ทำไมอังกฤษ บาลี สันสกฤต มาจากภาษาเดียวกัน?

  Рет қаралды 636,620

พูด

พูด

3 жыл бұрын

ทำไมอังกฤษ บาลี สันสกฤต มาจากภาษาเดียวกัน?
“three” กับ “ไตร” “two กับ “โท” เคยสังเกตมั้ยว่าทำไมบางคำในภาษาไทย โดยเฉพาะคำที่เรายืมบาลีสันสกฤตมา ถึงคล้ายคำอังกฤษมาก
สาเหตุของความเหมือนนี้ ไม่ใช่เรื่องบังเอิญ แต่เป็นเพราะทั้ง บาลี สันสกฤต และ อังกฤษ มีรากมาจากภาษาเดียวกัน ...เดี๋ยวพูดให้ฟัง
Facebook:
/ pudproduction
Blockdit:
cutt.ly/mncvXwG

Пікірлер: 1 400
@warawitkumphakham7887
@warawitkumphakham7887 3 жыл бұрын
ขอบใจมาก ที่ทำ VDO โดยที่... - ไม่ต้องมี เกริ่นนำ Intro ยืดเยื้อ - ไม่ต้องตัด Hightlight ต้นคลิป - เอาการเชิญชวน กด Like / Subscribe ไปไว้ท้ายคลิป ผมจึงไม่ต้องกด เร่งหรือข้ามแม้แต่วิเดียว
@user-dj9ck8du6j
@user-dj9ck8du6j 3 жыл бұрын
Elephant = เอราวัณ = ช้าง
@user-ie8yh1jq6w
@user-ie8yh1jq6w 2 ай бұрын
ว้าว มีเหตุผล😊
@dumrongthongjog1260
@dumrongthongjog1260 5 күн бұрын
​@@user-ie8yh1jq6w Airawata = Indra elephant Elephas = ancient greek Elephanti = latin éléphant= French Elefante = Italy Elefan = German
@user-xx8eu3iu7h
@user-xx8eu3iu7h 3 жыл бұрын
ผมสังเกตอะไรอย่างนึงได้ครับ คำว่าตรีโกณมิติ ในภาษาไทย และในภาษาอินเดียก็ใช้คำเดียวกัน คำกรีกและอังกฤษใช้คำประมาณว่าTrigonometry ซึ่งคล้ายๆกัน อาจจะสรุปได้ว่า Trigono- และ ตรีโกณ-=รูปสามเหลี่ยม Metry- และ มิติ- =ปริมาณ,การวัด ที่มิติเกี่ยวกับการวัดได้เพราะไม่ว่า2มิติ 3มิติ จะเกี่ยวกับปริมาณเสมอ และอาจจะสรุปได้ว่าเมื่อก่อนmetry กับมิติ เคยเป็นคำเดียวมาก่อน แต่เมื่อคนอพยพกระจายตัวมากๆ ความหมายจึงเปลี่ยนไปครับ
@IamMiyuki
@IamMiyuki 2 жыл бұрын
จีเนียสสสส
@dumrongthongjog1260
@dumrongthongjog1260 Жыл бұрын
ตรีโกณมิติ จัดเป็นคำยืมครับ เพื่อให้เป็นคำเฉพาะ แยกจากคำว่าสามเหลี่ยม
@user-fx4eq9md3v
@user-fx4eq9md3v 3 жыл бұрын
ตัวเลขสันสกฤตกับอังกฤษก็คล้ายกันแล้ว One-วัน=1 Two-โท=2 Three-ตรี,ตรัย=3 Four-จตุร=4 Five-เบ็ญจา=5 Six-ฉิกา,ฉกะ=6 Seven-สัปตะ=7 Eight-อัตตะ=8 Nine-นวะ=9 Ten-ทศะ=10 Twele-ทวี(ทวี)=12 Twenty-วีสติ=20 Human-มนู(มนุษย์) Water-วารี=น้ำ Munth-โสมะ=พระจันทร์ Solacell(sola)-สุรีย์,สุริยะ=พระอาทิตย์ Day-ทิตยะ(อาทิตย์)=พระอาทิตย์ Mouth-มุข=ปาก Hand-หัตถะ=มือ Old-โอวุ,อาวุโส=แก่,มีอายุ Young-ยวะ(เยาว์)=เด็ก,อ่อน Teach-เทศนา=สอน Home-อาราเม=บ้าน,สถานที่ Country-ปเทสี(ประเทศ) Wind-วายุ=ลม เยอะมากหามาไม่หมดเลย
@SandwishMedia
@SandwishMedia 3 жыл бұрын
สงสัยเรื่องนี้มาตั้งแต่ ป.สาม 55555 กระจ่างงง
@askrotic
@askrotic 3 жыл бұрын
คิดอยู่เลยยว่าสไตล์พูดเล่าเรื่องมีสองคนคือ sandwish media กับ pud
@xkuranai1624
@xkuranai1624 3 жыл бұрын
ต้องชมไหม
@infarredpyro
@infarredpyro 3 жыл бұрын
ตวย
@zatoemonkeyluv
@zatoemonkeyluv 3 жыл бұрын
ภาษาบาลี สันสกฤต เป็นตันติภาษา คือภาษามีแบบแผน
@KingKong_198
@KingKong_198 3 жыл бұрын
เออ ผมก็สงสัยมานาน เอ๊ะ! ทำไมงงที่ว่า เลข แม่งเสือกเสียงเหมือนกัน ที่นี้กระจ่างแล้วครับ
@tokyomonkii
@tokyomonkii 3 жыл бұрын
นว new ใหม่ หัทยา heart หัวใจ มารดา mother แม่ ภารดา ภราดร brother พี่ชาย สัปดาห์ สัปต septem , seven เจ็ด อัฏฐะ octo , eight แปด สุริยา solar แสงอาทิตย์ หัตถ์ hand มือ ศัพท์ sound เสียง โท ทวิ two สอง เอก one (ein in German) หนึ่ง ไตร ตรี three (drei in German) สาม นาสิก nose จมูก และอื่นๆ อีกมาก ชาวอินเดียส่วนหนึ่งสืบเชื้อสายมาจากชาวอารยัน ซึ่งมีเชื้อสายเดียวกับชาวยุโรป ใช้ภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน (ฮินดี บาลี สันสกฤต เยอรมัน อังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน ดัตช์ รัสเซียน เปอร์เซียน อยู่ในตระกูลนี้ทั้งหมด)
@kanamepac
@kanamepac 3 жыл бұрын
จริง ๆ มันมีสิ่งหนึ่งที่คูลกว่านั้นอีก คือคำที่ใช้เรียกเทพ และอสูร ของชาวอินโดยูโรเปียน เดิมทีผมคิดว่าชาวอินโดยูโรเปียนดั้งเดิมน่าจะนับถือสิ่งเดียวกัน แต่เมื่อวันหนึ่งมีการทะเลาะทำสงครามกัน มีฝ่ายที่แพ้และต้องลี้ภัย และมีฝ่ายที่ชนะได้ปักหลักอยู่ที่เดิม ต่อมาเหตุการณ์นั้นกลายเป็นตำนานในคัมภีร์พระเวทของชาวอินเดีย และคัมภีร์อเวสตะของชาวอิหร่าน ชาวอินเดียเรียกจิตวิญญาณฝ่ายดีว่าเทพ (Deva) เรียกจิตวิญญาณฝ่ายชั่วว่าอสูร (Asura) คนไทยรวมถึงคนเอเชียตะวันออก และตะวันออกเฉียงใต้ ก็ยืมคำมาทั้งอย่างนั้น แต่ทางอิหร่านเรียกจิตวิญญาณฝ่ายดีว่าอสูร ออกเสียงว่าอะหุระ (Ahura) และเรียกจิตวิญญาณฝ่ายชั่วว่าเทพ ออกเสียงว่า แดวา (Daeva) ฟังดูแล้วอาจจะขัด ๆ เพราะเราคนไทยชินกับการจำกัดความเรื่องของวิญญาณดีคือเทพ วิญญาณร้ายคืออสูร แต่มีคำหนึ่งที่ผมคิดว่าน่าจะคุ้นหูคนไทยดีคือคำว่า แอสการ์ด ซึ่งมาจากคำว่า แอส + การ์ด การ์ดนี่แปลว่าสถานที่ ช่างมัน แต่คำว่า As นี่มาจากภาษานอร์สโบราณ ass แปลว่าเทพ มาจากภาษาเยอรมันโบราณ ansuz ที่มาจากภาษาอินโดยูโรเปียนโบราณ h₂ems- อันเป็นรากเดียวกับคำว่า อสุ ที่แปลว่าลมหายใจ และคำว่าอสุระ แปลว่าอสูร (ที่อิหร่านแปลว่าจิตวิญญาณฝ่ายดี ส่วนอินเดียแปลว่าจิตวิญญาณฝ่ายร้าย) ส่วนภาษาอังกฤษนั้นก็มีคำที่มีรากมาจาก ansuz เหมือนกัน คือคำว่า os ไม่มีใช้ในภาษาประจำวันเพราะแทนที่ด้วยคำว่า god แต่มีใช้บ้างในชื่อคนเช่น Oscar (หอกเทพ) Osbourne หรือ Osborn (หมีเทพ) เป็นต้น อันนี้ผมว่าโคตรคูลที่สุดแล้วในความโปรโตอินโดยูโรเปียนทั้งมวล เหมือนแม่งสอนผมอ่ะ ว่าคำเดียวกัน หรือสิ่งสิ่งเดียวกัน แต่ต่างคน ต่างสถานะ ต่างถิ่นที่อยู่ ต่างที่มาที่ไป ก็มองต่างกันได้ บางครั้งเราเคยชินกับการชี้ว่าเทพดี อสูรชั่ว แต่คนบางกลุ่มก็มองว่าเทพชั่ว อสูรดี เพราะฉะนั้นผมเลยไม่เคยตัดสินใครว่าดีหรือชั่วที่ชื่อชั้นหรือที่มา แต่ตัดสินจากการกระทำนั้น ๆ สงผลดีหรือชั่วกับเราแทน
@Tonis_Thailand
@Tonis_Thailand 3 жыл бұрын
น่าทึ่งเลยมา สอดคล้องกับคำสอนในทางพุทธได้กล่าวว่า อสูร คือ ก็เป็นเทพประเภทหนึ่ง ไม่ถึงกับว่าเป็นฝ่ายชั่ว เพราะว่า ต่างบำเพ็ญบุญมาดีเช่นเดียวกับเทวาจึงได้มาเกิดเป็นเทวดา แต่เทพก็ยังไม่หมดกิเลส อิจฉาริษยา โลภ โกรธ หลง กันได้อยู่ การเกิดเป็นเทวดาหรืออสูรมีอายุขัยต่างกัน อสูรอยู่ในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา เช่นเดียวกับ ยักษ์ นาค ครุฑ คนธรรม์ (จัดว่าเป็นเทวดา ประเภทหนึ่ง) นอกนั้นก็มีสวรรค์ชั้นที่ 2-3-4-5-6 ที่เรียกว่า เทพ หรือเทวา หรือเทวดา เทวนารี เทพนารี อสูรนั้นอยู่ในภพที่เป็นสุข ไม่ได้มีความทุกข์ร้อน เพียงแต่นิสัยพื้นเดิมตอนเป็นมนุษย์นั้นจะมีนิสัยดุดันมาก แต่ไม่ใช่นิสัยขี้หงุดหงิดมักโกรธซึ่งจะทำให้ไปเกิดเป็นเทพประเภท ยักษ์ ประกอบกับบุญที่ทำมามาผสมผสานในการส่งผลให้ไปอยู่ในสวรรค์ชั้น 1 อยู่ในภพของอสูรเทพ
@dumrongthongjog1260
@dumrongthongjog1260 2 ай бұрын
ในยุคพระเวทแรกๆ พระอินทร์มีสถานะเป็นอสุราด้วยนะครับ เป็นตำแหน่งสูงสุด
@09pol67
@09pol67 3 жыл бұрын
ลองไปเรียนดูนะครับมันน่าจะเป็นเเขนกนึงของภาษาศาสตร์น่าจะชื่อว่า etymological เป็นการเรียนรากศัพท์ มั้งครับ บอกเลยผมนั่งเรียนกับอาจารย์ที่รรไปสองปีเเปลออกคราวคราวทุกภาษาละ มันเจ๋งมากเลยนะภาษาเกิดมาจากเเหล่งกําเนิดเดี๋ยวกันเเต่เพี้ยนไปตามยุคสมัยและสำเนียง ภาษาไทยโบราณคล้ายภาษาอังกฤษมากลองไปหาอ่านดูถ้ามีเวลานะ
@trinolone
@trinolone 3 жыл бұрын
นิรุกติศาสตร์ ?
@dumrongthongjog1260
@dumrongthongjog1260 Жыл бұрын
คล้ายกัน นับเลขยังไม่เหมือนเลยนะครับ
@dumrongthongjog1260
@dumrongthongjog1260 Жыл бұрын
การหารากภาษาของภาษานั้นๆ จะหาจากคำง่ายๆ เช่น ตัวเลข สัตว์ ครอบครัว ปรากฏการณ์ธรรมชาติ
@hilatchikkakul8980
@hilatchikkakul8980 Жыл бұрын
จริงๆภาษาไทยโบราณไม่คล้ายภาษาอังกฤษหรอกครับ คุณอาจจะจับแค่เสียงบางเสียง เช่น ไทโบราณ ซ ออกเสียงเหมือนตัว z และมีเสียงเหมือนตัว v ด้วย บางสำเนียงไทก็มีเสียงเหมือน th ด้วย อะไรแบบนี้ เท่านั้นเอง ซึ่งมันเป็นแค่หน่วยเสียงที่เหมือนกันครับ แต่คำศัพท์แทบไม่เหมือนกันเลย
@jrpanoy6407
@jrpanoy6407 3 жыл бұрын
ที่แปลกใจคือคนไม่เชื่อเยอะมาก บางคนคิดว่าเป็น conspiracy บางคนก็คิดว่าโดนล้างสมองไม่อยากจะเชื่อ ถึงอยากจะตั้งคำถามเลยว่า คนไทยมีการศึกษาเยอะแค่ไหน
@Turbodelusional
@Turbodelusional 3 жыл бұрын
เค้าไม่ได้บอกให้เชื่อก็ยังไปด่าเค้า คนไทยหลอนหนักเเยกคำว่าทฤษฎีกับหลักการข้อเท็จจริงไม่ออก ทฤษฎีถ้ามีหลักฐานใหม่มาเเย้งมันก็เปลี่ยนแปลงได้เสมอ
@ARP2H
@ARP2H 3 жыл бұрын
นี่แหละครับ ชอบอยู่ในกรอบ เห็นความคิดที่ต่างก็ไปว่า บางทีเอาคำว่าคนไทยมายึดเหนี่ยวตัวเองมากไป
@dumrongthongjog1260
@dumrongthongjog1260 10 ай бұрын
ความรู้ด้านภาษาศาสตร์ของคนไทยถือว่าน้อยมากครับ คือชอบเอาคำที่ยืมมาเปรียบเทียบแล้วก็เชื่อแบบมั่วซั่วสุดๆ ทั้งๆที่หลักภาษาศาสตร์มีมากกว่านั้น
@lazyfox_tv3566
@lazyfox_tv3566 3 жыл бұрын
คลายข้อค้องใจผมละว่าทำไม่คำว่าแม่ในภาษาต่างๆ ถึงมีตัว ม.ม้า เกือบทั้งหมดขอบคุณคราบบบบ (เผื่อว่าบางคนไม่เห็นภาพ ไทย - แม่ สันสกฤต - มารดา บาลี - มาตา อังกฤษ - mother(มาเตอร์),mom(มัม) เยอรมัน - mutter(มัทเตอร์) ฝรั่งเศส - maman(มามอง),mamere(มาแมร์) สเปน,อิตาลี - madre(มาเดร์) โปรตุเกส - mae(เมย์) จีน - มาม่า) ขนลุกกกกก~กับความอัศจรรย์ของภาษา
@pitchhhng8919
@pitchhhng8919 3 жыл бұрын
แล้วก็ที่เริ่มต้นด้วยม.ม้าเกือบทุกประเทศก็เพราะว่าทารกที่เริ่มหัดพูด จะออกเสียงม.ม้าได้ง่ายด้วยงับ
@lazyfox_tv3566
@lazyfox_tv3566 3 жыл бұрын
@@pitchhhng8919 เจ๋งเลยครับ
@user-lz7pg9xf7k
@user-lz7pg9xf7k 2 жыл бұрын
เห็นด้วย​ คนอิสลามภาคใต้ก็เรียกแม่​ ว่า​ มะ​ ม.ม้าเหมือนกัน
@dumrongthongjog1260
@dumrongthongjog1260 Жыл бұрын
เสียง ม. เป็นเสียงที่เด็กแรกเกิดสามารถออกเสียงได้เลยครับ ดังนั้น คำที่ใช้เรียกแม่ในทุกๆภาษาจึงมีความคล้ายคลึงกันครับ รวมถึงเสียง พ หรือ ฟ ด้วยครับที่แทน พ่อ หรือ father
@genishida1286
@genishida1286 3 жыл бұрын
อยากแนะนำว่า มีอีกเรื่องนึงที่น่าสนใจไปไม่น้อยกว่า ภาษา เลย คือระบบ โทนของโน๊ต (Musical equal temperament) มันสะท้อน ทั้งสังคม กรอบความคิด และ กรอบการรับรู้ ได้ดี เช่นเดียวกันกับภาษาที่ต่างชนิด ต่างต้นกำเนิด ต่างสังคม
