
@Mafia_NoComment
@Mafia_NoComment 3 жыл бұрын
9:00 ทำไหมผมเห็นเป็นสีส้ม
@MyByzantine
@MyByzantine 2 жыл бұрын
หา R มาได้ไงเท่ากับความต้านทานของมะม่วงพอดี 555
@ก็แล้วแต่ปุ-จ2ณ
@ก็แล้วแต่ปุ-จ2ณ 3 жыл бұрын
งานนี้มะม่วงก็มาที่ยังไม่มาคือพริกเกลือ.ได้เบียสักขวดก็ดีƪ(˘⌣˘)ʃ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
เปรี้ยวปากเลยครับ 555+
@RCB_Diy
@RCB_Diy 3 жыл бұрын
ริมโขงเลยป่ะ
@dashic2431
@dashic2431 3 жыл бұрын
👍🙏
@บุญชูจันทร์เจริญ
@บุญชูจันทร์เจริญ 3 жыл бұрын
จะเลือกwยังไง
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
มันมีวิธีคำนวนอยู่นะครับ
@powerpatty318
@powerpatty318 3 жыл бұрын
ที่ความต้านทานเป็น0 อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่าไหร่ครับ
@manspk7059
@manspk7059 3 жыл бұрын
ถ้าความต้านทานเป็นศูนย์แสดงว่าตัวทานขาด อิเล็กตรอนไม่เกิดการเคลื่อนที่
@ไม่เชื่ออย่าลบออก
@ไม่เชื่ออย่าลบออก Жыл бұрын
มันเคลื่อนที่เท่ากับความเร็วแสงครับ
@chaloempornsarakul606
@chaloempornsarakul606 3 жыл бұрын
R = 0 โอม มีไวทำไมครับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
คล้ายๆฟิวส์ครับ มันจะขาดถ้ากระแสเกิน
@winaimukdamuang2610
@winaimukdamuang2610 3 жыл бұрын
R = 0 ohm คือไม่มีความต้านทาน ใช้สำหรับทำเป็น jumper ในวงจร
@พรพงษ์กาจกําแหง-ร1ห
@พรพงษ์กาจกําแหง-ร1ห 3 жыл бұрын
โจรเก่าครับ🤣🤣🤣🤣🤣
@BookBook-th3xm
@BookBook-th3xm 10 ай бұрын
8:53
@gfnayur8305
@gfnayur8305 3 жыл бұрын
แอดเหมือน​ผมเลยเก็บเงิน​ไม่ค่อย​อยู่​
@YuutaNatsuki
@YuutaNatsuki 3 жыл бұрын
มะม่วงสุก 555555555+++
@itti-polvongsakul542
@itti-polvongsakul542 3 жыл бұрын
เมื่อย้อน1สิบกว่าปี น่าเบื่อมาก
@Prakasitboonmee
@Prakasitboonmee 3 жыл бұрын
อิเล็กตรอนไหลจากบวกไปลบไม่ใช่หรอ?...
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
อิเล็กตรอนไหลจากขั้วลบครับ
@yuttakanden1014
@yuttakanden1014 Жыл бұрын
😂😂😂😂😂 r มะม่วงสุก
@nnnkkk-o1s
@nnnkkk-o1s 6 күн бұрын
สอนเข้าใจง่ายครับ
@anonstudio8925
@anonstudio8925 6 күн бұрын
มีประโยชน์
@ต้นแม่นึ้าเจ้าพระยา
@ต้นแม่นึ้าเจ้าพระยา 3 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@donlohnosathum4461
@donlohnosathum4461 3 жыл бұрын
มีสูตรคำนวณหาค่าRเพื่อลดแรงดันให้ได้ตามที่เราต้องการอย่างไรครับอาจารย์
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
มี R สูตรหนึ่งเดี่ยวจัดทำเป็นคลิปให้ครับ
@donlohnosathum4461
@donlohnosathum4461 3 жыл бұрын
Zim Zim DIY ขอบคุณมากครับอาจารย์
@BookBook-th3xm
@BookBook-th3xm 10 ай бұрын
11:36
@godoid5113
@godoid5113 6 ай бұрын
ขอบคุณครับอาจารย์
@the.3t906
@the.3t906 3 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@phu6989
@phu6989 3 жыл бұрын
ขอบคุณครับแชร์ความรู้มาเรื่อยๆน่ะครับ
@ZimZimDIY
@ZimZimDIY 3 жыл бұрын
ยินดีครับ
@sayanpoonprasong2863
@sayanpoonprasong2863 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@postnocte
@postnocte 3 жыл бұрын
ถ้าแกนกลางหักแต่เส้นลวดที่พันไม่ขาดยังไช้ได้ไหมครับ
@วินบรรณไลการช่าง
@วินบรรณไลการช่าง 3 жыл бұрын
ตัวต้านทานของผมอะคับมันเล็กมากเลยคับ
VIP ACCESS
00:47
Natan por Aí
Рет қаралды 30 МЛН
Quando eu quero Sushi (sem desperdiçar) 🍣
00:26
Los Wagners
Рет қаралды 15 МЛН
Quilt Challenge, No Skills, Just Luck#Funnyfamily #Partygames #Funny
00:32
Family Games Media
Рет қаралды 55 МЛН
VIP ACCESS
00:47
Natan por Aí
Рет қаралды 30 МЛН