ทุเรียน101 - ตอนที่ 03 - แนวคิดเรื่องการให้น้ำแก่ต้นไม้ผล

  Рет қаралды 190,708

CAB KU Channel

CAB KU Channel

4 жыл бұрын

ชุดวีดีทัศน์ "ทุเรียน 101"
นักวิจัยตั้งใจจัดทำและเผยแพร่วีดีทัศน์ การจัดการสวนทุเรียนตามหลักเกษตรทันสมัย ที่คณะนักวิจัยของศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับเชิญให้ไปบรรยายในที่ต่างๆ ตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา
คณะวิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดวีดีทัศน์ "ทุเรียน 101" ทุกตอน จะช่วยยกระดับเทคโนโลยีการผลิตไม้ผลของเกษตรกรให้ทันสมัย สามารถรักษาปริมาณและคุณภาพผลไม้พรีเมียมได้อย่างยั่งยืน

Пікірлер: 119
@kunucontent9103
@kunucontent9103 3 жыл бұрын
ผมรู้สึกซาบซึ้งใจมาก..น้ำตาจะไหล ลึกซึ้งถึงแก่น ทางรอดของโลกด้วย ฝีมือชาวไทยทุกคน
@user-vu8jb8hs2f
@user-vu8jb8hs2f 4 жыл бұрын
ขอบคุณครับสำหรับความรู้ดีๆ
@user-lp5zt9gz4z
@user-lp5zt9gz4z 4 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะอาจารย์ ได้ความรู้แน่นมากมุกคลิปค่ะ ดีใจที่ได้เรียน
@abddef9579
@abddef9579 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากคนับอาจารย์
@ravitthongjaroen5906
@ravitthongjaroen5906 3 жыл бұрын
ขอบพระคุณ อจ.มากครับ ทีให้ความรู้ ในสิ่งไม่เคยรู้ ของเกษตรกร อ.นาทวี จ. สงขลา
@rabblemanable
@rabblemanable 3 жыл бұрын
ขอบคุณมาก ๆ ครับอาจารย์
@aapm7136
@aapm7136 4 жыл бұрын
ขอบคุณความรู้คับอาจาร
@thadachannel5387
@thadachannel5387 3 жыл бұрын
ขอบพระคุณสำหรับความรู้ครับอาจารย์
@user-vn6ru7sp3t
@user-vn6ru7sp3t 9 ай бұрын
ขอบคุณมากครับที่ให้ความรู้ เอาแนวคิดมาปรับใช้เพราะพื้นที่ไม่เหมือนกัน
@wanchaiphumee7504
@wanchaiphumee7504 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับอาจารย์
@pondnapahappytalk9445
@pondnapahappytalk9445 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะอาจารย์
@user-wy8zz6sz8m
@user-wy8zz6sz8m 2 жыл бұрын
ขอบคุณข้อมูลค่ะ
@nosza555
@nosza555 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ อ.
@chamix6982
@chamix6982 3 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@auypornphetchara2289
@auypornphetchara2289 Жыл бұрын
อยากให้มีการแบรนสตอร์มระหว่างสายวิชาการ กับสายปฎิบัติจังเลย ที่เป็นการแลกเปลี่ยนจริงๆไม่ใช่แค่การขิงกัน จะได้ตกผลึกเป็นโนฮาวของประเทศ หรือของโลก สายปลูกดูไปหลัก500คลิป ตอนนี้มึนหนักมาก เชื่อไหมเรื่องเดียวกัน นักวิชาการ อาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญ คนขายปุ๋ย/ยา ดร. กูรู หนังสือ เกษตรตำบล อำเภอ จังหวัด หมอดิน วิถีดั้งเดิม พื้นบ้าน วิถีเขาเล่าว่า พูดแตกต่างกันโดยรายละเอียดทั้งหมดเลยครับ ตอนนี้ได้แต่ลองผิดลองถูก ปรับมั่วไปหมด กว่าจะตกผลึกแต่ละเรื่อง ไม่รู้กี่ปีถึงจะเก่งกะเขาบ้าง แล้วก็หลายๆเรื่องที่อาจารย์สงสัย อย่างการตัดใบกี่เปอร์เซนต์ ถ้าตามที่ศึกษามีคนทำแล้วมีการเก็บข้อมูลถึงอยากให้มีการแบรดสตอมไงครับ แล้วเรื่องที่อาจารย์ อาจจะหนักสำหรับเกษตรทั่วไปแต่สำหรับจริงจัง บอกได้เลยว่าเข้าใจครับ อย่างผมระบบปิด มาอยากถามค่าแสงที่ทุเรียนสตาร์ททำงานอยู่เลยครับ อยากลองหลายอย่างครับเรื่องแสงที่ไม่ใช่ ชอร์ตเดย์พีเรียดตัวนี้