@NjNetoGMail
@NjNetoGMail 3 жыл бұрын
เคยมีครูไทยท่านนึงกล่าวว่า "หากเรารู้ถึงต้นรากศัพท์แล้ว เราจะเข้าใจถึงภาษาได้ไม่น้อยกว่า 5 ภาษา"
@tofferooni4972
@tofferooni4972 3 жыл бұрын
คำว่าพระเจ้า ไทย : เทวา สันสกฤต : เดวา อังกฤษ : ดีว่า, ดีไวน์ โปรโต-อินโด-ยูโรเปียน: เดว อิตาลี : ดีโอ สเปน : ดีโอส ลัทเวีย : เดไว ลาติน : เดอัส ฝรั่งเศส : ดิว โปรตุเกส : เดอุส
@studio-sp6jd
@studio-sp6jd 3 жыл бұрын
ดีโอบรันโด้
@tofferooni4972
@tofferooni4972 3 жыл бұрын
@@studio-sp6jd โคโน
@misakiz9672
@misakiz9672 3 жыл бұрын
Portuguese - Deus (เดอุส)
@user-eh5xr1mh6w
@user-eh5xr1mh6w 3 жыл бұрын
อินโดนีเซีย dewa เดวา
@jeffreyamr3762
@jeffreyamr3762 3 жыл бұрын
french : Dieu
@maki_Lavender
@maki_Lavender 2 жыл бұрын
พอเก็ตแล้ว นานมากที่ตอนเด็กสงใสว่าทำไม่คำว่า "ตาย" ในภาษาไทย กับ "Die" ในภาษาอังกฤษ ถึง ออกเสียงคล้ายกันและความหมายเหมือนกันเลย
@hilatchikkakul8980
@hilatchikkakul8980 2 жыл бұрын
อันนี้น่าจะบังเอิญ เพราะมันชัดแล้ว ว่าภาษาไทยกับอังกฤษ คนละตระกูลกัน
@saksornsd5442
@saksornsd5442 3 жыл бұрын
เป็นคอนเทนต์ที่อยากเห็นคนไทยทำมานานานแล้ว เรื่องภาษาศาสตร์ ไรงี้ มีทั้งกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน,ฟินโน-อูรัลริก,ไซโน-ทิเบเตียน,อัลแตอิก,แอฟฟโร-เอเชียติก ส่วนไทยเราก็อยู่ในกลุ่มขร้า-ไท ชอบคลิปพี่มาก ๆ นะครับ อยากเห็นพี่ breakdown ข้อมูลออกมาหลาย ๆ คลิปเลยครับ วู้วววววววววววววววววววววววววววว
@ice3997
@ice3997 3 жыл бұрын
เหมือนละติน กับ สันสกฤต มีรากศัพท์จากภาษาแม่เป็นภาษาเดียวกัน แต่ภาษาแม่นั้นตายไปแล้ว เลยไม่รู้ว่าคือภาษาอะไร
@falalala8
@falalala8 Ай бұрын
EP นี้ทำได้ดีมากๆ เช่น การใช้คำว่าจารึกแทนบันทึก คือถูกต้องมากๆ 👍🏻👍🏻👍🏻
@iscream209
@iscream209 3 жыл бұрын
วิดิโออินเสิร์ตเยอะมาก คนทำคลิปขยันหาน่าดู555 ชื่นชมทุกฝ่ายเลยค่ะ เสียงฟังเพลิน เนื้อหาฟังง่ายไม่สับสน เยี่ยมๆๆ
@janjoe
@janjoe 3 жыл бұрын
รักพูด❤
@LordTribunalBeyonder
@LordTribunalBeyonder 3 жыл бұрын
ใช่ครับ ทุกภาษามันมีที่มาจากเหง้าร่วมกัน ก่อนจะแยกไปเป็นภาษาเอกเทศของตัวเอง ยกตัวอย่างของภาษาไทยแล้วกัน ความงามของภาษาไทยคือถ้าคุณตั้งใจฟัง และพูดมันสุภาพมาก ๆ กว่าทุกภาษาที่ผมเคยเจอมา เพราะเรามีโทนเสียงที่คอยกำกับไม่ให้มันโดด เช่น ปา ป่า ป้า ป๊า ป๋า ถ้าเป็นภาษาอื่นคือความหมายเดียวกัน แต่ภาษาไทยคือคนละความหมายเลย (เอาตามที่บัญญัติไว้) หรือ ถ้าเราจะด่าเพื่อน ควาย เราจะพูด "ไอ้คว๊าย หรือไม่ก็ไอ้ฟาย" เพื่อลดความดุดันลงไป
@user-zs2rg3wx3q
@user-zs2rg3wx3q 3 жыл бұрын
และภาษาไทยแลกมากับความยุ่งยากในการสะกด ออกเสียงเพราะหนึ่งเสียงสะกดได้หลายแบบแม้แต่คนไทยยังผิดๆถูก เห็นบ่อยๆก็ นะคะ,นะค่ะ อะไร,อะรัย ขอบคุณครับ,ขอบคุนคับ เพราะงั้นต่อจากนี้ถ้าใครพิมพ์ผิดแลัวมีคนทักก็แถไปได้เลย ว่าเพราะภาษาไทยมันยุ่งยากต่างหากล่ะ!(พูดเล่นนะคับ)
@dumrongthongjog1260
@dumrongthongjog1260 Жыл бұрын
proto language ของแต่ละตระกูลภาษามีแหล่งกำเนิดไม่เหมือนกันนะครับ
@InsanecityFT
@InsanecityFT 3 жыл бұрын
สงสัยมานานและ ทำไมคำว่า แม่ ถึงออกเสียงคล้ายๆ กันในหลายๆภาษา
@mr.auknowz8565
@mr.auknowz8565 3 жыл бұрын
สงสัยเหมือนกัน
@user-eh5xr1mh6w
@user-eh5xr1mh6w 3 жыл бұрын
สังเกตุเวลาเด็กร้องสิครับ
@cozi8
@cozi8 3 жыл бұрын
อันนี้เราว่าคงเป็นเรื่องการพูดเสียง /ม/ มันง่ายกว่าเสียงอักษรอื่นๆด้วยค่ะ คือแค่การอ้าปาก-งับปากลง+กับไม่ต้องออกแรงมากๆ
@SuriyaAon
@SuriyaAon 3 жыл бұрын
ทวิ สอง = two แฝด = twin สองครั้ง = twice ยี่สิบ = twenty
@AaBb-gc7zn
@AaBb-gc7zn 3 жыл бұрын
เพิ่มเติมครับ​ two=โท
@yms1944
@yms1944 3 жыл бұрын
ชอบcontentแนวนี้มาก รู้สึกเหมือนดูช่อง Ted-Ed Thai แต่ถูกจริตช่องนี้มากกว่า
@sarojpramkaew5539
@sarojpramkaew5539 3 жыл бұрын
++
@okayzerofourzerofivefoureight
@okayzerofourzerofivefoureight 3 жыл бұрын
เหมือน Vox
@suwichaiomine6204
@suwichaiomine6204 3 жыл бұрын
ช่องนี้ใช้สำเนียงการพูดแบบวัยรุ่นมากกว่าครับมันเลยแตกต่าง ช่อง Ted-Ed สำเนียงวิชาการ
@abkornburee
@abkornburee Жыл бұрын
Supta เป็นสันสกฤต แปลว่า 7 สัปดาห์ แปลว่า 1 อาทิตย์มี 7 วัน สัปตปฎลเศวตฉัตร แปลว่า ร่มขาว7ชั้น เลข 7 ที่อาหรับ ออกเสียงว่า Supva ซัพว่า พอไปถึงยุโรปจึงกลายเป็น Seven เซเว่น
@tpphruk
@tpphruk 4 ай бұрын
อย่าเรียกว่ายุโรปให้เรียกว่าอังกฤษดีกว่า
@20yeesib
@20yeesib 3 жыл бұрын
คลิปนี้ทำนี่อึ้งหลายรอบมาก แบบเห้ยทำไมไม่สังเกตเลยวะว่ามันคล้ายกัน
@chatchatchat915
@chatchatchat915 3 жыл бұрын
เราก็ไม่ได้ใช้ภาษาแทบอินเดียและกรีก-โรมันกันในชีวิตประจำวันด้วยแหละครับ ถ้าเรารู้ภาษาพวกนี้อาจจะนำมาเปรียบเทียบได้ แต่เหมือนที่พี่เขาพูดก็คือบางทีมันก็มีข้อยกเว้นบ้างเหมือนกัน
@popeyemylum6457
@popeyemylum6457 3 жыл бұрын
สุดยอดมากค่ะ ลองแกะคำบทสวดมนต์ต่างๆ คือใช่เลย คล้ายๆภาษาอังกฤษค่ะ โหสุดยอด คือส่วนตัวเชื่อเรื่องพระเจ้าค่ะ แล้วบางทีจะขอพรอะไรอาจนึกไม่ออกไม่รู้จะพูดยังไง แต่พอมาฟังคลิปนี้ คือส่วนตัวยังนับถือพุทธอยู่ รู้เลยค่ะว่าสวดมนต์คือคำเดียวกันใช้ได้ สุดยอดมากเลย
@Music-el5dj
@Music-el5dj 2 жыл бұрын
ใช่ๆผมสงสัยมานานแล้ว ตั้งแต่เรียนบาลี กับอังกฤษ มันเหมือนกันมากโดยเฉพาะการนับ เช่น ทวิ-ทู,ติ-ทรี,ปัญจ-ไฟว,ฉะ-ซิก,สตะ-ซเว่น,อัตฐะ-เอฐ ,นว-ไนน์,ทสะ-เท็น เป็นต้น
@atipatlorwongam1063
@atipatlorwongam1063 2 жыл бұрын
ผมชอบและติดตามดูความรู้ที่ได้จาก Chanel ของคุณพูดมากนะครับ แต่ผมว่าวีดีโอนี้มีเนื้อหาหนึ่งที่ผมเห็นว่าผิดเพี้ยนไป จริงท ๆ ที่แล้วเหตุผลที่ เดือน 7 กลายเป็นเดือน 9 เพราะ จากการศึกษา โรมันอยากทำให้ 10 เดือนกลายเป็น 12 เดือนแต่ตัวเลขมีแค่ 10 จึงใส่ชื่อของกษัตริย์ 2 องค์ลงไปในเดือนใหม่ 2 เดือนนั้นคือ Julius Caesar -> July, Augustus Caesar -> August จึงเป็นที่มาของสองเดือนนี้ครับ
@siamsia84
@siamsia84 3 жыл бұрын
ผมนี่ก็เคยคิดเล่นๆแล้วสงสัยอยู่เหมือนกันว่า two - ทวิ, โท three - ไตร, ตรี มันแค่บังเอิญ หรือเพราะมีรากฐานมาจากที่เดียวกัน
@yan1sa
@yan1sa 3 жыл бұрын
ชอบคอนเทนท์นี้มาก เราอยากอธิบายเรื่องรากภาษากับคนอื่นๆ แต่เรียบเรียงออกมาให้คนเข้าใจไม่ได้ 555555 ต่อไปก็แค่แชร์คลิปของคุณไป เข้าใจง่าย 👍
@jinda1196
@jinda1196 3 жыл бұрын
เรียนเอกภาษา คณะมนุษยศาสตร์ มีวิชาภาษาศาสตร์ พอรู้อยู่แล้ว ชอบการพรีเซนต์ค่ะ ใครชอบความรู้แบบนี้ แนะนำให้เรียน เรียนแบบนี้สนุกนะ เรียนไวยากรณ์ภาษาอื่นได้ง่ายดี ขอบคุณที่แบ่งปันค่ะ
@peemmikuchannel867
@peemmikuchannel867 3 жыл бұрын
ลองนึกถึงคำว่า "แม่" ภาษาจีน มาม๊า ภาษาอังกฤษ มอม ภาษาเกาหลี อามอนีหรือออมมา ภาษาฮินดี มำ,มาตา ภาษาอิตาเลียน ม่าเดเร ภาษาเยอรมัน มุทเทอร์ ภาษารัสเซีย มามา และอีกหลายประเทศที่ออกเสียงคล้ายคลึงจริงๆ
@chaturongarchary9773
@chaturongarchary9773 3 жыл бұрын
พ่อ ก็ด้วย...ป๋า..ปาป้า..ป๊ะ...โบ๋..เอิวปุก
@minatopuan
@minatopuan 3 жыл бұрын
นักภาษาศาสตร์สำรวจแล้วครับว่า มากกว่า 6000 ภาษาทั่วโลก ออกเสียง หม’ เพื่อใช้เรียกแม่กัน โดยเชื่อว่า เพราะเป็นเสียงที่แค่อ้าปากกว้างออกก็สามารถเปล่งเสียงนี้ได้ ง่ายต่อการให้เด็กออกเสียง
@peemmikuchannel867
@peemmikuchannel867 3 жыл бұрын
@@minatopuan อ่อ นึกว่าบรรพบุรุษเลี้ยงแพะ แม๊ะๆๆๆ
@folkse
@folkse 3 жыл бұрын
@@peemmikuchannel867 น่าจะมีส่วน แม๊ะ ๆๆๆ , มะๆๆๆ, หม่ำๆๆๆๆ, มารุ่นหลัง มึงๆๆ
@user-eh5xr1mh6w
@user-eh5xr1mh6w 3 жыл бұрын
ภาษามลายูปัตตานี เรียก "ม๊ะ"
@blackclouds2013
@blackclouds2013 7 ай бұрын
มันอารมณ์เดียวกับให้คนข้างหน้าวาด แล้วให้คนหลังตอบ บางคนก็ใกล้เคียงบางคนใช้คำใหม่ไปเลย แล้วคนหลังๆมาเจอกันมันก็จะผสมเป็นคำใหม่
@livelivertet5932
@livelivertet5932 2 жыл бұрын
10นาที รู้เรื่องโลกมากกว่า12ปีในรร.เลยครัช
@user-fp2sc2me1e
@user-fp2sc2me1e 3 жыл бұрын
เคยสงสัยเหมือนกัน ระหว่าง ไทย กับ อังกฤษ die กับ ตาย fire กับ ไฟ ความหมายเหมือนกันด้วย!
@user-is3rd5wr4v
@user-is3rd5wr4v 3 жыл бұрын
ใช่ครับ 2คำนี้คืออดคิดไม่ได้จริงๆ มีโผล่ขี้นมาเลย
@kanamepac
@kanamepac 3 жыл бұрын
เพลิงคือภาษาเขมรครับ ส่วนคำว่าตายเป็นภาษาไทยเดิมที่ทุก ๆ เผ่าก็ใช้กัน คือบางครั้งมันก็จะมีคำที่บังเอิญเหมือนกันเท่านั้นแหละครับซึ่งก็มีทั่วไปในทุก ๆ ภาษา คำว่า die มาจากภาษาโปรโตเยอรมัน *dawjaną แปลว่าตายครับ ส่วนคำว่า fire มาจากภาษาโปรโตอินโดยูโรเปียน péh₂wr̥ ส่วนคำว่าไฟนั้นเป็นคำไทยเดิมครับ มีในภาษาไทยทุกเผ่า อาจจะมีแตกต่างไปบ้างเช่นชาวแสกออกเสียงว่า วี้ หรือ ฟี แต่ส่วนใหญ่ออกเสียงว่าไฟครับ
@sakoldvisukh3473
@sakoldvisukh3473 2 жыл бұрын
นึกว่า คิดแบบนี้อยู่คนเดียวครับ ขอบคุณสำหรับวีดีโอ คนสอนภาษาอังกฤษเด็กไทย ควรมีความรู้มีแพชขั่นเรื่องภาษาแบบนี้ เพราะเด็กๆชอบถามไปเรื่อยมาก บ้างถามไปเรื่อยเพราะสงสัยจริงๆ เราไม่มีทางรู้วิธีการเรียนรู้ของเด็กแต่ละคนได้เลย
@bydeena
@bydeena 3 жыл бұрын
loop = รอบ ? ภาษาเหนือ ม่อน = Moant , Moantain ? พัด = putter หรือ กับมีอีกคำที่ฟังคนอื่นมา เอราวัณ= Elephant
@god_rhythm
@god_rhythm 2 ай бұрын
ภาษาถิ่นในไทย อยู่กับตัวเองตั้งแต่แรกครับ ที่คุณโยบมะนเป็นความบังเอิญทั้งหมด
@futaba2650
@futaba2650 3 жыл бұрын
ขอนอกเรื่องหน่อยน่ะ คิดไปเองรึเปล่าว่าบรรยากาศคริปมันเหมือนmemeอิลลูมินาติคอนเฟิร์ม 55555 การโยงข้อมูลมันได้มาก
@ZAPKRTAINA
@ZAPKRTAINA 3 жыл бұрын
มีคนบอกว่าเทพฮินดูน่าจะพูดภาษา โปรโตอินโดยูโรเปียน ถ้าไปขอพรให้ลองขอเป็นภาษาอังกฤษท่านน่าจะฟังง่ายกว่าเพราะอยู่ในตระกูลภาษาเดียวกัน 🤯🤯🤯
@night9729
@night9729 2 жыл бұрын
ชอบช่องนี้มากครับ ไทยน่าจะมีช่องทำคอนเทนต์แบบนี้เยอะๆ คนพูดพูดได้น่าฟังมาก สมกับที่ชื่อ "พูด" เลยครับ
@buntoonbuntoon3210
@buntoonbuntoon3210 5 ай бұрын
มันเป็นภาษาในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียนเหมือนกัน อีกคำที่น่าสนใจคือจมูก nose - นาสิกกะ
@ganeshanamah5299
@ganeshanamah5299 3 жыл бұрын