@chogun8720
@chogun8720 Жыл бұрын
ถ้ารัฐบาลให้ความสำคัญเรื่องเกษตรให้งบวิจัยมากกว่านี้คงไปไกลแล้วยาปุ๋ยก็ทำขายในประเทศเอาแต่นำเข้าอย่าเดียวแต่บางธาตุมันก็ต้องนำเข้ามั้งแต่ไม่ไช่น้ำเข้าทุกอย่างเอื่อยแต่นายทุน
@thanabunthawee2676
@thanabunthawee2676 3 жыл бұрын
ฟังอาจารย์ลืมกินข้าวเลยครับ
@teddywatchara9372
@teddywatchara9372 3 жыл бұрын
เครื่องวัดค่าดินที่อาจารย์พูดถึง เป็นของยี่ห้ออะไร ราคาประมาณเท่าไหร่ครับ
@blackblock755
@blackblock755 Жыл бұрын
อยากทราบรายละเอียดช่วงต้นคลิป ประเด็นการรดน้ำด้านใดด้านหนึ่งของต้นไม้ครับ
@narinkongbamnu5909
@narinkongbamnu5909 Жыл бұрын
Tensiometer ซื้อได้ที่ไหน ยี่ห้ออะไรครับ ช่วยแนะนำด้วยครับ
@user-ss7ft8cf6t
@user-ss7ft8cf6t Жыл бұрын
มีสวนทุเรียนที่ไหนบ้าง ที่ทำตามแล้ว ้ประสบผลสำเร็จค่ะ
@worawutdk1318
@worawutdk1318 4 жыл бұрын
อาจารย์ไปอบรมให้ที่ไหนครับงานนี้
@suradejsongprachs4258
@suradejsongprachs4258 2 жыл бұрын
อยากติดต่อขอซื้อเคนื่องมือเก็บสภาพอากาศ เพื่อมาวิเคราะ แบบอาจาร์ยไม่ทราบพอมีขายไหมครับ
@user-uh5hx6us3s
@user-uh5hx6us3s 2 жыл бұрын
ชอบคำว่า โบราณ จังเลย ครับอาจารย์...มันไม่พัฒนาจริงๆๆๆ
@khaoniao9606
@khaoniao9606 4 жыл бұрын
นั้าให้ตอนเช้ารากจะได้ไม่เน่าเหลึอซึ้น ใส่แต่เช้าต้นไม้จะได้ความชึ้นบ่ายมันก็แห้ง
@user-nj3vw8iy6t
@user-nj3vw8iy6t 4 жыл бұрын
เราจะรู้ใด้อย่างไรว่าต้นไม้ต้องการน้ำรดน้ำชว่งเย็นใด้ไหมตอนกลางคืน​ต้นไม้คายน้ำมั๊ยครับตั้งแต่กี่​โมง​ครับ
@chanasaknaja
@chanasaknaja 4 жыл бұрын
ขอบคุณ สำหรับความรู้ครับ
@user-kn7wx7kl3t
@user-kn7wx7kl3t 3 жыл бұрын
@user-kn7wx7kl3t
@user-kn7wx7kl3t 3 жыл бұрын
@user-kn7wx7kl3t
@user-kn7wx7kl3t 3 жыл бұрын
ขข
@user-kn7wx7kl3t
@user-kn7wx7kl3t 3 жыл бұрын
@somsakchimrak9143
@somsakchimrak9143 Жыл бұрын
เป็นไปได้ว่าถ้าเราให้น้ำทุเรียนเยอะ จะให้ให้ความชื้นสัมพัทธ์ในสวนเหมาะสม พอที่ทำให้ต้นไม้เพิ่มระยะเวลาการทำงานของในแต่ละวัน จาก2ชมอาจจะเป็น5-6ชั่วโมงก็ได้นะ
@tossapornsangsuan2478
@tossapornsangsuan2478 2 жыл бұрын
สมกับเป็นอาจารย์ ได้ความรู้มาก เลยขอบคุณมากครับ วิทย์ศาสตร์ ไม่ใช่ความรู้สึก มันมีเหตุมีผลจริงๆ
@CABKUChannel
@CABKUChannel 2 жыл бұрын
ขอบคุณที่ติดตามรับชมครับ
@geetungtakata7659
@geetungtakata7659 Жыл бұрын
ขอบคุณครับอาจารย์ชื่ออะไรครับ
@bmicapad
@bmicapad 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากสำหรับความรู้ ถามทีมงานครับว่าต้นฝรั่งที่ไม่มีรากแก้วรากจะลงไปจากผิวดินประมาณ กี่เซนติเมตรครับ