สันสกฤต บาลี ตะกูลเดียวกัน ชึ่งมีรากจากตะกูลเมโสโปเตเมีย จะมีคนกลุ่มหนึ่งชื่อ เผ่าอารยันเปนคนพาภาษาไป ทางอินเดีย ยุโรป อียิป ตะวันออกกลาง ลาตินก็อยู่ในตะกูลเมโสโปเตเมีย ส่วนอีงกฤษแต่เดิมใช้ภาษาตะกูลนอสหรือสแกนติมีการผสมระหว่างภาษาลาตินและสแกนติที่อยู่ยุโรปทางเหนือ ภาษาไทยอยู่ตะกูล ไทไต-ไตลาวเริ่มตั้งแต่กวางชีลงไปสุดนครศรีแต่ภาษาผสมกันกับตะกูลมอญเขมร ภาษาไทยมีภาษาไตไทกับมอญเขมร 70% ที่เหลือยืมเค้ามา มาลายู สันสกฤต เปอร์เชีย จีน ภาษากลุ่มเมโสโปเตเมียมีแค่ 60% ของโลก ที่เหลือภาษาตะกูลอื่นๆ (อินเดียเดิมใช้ตะกูลดราวินเดียนหรือทมิฬ)
@tthesweetestsinn
@tthesweetestsinn 3 жыл бұрын
มั่วชิบหาย เมโสโปเตเมียเป็นพวก semitic พวกอินโดยูโรเปียนอพยพกระจายมาจากทุ่งหญ้าสเตปป์
@alemalem6728
@alemalem6728 3 жыл бұрын
ฮาเลย ตระกูลเมโสโปเตเมีย มันมีแต่ตระกูลอินโดยูโรเปี้ยน
@diamonch1215
@diamonch1215 2 жыл бұрын
บางส่วนมั่วพอสมควรเลยนะครับ เดิมทีนอร์สเนี่ยก็เป็นเยอรมันนิค อยู่ในครอบครัวของอินโด-ยูโรเปี้ยนอยู่แล้ว และพวกอังกฤษไม่ได้ใช้นอร์สด้วย แต่เดิมอังกฤษเก่าเป็นภาษาเยอรมันจากพวกแองโกลกับแซกซอนต่างหาก พอขึ้นเกาะบริเทนไปก็ไปผสมกับภาษาโรมันนิค-เคลต์ของชนพื้นเมือง(หลักๆก็เคลต์เวลส์ เพราะเคลต์สก็อตต์อยู่ทางเหนือและต้านทัพโรมันกับทัพอังกฤษได้) จากนั้นก็ค่อยมาผสมกับนอร์สนิดๆหน่อยๆตอนพวกเดนบุก (แต่ที่สำคัญสุดๆคือการยึดครองของนอร์มันที่เอาภาษาฝรั่งเศสมาใส่กับอังกฤษเยอะมาก)
@tidanary8291
@tidanary8291 3 жыл бұрын
พอมาถึงคำว่า เทวา deva diva เราลองไปค้นเพิ่ม แล้วเจอคำว่า davev ( देव ) devata ( देवता ) dave ( दवेव ) แล้วมันทำให้เรานึกถึง คำว่า devil โห... น่าสนใจมาก ที่พีคคือ คำที่กล่าวมา นอกจากจะออกเสียงคล้ายๆกันแล้ว มันยังมีความหมายอยู่คำหนึ่ง ที่แปลว่า " คลื่น " งั้น ถ้าคำว่า เทวดา ที่คนรุ่นหลัง จิตนาการ ว่า รูปร่างอย่างนู้น มีเวทมนต์อย่างนั้น มีพลังอย่างนี้ ถ้าสมมุติว่า คนรุ่นก่อน เขาแค่นิยามคำเหล่านั้นว่า " คลื่น , พลังงาน " ล่ะ มันจะพีคและหักมุมมากเลยนะ555
@tidanary8291
@tidanary8291 3 жыл бұрын
ถ้าสมมุติ ว่า คำว่า เทวดา = devil ทั้งที่คำว่า devil = ปีศาจ , อสูร , ซาตาน งั้นก็หมายความว่า เทวดา ปีศาจ อสูร ซาตาน คือ สิ่งที่เป็น " ชนิดเดียวกัน " มันก็จะสอดคล้องกับ " พระไตรปิฎก " เลยนะ เรื่อง ปรนิมิตสวัสวตรี = พญามาร พญามาร = เทวดาชนิดหนึ่งที่อยู่สวรรค์ ชั้น 6 และ เรื่อง " สงคราม เทวดา vs อสูร " อะ สงครามเทวดา สวรรค์ชั้นดาวดึง (ชั้น 2) ที่อธิบายว่า อสูร คือ เทวดา มีรูปร่างเหมือน เทวดา ทุกอย่าง แต่ว่า มีเรื่องขัดแย้งกัน เลยแบ่งฝ่ายกัน รบกัน แล้วตั้งชื่อทีมตัวเองว่า " อสูร " ที่มาจากคำว่า " อสุร , อสุรา , ไม่ดื่มน้ำเมา , ไม่ดื่มน้ำอมฤทธิ์ " สิ่งที่เราจะได้ยินเสมอ คือ เทวดา มีทั้ง ดีและไม่ดี ปะปนกัน อสูร มีทั้ง ดีและไม่ดีืปะปนกัน เราไม่ควรไป ตราหน้า เหมารวม ว่า ฝ่ายไหนดี ฝ่ายไหนไม่ดี เพราะ เขาคือสิ่งที่เป็นชนิดเดียวกัน แต่ แค่ความคิดแตกต่างกัน เขาจึงแบ่งฝ่าย แบ่งพรรค แบ่งพวกกัน แล้วที่ภาพจำบางคน มองว่า " อสูร " คือ สิ่งที่ไม่ดี เป็นเพราะ การ์ตูน ภาพยนตร์ ละคร ที่มนุษย์สร้างขึ้น จนเป็นภาพติดตา ว่า " อสูร ไม่ดี " มันคือ การเหยียดคนที่นับถือ " อสูร , ซาตาน " ( เพราะในอดีต มีการแข่งขันกันทางความเชื่อในศาสนาต่างๆ จึงมีการใส่ร้ายคนที่นับถือศาสนาอื่น ที่ไม่ใช่ศาสนาตัวเอง ว่า ไม่ดี ) ซึ่งเรื่อง " สงครามเทพเจ้า " มันก็มีอยู่ใน " คัมภีร์ไบเบิ้ล " และ คัมภีร์ในศาสนาอื่นๆ อีกด้วย น่าสนใจมาก น่าสนใจจริงๆ เพราะ รากคำศัพท์ มันสอดคล้องกับ " เรื่องราวในคัมภีร์ " ถ้าอย่างนั้น เรื่องเล่าต่างๆ ที่คนโบราณ เล่าขานต่อๆกันมา ก็มองข้ามไม่ได้แล้วสิ เพราะ ในเนื้อหาบางอย่าง ก็หยิบเอามาค้นหาต่อไปได้
@nirvanaoffantasy2845
@nirvanaoffantasy2845 3 жыл бұрын
@@tidanary8291 ใช้เลยผมเห็นด้วย
@kamchaianantasukh7046
@kamchaianantasukh7046 3 жыл бұрын
@@tidanary8291 ในคัมภีร์อเวสตะ Avesta ของชาวอิหร่านโบราณ เขาใช้คำว่า อสูร ในความหมายว่า เทพ แต่เขาออกเสียงเพี้ยนไปเป็น อหูระ Ahura ภาษาในคัมภีร์อเวสตะ มีความคล้ายคลึงกับภาษาในคัมภีร์ฤคเวทของอินเดียมาก
@sirawaan
@sirawaan 3 жыл бұрын
เนื้อหาคอนเท้นดีมากเลยค่ะ ส่วนตัวชอบรูปแบบการเรียบเรียงนะคะ พยายามจะเข้าใจว่าต้องการจะวางคาแรกเตอร์เหมือนเล่าให้เพื่อนฟัง ซึ่งหางเสียงบางทีมันก็ห้วนๆ ลากๆ บอกไม่ถูก คือเราก็ฟังแล้วขัดหูนะ เสียดายอะ ทนดูจบไม่ไหว แต่เนื้อหาน่าสนใจมากจริงๆ ขอบคุณนะคะ เนื้อหาดีมากจริงๆ
@aran28arun
@aran28arun 3 жыл бұрын
kzbin.info/www/bejne/rZzCnpmgiLp-rsU
@sirawaan
@sirawaan 3 жыл бұрын
@@aran28arun ขอบคุณนะคะะ เนื้อหาคล้ายๆกันเลย ฟังจบแล้วค่ะ :D
@fujivara29
@fujivara29 2 жыл бұрын
เรื่องรากศัพท์นี้สนุกมาก มันลิ้งกันไปหมด
@attapoombounkuang9554
@attapoombounkuang9554 3 жыл бұрын
เนื้อหาดีและฟังแล้วรู้สึกเป็นกันเองมากครับ ไม่ต้องพิถีพิถันในการเงี่ยหูฟังเหมือนการอ่านไปด้วยพูดไปด้วย การพูดแบบท่องสคริปส์และดัดแปลงให้ฟังง่ายมันดีอยู่แล้วครับ ปรับปรุงเรื่องหางเสียงนิดหน่อยจะน่าฟังมากกว่านี้ เป็นกำลังใจให้นะครับ ส่วนตัวชอบการเล่าเรื่องแบบนี้ครับ
@armaraxx8000
@armaraxx8000 3 жыл бұрын
ขอเสริมนิดนึงในฐานะคริสเตียนนะ คะ*(พอดีในไบเบิ้ลก็มีเรื่องตรงตามในคลิปค่ะ) ในไบเบิ้ลคือเขียนไว้ว่าเดิมที มนุษย์พูดภาษาเดียวกันค่ะ แต่เหตุเพราะจะสร้างหอบาเบล ซึ่งมันไม่ตรงตามพระประสงค์ของพระเจ้า พระเจ้าก็เลยทำให้ภาษาแตกไปค่ะ เพื่อให้เขาสื่อสารกันไม่ได้ คนก็เลยต้องกระจัดกระจายไป (*ปล. บาเบล แปลว่า วุ่นวาย) คือเราไม่รู้จะอธิบายให้ทุกคนเจ้าใจยังไงดี แต่ถ้าใครอยากอ่านเพิ่มเติม อยู่ในคัมภีร์ไบเบิล ปฐมกาลบทที่11นะคะ ขอบคุณค่ะ
@phchraasnuffle9203
@phchraasnuffle9203 3 жыл бұрын
ครับ แต่นี่ก็เป็นเพียงตัวอย่างหนึ่งตระกูลภาษา จริงๆแล้วโลกเรายังมีภาษาอีกหลายตระกูลครับ แต่ถ้าย้อนไปไกลมากๆ ท้ายที่สุดผมก็เดาว่ามนุษย์ใช้ภาษาเดียวกันอยู่ดี55
@greenfree7107
@greenfree7107 3 жыл бұрын
ความคิดเห็นคุณดีอ่า
@panasonkritsanapraneet3450
@panasonkritsanapraneet3450 3 жыл бұрын
พระเจ้าอวยพรครับ
@dumrongthongjog1260
@dumrongthongjog1260 Жыл бұрын
เป็นไปได้ครับว่าน่าจะหมายถึงกลุ่มชนที่ใช้ภาษาในกลุ่มเซเมติกครับ เพราะกลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ให้กำเนิดศาสนาคริสต์ อิสลาม ยูดาห์ และสามศาสนานี้มีความเชื่อเรื่องพระเจ้าองค์เดียวเหมือนกัน (กลุ่มภาษาเซเมติก เช่น อาหรับ ฮีบรู ฟินิเซีย แอกแคด เป็นต้น)
@user-st1hz2pd3p
@user-st1hz2pd3p 2 жыл бұрын
ผมจบศิลปศาสตร์ภาษาอังกฤษ ยังไม่ได้เรียนเรื่องนี้เลย แต่ก็สงสัยตลอดเรื่องความคล้ายของภาษา คำว่า แม่ พ่อ นี่ชัดสุดเลย
@ChalidaL
@ChalidaL 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับคลิปดีๆ ค่ะ ชอบเนื้อหา ชอบการนำเสนอกราฟิกน่าสนใจมากๆ เลยค่ะ พูดดีนะคะแต่ช่วยเปลี่ยนน้ำเสียงลงท้ายหน่อยได้ไหมคะ รู้สึกว่าเน้นน้ำเสียงตอนลงท้ายประโยคหนักไปค่ะ ต้นปะโยคกลางประโยคเบาแล้วมาเน้นเสียงดังตอนท้ายเสียงไม่สมดุลกันมันฟังแล้วห้วนๆ อะค่ะ ถ้าปรับปรุงตรงนี้นิดนึงจะสมบูรณ์แบบมากค่ะ
@wijaiwantawee6215
@wijaiwantawee6215 3 жыл бұрын
โคตรสนุกเลยครับอีพีนี้ เทพเกิ้น เรื่องยากๆย่อยมาอย่างง่าย
@saraveesaravee8546
@saraveesaravee8546 3 жыл бұрын
คำว่าเสียง ภาษาทั่วโลกส่วนมากจะออกเป็น ส เสือ - เสียง # ไทย - sound ซาวนด์ # อังกฤษ -อาหรับ صوت ซาวต์ # อาหรับ - เปอร์เซีย صدا ซอดา # เปอร์เซีย - suara สูวารา # มาเลย์ อินโด บรูไน สิงคโปร์ สามจังหวัด - 聲音 เซองหยิ่ง # จีน - 소리 โสลี # เกาหลี - ses เสส # ตุรกี - sonner สนนี # ฝรั่งเศส - sonar โสนาร # สเปน - som โสม # โปรตุเกส - suono สโวโน # อิตาลี - sana สานา # ลาติน และอีกหลายภาษาแอดลองศึกษาดู
@panasonkritsanapraneet3450
@panasonkritsanapraneet3450 3 жыл бұрын
จีนอ่านว่า เซิงอิน ครับ ไม่ใช่ เซองหยิ่ง ฝรั่งเศสอ่านว่า โซนเน ครับ ไม่ใช่ สนนี เกาหลีอ่านว่า โซรี ครับ ไม่ใช่ โสลี ละตินอ่านว่า ซานา ครับ ไม่ใช่ สานา สเปนอ่านว่า โซนาร ครับ ไม่ใช่ โสนาร โปรตุเกสอ่านว่า โซม ครับ ไม่ใช่ โสม บาฮาซาอ่านว่า ซวารา ครับ ไม่ใช่ สูวารา อยากให้ศึกษาเสียงดีๆ หรือปรึกษาผู้รู้ก่อน เดี๋ยวจะทำให้คนมาอ่านเข้าใจผิดได้ และอย่างไรก็ตาม ทุกๆภาษา ไม่สามารถเขียนคำอ่านด้วยอักษรภาษาไทยให้ตรง 100% ได้ จึงควรฟังด้วยตนเองดีกว่าครับ
@jaranfankham8266
@jaranfankham8266 3 жыл бұрын
เติมอิกคำนะครับ..ล้านนาว่า ซ้าว=เสียงดัง.. =^-^=
@Hoonlaiga
@Hoonlaiga 2 жыл бұрын
ชอบมากเลย พูด ดีมีสาระมีประโยชน์แก่การเรียน การศึกษา
@pandastaff
@pandastaff 2 жыл бұрын
ตอนท้ายทิ้งไว้ได้น่าสนใจ ว่าภาษานี่ล่ะสะท้อนวิถีชีวิตของคนที่นั่นได้ กลับมาดูภาษาที่เราใช้สิมีคำพิเศษ มีลำดับชั้นก็สะท้อนได้ดีเชียว
@user-er8fm7kj8q
@user-er8fm7kj8q 2 жыл бұрын
ประเทศไทยคนไทยไม่สมควรให้สิทธิเท่าเทียมกันทางการเมือง การปกครองแก่พวกรากเหง้าอพยพโดยเฉพาะไอลูกเจ๊กดอยกับไอลูกเจ๊กโพ้นทะเลจีนแดงคอมมิวนิสต์อพยพ ลูกหลานไอเหมากับไอเจียงอพยพ
@pandastaff
@pandastaff 2 жыл бұрын
@@user-er8fm7kj8q คุณไปบอกรัฐให้ไล่เจ้าสัวเลยครับ ถ้าเขายอมนะ
@itsmepim
@itsmepim Жыл бұрын
เหมือนคำว่า ประตู ในภาษาโปรตุเกสคือ porta มีความคล้ายกัน
@god_rhythm
@god_rhythm 2 ай бұрын
งั้นก็แปลว่า portal ก็เป็นคำเดียวกันอีกแล้วหรอ
@piecebackpack4479
@piecebackpack4479 2 жыл бұрын
ลึกซึ้งเล่าออกแนวคนรุ่นใหม่ไม่น่าเบื่อ🍧 ว่างๆดูวัฒนธรรมลาว-ญี่ปุ่นให้หน่อยช่างคล้ายกันในหลายๆส่วน🥤
@vitechokchai8523
@vitechokchai8523 3 жыл бұрын
ชอบคับ นึกว่าผมคิด คนเดียว เคยนั่งคิดนะ ว่าทำมั้ยมัน คล้ายๆ กัน
@tanchannel3420
@tanchannel3420 3 жыл бұрын
ทำคลิปดีอีกแล้ววววว เราชอบเรื่องภาษามากกกกก อยากโดเนทอีกแล้ววว ขอบคุณสำหรับคลิปดีๆครับ 💕💕
@yoruyoooruuuu
@yoruyoooruuuu 3 жыл бұрын
ตอนเรียนบาลีได้รู้คำนึงคือ นิพฺพาน (นิบ-พา-นะ) สันสกฤตออกเสียงว่า นิรฺวาณ (นิ-วา-นะ) ภาษาอังกฤษคือ nirvana โคตรว้าว ปล. ขอบคุณสำหรับคลิปที่สุดยอดแบบนี้คับ
@bummer1311
@bummer1311 3 жыл бұрын
อ่านว่า นิบบานา ในบาลี ไม่มี พ
@yoruyoooruuuu
@yoruyoooruuuu 3 жыл бұрын