@CABKUChannel
@CABKUChannel Жыл бұрын
ขออภัยที่ตอบกลับช้ามาก เราไม่เคยทำงานวิจัยในฝรั่ง จึงตอบไม่ได้ครับ อยากรู้ เอาจอบขุดดู 1 ต้น รู้เรื่องเลยครับ 😆 ขุดแล้ว มาบอกผมและเพื่อนๆ กันบ้างน้าาาา ดร. พรชัย ไพบูลย์ อาจารย์ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
@user-jq8nk7wu9y
@user-jq8nk7wu9y Жыл бұрын
ชาวสวนที่ไม่มีความรู้อย่างเราคงปลูกพืชยากเข้าทุกวันโดยเฉพาะคนที่ปลูกทุเรียนยิ่งฟังยิ่งยากหลายความรู้เหลือเกินสับสนหมดแล้วสำหรับผมนะครับ
@sirot6596
@sirot6596 Жыл бұрын
ดินแข็งดินแน่น น้ำระบายยาก ดินเก็บน้ำไม่ค่อยอยู่.. แนะนำใช้แอปซ่า80 ได้ผลแน่นอน
@HeavenDog
@HeavenDog 2 жыл бұрын
เสียดายมากๆๆเรื่องตัดแต่งกิ่ง อ.กำลังจะพูดแต่ คนในห้องฟังไม่ไหว อาจารยเลยอดพูดเลย
@Codedev145
@Codedev145 2 жыл бұрын
ใช่ครับ
@khaoniao9606
@khaoniao9606 4 жыл бұрын
ต้รไม้ตอ้งการใบปลุงอาหารตอนเช้า
@bmbm6351
@bmbm6351 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับอาจารย์(ผมความรู้น้อย)ต้องพยายามเปิดฟังทุกๆวันพอเข้าใจครับดีมาก/ผมคิดว่าถ้าเราเข้าใจชีวิตต้นไม้-เหมือนเข้าใจโลกนี้มาก/ขอให้.อ.จารยแข็งแรงอายุยืนสุขภาพดี120ปีอยู่ให้นานๆ)แดงตะกั่วป่าพังงา
@bmbm6351
@bmbm6351 2 жыл бұрын
ดีมากครับ(ต้องพยายามฟังครับเป็นความรู้ที่ดีมากเอาไปใช้ได้ตลอดชีวิตนะครับ-ผมต้องพยายามฟังๆซ้ำๆเป็น100ครั้งฟังจนมันเข้าไปอยู่ในสมองแล้วเมมเมอรี่เก็บไว้ในสมองตลอดชีวิต(ขอให้อาจารย์สุขภาพดีอายุยืน130ปี)แดงตะกั่วป่าพังงาครับ
@CABKUChannel
@CABKUChannel Жыл бұрын
ขออภัยที่ตอบกลับช้ามาก เยี่ยมเลยครับ หากมีโอกาสไปพังงา อาจขอไปเยี่ยมเยียนดูสวนบ้างนะครับ ความรู้น้อย เติมเต็มกันได้ ดีกว่าความรู้มาก แต่ไม่เปิดใจ เป็นน้ำเต็มแก้วครับ เป็นกำลังใจให้ครับ ดร. พรชัย ไพบูลย์ อาจารย์ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร
@ohmwijittsompon9380
@ohmwijittsompon9380 4 жыл бұрын
ขอบคุณอาจารย.ครับ
@user-er8jj5zf7p
@user-er8jj5zf7p 2 жыл бұрын
ลลล
@user-er8jj5zf7p
@user-er8jj5zf7p 2 жыл бұрын
งฝบดฝฝ รวงา
@theepakornk.2563
@theepakornk.2563 2 жыл бұрын
ตอบเรื่องการให้น้ำไม่ทั่วดินรอบต้นไม่ตรงคำถาม และเยิ่นเย้อเกินไปนะครับ การบรรยายให้ความรู้ในระดับชาวบ้านต้องตอบกระชับสั้นๆ จับใจความได้ง่ายๆครับ
@kohseka
@kohseka Жыл бұрын
น่าจะเพราะการเข้าใจแจ่มแจ้งครับ เก่งก็ว่ายาวไป ไม่เก่งคือชอบแบบนี้ครับ
@user-jc7kd3qo9b
@user-jc7kd3qo9b Жыл бұрын
หาก​เป็น​ทุเรียน น้ำก้ต้องปรับตามระดับของดอก/ผล **ถ้าน้ำน้อยจัดด้คือซันเบิร์น​/ใบไหม้
@samsmme9700
@samsmme9700 2 жыл бұрын
ถ้าต้นไม้ทั้แปลงจะปักเทนซิโอมิเตอร์ได้อย่างครับ
@user-wq9gn1it9y
@user-wq9gn1it9y Жыл бұрын
เวรกรรม ของง่ายทำใผ้ยาก
@wiwattawornwatcharakul1367
@wiwattawornwatcharakul1367 4 жыл бұрын