@@bummer1311 ขอบคุณค่า ทิ้งไปนานแล้วเลยไม่แม่นละ
@user-is3rd5wr4v
@user-is3rd5wr4v 3 жыл бұрын
คนไทยชอบเปลี่ยน ว เป็น พ ครับ เช่น วายุ - พายุ วิมาย - พิมาย เป็นต้น
@zatoemonkeyluv
@zatoemonkeyluv 3 жыл бұрын
@@user-is3rd5wr4v นิ วาน คือ นิ วาน แปลง ว เป็น พ และ แปลง พะเป็น พ พ สนธิกับ นิ ก็เท่ากับ ได้รูปศัพท์ สำเร็จรูปเป็น นิพพาน (วาน หรือ วน ปน พน แปลว่า ป่า หรือความมืด ในป่ารก เปรียบเทียบกับ กิเลสตัณหา อาสวะทั้งหลายทั้งปวง นิ บทหน้า คือ ไม่มี ออก สรูป คือ ออกจากความมืดบอดจากอาสวะกิเลสทั้งหลายทั้งปวง โดยรอบด้าน คือหมดจด ออกจากป่าก็คือ เกิดความสว่างไสวเจิดจ้า ไม่มีหรือพ้นอาสวะทั้งหมด
@zatoemonkeyluv
@zatoemonkeyluv 3 жыл бұрын
บาลี สันสกฤต เป็น ตันติภาษา คือภาษาที่มี "แบบแผน" บางคนเข้าใจว่าพระพุทธเจ้าไม่ใช้ภาษาบาลี สันสกฤต เป็นความเข้าใจผิดว่า ใช้ภาษา มคธ ให้ท่านทั้งหลายโแรดเข้าใจว่า คำว่า มคธ เป็นชื่อเมืองหรือแคว้นมคธ จึงเรียกชื่อ ภาษาบาลี สันสกฤต ว่าเป็นภาษา มคธ ต่างหาก ที่จริง ก็ยังเป็นภาษา บาลี สันสกฤต อยู่นั่นเอง ด้วยประการฉะนี้แล
@akkarachaiparallel4371
@akkarachaiparallel4371 3 жыл бұрын
ผมเคยค้นคว้าหาข้อมูลอยู่เหมือนกัน ขอบคุณสำหรับข้อมูลคุณภาพเต็มแก้ว
@Himitsu76
@Himitsu76 3 жыл бұрын
คอนเท้นดีมากเลยครับ ติดนิดนึงเวลาไล่เส้นเวลาอะครับอยากให้ยึดแบบใดแบบหนึ่งไปเลย มีพูดว่า 4000-6000 ปีก่อน (2:10) กับ 6000-3000 ปีก่อน (2:26) มันมองคนละ point of time อะครับ
@diamonch1215
@diamonch1215 2 жыл бұрын
ผมว่าเขาใช้ถูกละนะครับ อันแรกคือพยายามจะชี้หาช่วงเวลาจำเพาะจุดนึงในอดีต เลยต้องเดาจากใกล้ปัจจุบันไปหาไกลจากปัจจุบัน อารมณ์ประมาณ "2-3 ปีที่แล้ว" ส่วนอันหลังคือการพยายามระบุว่าเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นตั้งแต่ "ตรงนี้" ถึง "ตรงนี้" เลยต้องเอาอันไกลขึ้นก่อน แบบเดียวกับ "วันสงกรานต์เริ่มตั้งแต่วันที่ 12 ถึงวันที่ 15"
@bundit9371
@bundit9371 3 жыл бұрын
สามเหลี่ยมก็ ไตรเหมือนกันครับ triangle
@justice5212
@justice5212 3 жыл бұрын
นาม - Name ไฟ - Fire ตาย - Die
@NARUMOL1000
@NARUMOL1000 3 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ดีดี ชอบมากค่ะ
@TheVirgimelon
@TheVirgimelon 3 жыл бұрын
ได้ความรู้ดีมากเลยครับ เคยสงสัยมานานแล้วเหมือนกัน แล้วก็อีกอย่างที่อยากชม คือพวกภาพ/วิดีโอประกอบที่ใช้อะครับ น่ารักดี ทำให้เห็นภาพชัดยิ่งขึ้น
@wacha4472
@wacha4472 Жыл бұрын
ชอบช่องคุณภาพแบบนี้มากๆครับ สู้ๆนะครับ
@HaroldBruceLee
@HaroldBruceLee 2 жыл бұрын
พึ่งมาเจอช่องนี้ มีเเต่เรื่องน่าสนใจ กกติดตามแล้วจ้า
@komate3535
@komate3535 3 жыл бұрын
ชอบมากครับ ได้ความรู้ ทำคลิปออกมาเรื่อยๆนะครับ เป็นกำลังใจให้
@watboonyatasanee48
@watboonyatasanee48 3 жыл бұрын
ได้ความรู้จริงๆครับ D. มากๆเลย ขอบคุณมากๆ
@user-mv8ud4ev8p
@user-mv8ud4ev8p 2 жыл бұрын
ออโตเมติก = อัตโนมัติ วัน(1) ทู(2) ทรี(3) = เอก โท ตรี
@thanagoontajoi5173
@thanagoontajoi5173 2 жыл бұрын
ใช่ๆ มีความเป็นไปได้
@perspectives24
@perspectives24 2 жыл бұрын
ก็ว่า คำว่า แม่ ถึงเหมือนกัน เกือบทุกภาษา
@ariz6522
@ariz6522 3 жыл бұрын
พูดทำคอนเทนต์มีคุณภาพมากจริงๆ ชื่นชมครับ
@errrno1761
@errrno1761 2 жыл бұрын
เหี้ยบนยยย ขนลุกอ่ะ อะไรมันจะมันคล้ายขนาดนั้น หลายคำเกิ๊น ชอบcontent แบบนี้ เอาอีกๆๆ
@davidpollapat5815
@davidpollapat5815 2 жыл бұрын
มีประโยชน์มากครับ
@fluffypariii
@fluffypariii 3 жыл бұрын
ชอบนะคะ ติดตามค่ะ💕
@davidpollapat5815
@davidpollapat5815 2 жыл бұрын
คลิปนี้ดีมากๆเลยครับ
@Pretty_Coconit
@Pretty_Coconit 3 жыл бұрын
ขอบคุณที่หาข้อมูลเเละทำคริปนะคะ
@davidpollapat5815
@davidpollapat5815 2 жыл бұрын
content ก็ดีมากๆเลยครับ
@he700cc6
@he700cc6 3 жыл бұрын
ไม่ต้องไปไหนไกล Tele (เทเล) = โทร(โท-ระ)
@kunkaan6248
@kunkaan6248 3 жыл бұрын
เห้ย ดีใจมากที่มีคนทำเรื่องนี้ สงสัยมาตั้งนานแล้วเหมือนกัน
@veelim9784
@veelim9784 3 жыл бұрын
เยี่ยมมากเลย น่าทึ่งมาก คุณมีความรู้อย่างลึกซึ้งครับ ขอบคุณมาก มันสวยงามมาก
@bacon2610
@bacon2610 3 жыл бұрын
มีคำนึงที่ผมสังเกตคือคำว่า นาม name 名前(namae) ออกเสียงคล้ายกัน เคยแอบสงสัยว่ามันมีรากศัพท์มาจากคำเดียวกันรึเปล่า พอฟังคลิปนี้อ้อเลย
@jrpanoy6407
@jrpanoy6407 3 жыл бұрын
ผมคิดว่านั้นเป็นเพราะว่า อเมริกา เคยยึด ญี่ปุ่น หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
@Ahjaumoncynnaesuuard
@Ahjaumoncynnaesuuard 3 жыл бұрын
มาเอะ เปน คำต่อท้าย ส่วนคำข้างหน้าออกเสียงแค่ นะ'นา มาจากภาษาญี่ปุ่นช่วงยุคอาซึกะ
@AaBb-gc7zn
@AaBb-gc7zn 3 жыл бұрын
two=โท(ที่สอง)​ ultra=อุตระ-อุดร(เกิน, ยอด, โพ้น, เหนือ)​ middle=มัธยะ(ตรงกลาง)​ under=อันธระ(ใต้/ภายใต้) not=นัตถิ(ไม่) same=สม(เดียว, เหมือน) auto=อัตตะ(ตนเอง) mega=มหา big=พิศาล navi-naval=นาวี-นาวา country=ขัณฑํ royal=ราชา, ราชัน, ราจัล mind= มโน? hall=(วิ)​หาร-วิหาร path=(ประ)​พาส, บาท, บท way=วิ(ถิ์)​-วิถี? น่าจะมีอีกครับ...
@puttuppasit8986
@puttuppasit8986 3 жыл бұрын
อวตาล = อาวาต้า
@pitakt9219
@pitakt9219 3 жыл бұрын
อัตโนมัติ (อัตตะโน+มะติ ) ผมพยามเทียบ เสียงกับ Auto -matic น่าจะมาจากคำเดียวกัน (การสั่งการด้วยตัวเอง)
@tokyomonkii
@tokyomonkii 3 жыл бұрын
นาม name ด้วยครับ ส่วน มัธยะ นอกจาก middle ยังมี medium ด้วย ครับ อมตะ immortal
@Cooperid
@Cooperid 3 жыл бұрын
Slow = ชะลอ Kept = เก็บ ซี่นี่ มลายู= ที่นี่
@maneemane2898
@maneemane2898 3 жыл бұрын
nose = นาสิก ( จมูก ) hand = หัตน์ ( มือ ) mama = มาตา บาลี = มาม๊า จีน = ออม-มา เกาหลีใต้ = แม่จ๋า ไทย
@Filmclubchannel.
@Filmclubchannel. 3 жыл бұрын
ดีอ่ะ ชอบการเล่าเรื่องแบบนี้
@Sebastian_P.
@Sebastian_P. 3 жыл бұрын
ขอบคุณคนพูดพูดมากนะ สนุกมากเลย คอนเท้นนายแม่งเท่จริง แล้วความรู้นายก็มีพอที่จะเล่าด้วย
@sanguanj
@sanguanj 3 жыл бұрын
อืมมม อันนี้น่าจะเป็น the best ของพูดละ เลือกหยิบประเด็นได้เเข้าเป้า ทำการบ้านอย่างแข็งแรง
@user-ew2ek9fh8e
@user-ew2ek9fh8e 2 жыл бұрын
สงสัยมานานละครับทำไมบางคำมันคล้ายๆกัน คลิปนี้สุดยอดมากครับ
@user-kr6ch6qx2e
@user-kr6ch6qx2e 3 жыл бұрын
เจ๋ง ทำต่อไปนะครับ ช่องคุณภาพจริง
@mugi051
@mugi051 2 жыл бұрын
สงสัยมาตลอดเหมือนกัน ขอบคุณมากๆ ค่ะ
@dk___
@dk___ 3 жыл бұрын
Thanks a lot for your educative content. Shoutout from France !
@fjr1721
@fjr1721 3 жыл бұрын
พ่อขุนรามเคลมเรียบร้อย5555
@fujivvarayves4227
@fujivvarayves4227 3 жыл бұрын
ชอบเรื่องรากศัพท์อะไรแบบนี้มาก สนุกดี
@noppornpharakan1820
@noppornpharakan1820 3 жыл бұрын
เจ๋งมากครับ ช่องนี่เนื้อหาดีมาก
@yourbabynarin
@yourbabynarin 3 жыл бұрын
สาระดีมากและเสียงฟังเพลินมากค่ะ ไปเป็นครูได้เลยนะเนี่ย(คหสต.)😊
@KaiO_555
@KaiO_555 3 жыл бұрын
สันสกฤต กับ โรมัน มีความเชื่อมกันมากเลย เอก โด ตีน ฉาร์ - ฮินดี เอก ทวิ ตรี จตุ - สันสกฤต อูโน โดส เตรส กัวโตร - สแปนิช
@losiftar8376
@losiftar8376 Жыл бұрын
ผมสงสัยคำว่าเลขสี่ในภาษาสันสกฤตมันอ่านว่ายังไงกันแน่ระหว่างจตุรุหรือว่าจัตวาริ
@dumrongthongjog1260
@dumrongthongjog1260 Жыл бұрын
@@losiftar8376 จัตวาริ จตุรุของบาลีครับ
@user-pf4of5lj7u
@user-pf4of5lj7u 3 жыл бұрын
อาจจะเป็นภาษาที่มนุษย์ต่างดาวหรือบางคนเรียกว่าพระเจ้ามาสอนมนุษยชาติก็ได้ ใดๆคือข้อมูลdeepมากชอบมาก ขอบคุณครับ
@user-uq8th7sw8r
@user-uq8th7sw8r 2 жыл бұрын
ขอบคุณคลิปนี้มากๆ
@sujisuzyzoogee
@sujisuzyzoogee 3 жыл бұрын
เรื่องนี้ตอนรู้ครั้งแรกก็ตื่นเต้นมากเลย ในแต่ละอย่างจะมีอะไรยิบย่อยอยู่ในนั้น คลิปนี้สรุปมาได้ครบมากในเวลาแค่ 10 นาที ภาษาอะไรมีการปรับเปลี่ยนหมุนเวียนมีความคล้ายกันก็เพราะว่าเรามีขา คนเลยเอาภาษาต่าง ๆ ไปด้วย และผรับไปตามสภาพแวดล้อมและอากาศ เอาวัฒนธรรมไปด้วย ทำสงครามแย่งดินแดนกันไป หลายอย่างในโลกเชื่อมโยงกันทั้งนั้น ทำไมหลายคำไทยที่ยืมมาคล้ายกับภาษาอังกฤษ แต่ถ้าไม่สังเกตก็ไม่รู้ เพราะเรารับเอาคำบาลี สันสกฤต​มาพร้อมกับพุทธศาสนา​ และหลายคำยาก ๆ ที่ต้องแปลเป็นไทย ก็ไม่ใช่คำไทยแท้ ๆ อิทธิพลจากภาษาอื่นทั้งนั้น
@naphast1663
@naphast1663 3 жыл бұрын
Really > ริลี่ > ความจริง โดยมีภาษาอีสานเป็นรากศัพท์ใาจากคำว่า อีหลี ซึ่งแปลว่า ความจริง
@lineme2005
@lineme2005 3 жыл бұрын
เหมือนเอาฮา แต่มันอาจจะจริง
@user-lm6ym1zn7n
@user-lm6ym1zn7n 2 жыл бұрын
เชื่อว่าจริง ภาษามันมีพลวัตร มีการปรับเปลี่ยนไปตามคนถิ่นนั้นๆ
@god_rhythm
@god_rhythm 2 ай бұрын
อันนี้บังเอิญครับ อีสานเป็นไทยแท้ ไม่มีทางเชื่อมกับข้างนอกได้
@assoonas9304
@assoonas9304 3 жыл бұрын
ชอบๆความรู้แนวนี้ครับ
@MegaMenial
@MegaMenial 3 жыл бұрын
เพิ่งได้มาเจอช่องนี้ ชอบมากครับ สไตล์การพูดเหมือนช่องbanjoเลย ใช่คนเดียวกันไหมครับ ติดตามทั้ง2ช่องเลย
Женская драка в Кызылорде
00:53
AIRAN
Рет қаралды 470 М.
Задержи дыхание дольше всех!
00:42
Аришнев
Рет қаралды 3,3 МЛН
Sigma girl and soap bubbles by Secret Vlog
00:37
Secret Vlog
Рет қаралды 12 МЛН
เราใช้ไฟได้ตอนไหน?
6:49
พูด
Рет қаралды 342 М.
Женская драка в Кызылорде
00:53
AIRAN
Рет қаралды 470 М.