ผมชมและติดตาม อาจารย์มาตลอดนำความรู้ที่ได้มาคิดวิเคราะห์และลงมือทำได้ดีมากๆครับ ขอถามอาจารย์ครัยsoil tension meter ซื้อที่ไหนได้ครับ
@wiwattawornwatcharakul1367
@wiwattawornwatcharakul1367 4 жыл бұрын
ขอบคุณครับสำหรับคำตอบทีาดีและมีประโยชน์มากๆครับ พอดีผมมีสั่งมาจาก usa แต่เป็นของยี่ห้อ irrometer ขนาด 30/60cm พร้อมตัวดูดฟองอากาศ รวมค่าส่งและภาษีนำเข้าประมาณ 11500 บาท www.irrometer.com/ www.irrometer.com/pdf/IRROMETERs/105-Model-SR.pdf
@winsomsak2206
@winsomsak2206 3 жыл бұрын
สัมนานี้หมาะสมสำหรับเกษตกรรุ่นใหม่ อายุน้อยที่จะขับเคลื่อนระบบ
@CABKUChannel
@CABKUChannel Жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความเห็นดีๆ ครับ การบรรยายนี้ บรรยายให้กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนใน อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา ซึ่งมีทั้งเกษตรกรผู้นำชุมชน เกษตรกรรุ่นใหม่ และรุ่นเก๋า รวมถึงนักวิจัย นักวิชาการ และภาคเอกชนในพื้นที่ หลังบรรยาย มีเกษตรกรหลายคนสนใจ และลงทุนติดตั้ง tensiometer ในสวนทุเรียน เพื่อเป็นแนวทางการให้น้ำ โดยได้ขอคำแนะนำการเลือกซื้อ tensiometer ที่ใช้งานได้จริงตามหลักวิชาการ วิธีการติดตั้ง และวิธีการใช้งานจากอาจารย์ของศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อเกษตรกรได้ติดตั้งอย่างถูกวิธีแล้ว เกษตรกรได้สังเกตและเรียนรู้ด้วยตนเองเพิ่มเติม จนได้วิธีการให้น้ำแก่ต้นทุเรียนอย่างแม่นยำ มีความจำเพาะต่อระบบน้ำ และสภาพสวนทุเรียนของตนเอง ช่วยประหยัดน้ำลงได้มาก ดินในเขตรากไม่แฉะเกิน (มองด้วยตาไม่สามารถบอกได้) เมื่อทำควบคู่กับการให้ปุ๋ยที่ถูกสูตร ทำให้ต้นทุเรียนสมบูรณ์ขึ้นอย่างชัดเจน ให้ผลผลิตทุเรียนที่มีคุณภาพ ขายได้ราคาดี และสวนเป็นต้นแบบในพื้นที่ให้เกษตรกรรายอื่น สร้างรายได้และชื่อเสียง ทำให้เกษตรกรพึงพอใจมาก ดร. พรชัย ไพบูลย์ อาจารย์ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ร่วมทำงานวิจัย
@mnkprm4342
@mnkprm4342 3 жыл бұрын
หลักการเดียวกับจุดตะเกียงใส้น้ำมัน
@exex6285
@exex6285 Жыл бұрын
เป็นเกียรติอย่างยิ่งครับใด้ฟังอาจารย์
@bodisonroosappkit8601
@bodisonroosappkit8601 3 жыл бұрын
แล้ว tensiometer จะสั่งยังงัยครับ
@narinkongbamnu5909
@narinkongbamnu5909 Жыл бұрын
063-4219456
@tienchaitungsalakul4384
@tienchaitungsalakul4384 3 жыл бұрын
ผม​ฟัง​ รอบ​ทีี่​ 20
@tienchaitungsalakul4384
@tienchaitungsalakul4384 3 жыл бұрын
ผม​ จะ​ซึมซับความรู้จาอาจารย์
@by-yy3mv
@by-yy3mv 4 жыл бұрын
อาจารย์ครับ ถ้าอย่างนั้นเราฉีดกรดอะมิโน ไห้ทุเรียนทางใบก็แสดงว่าเข้าไม่ด้ายช่ายมั้ยครับ แต่ถ้าเราเอากรดอะมิโนผสมน้ำรดทางดินต้นทูเรียนจะดูดซึมด้ายป่าวครับ สรุปว่าเราไช้ไม้ไช้ก็ค่าเทากันช่ายป่าวครับ ถามหน่อยครับจะด้ายไม้ต้องเสียเงินฟรีไฟ ขอความรู้ครับอาจารย์ ขอบคุณครับ
@suntareeyingjajaval6739
@suntareeyingjajaval6739 4 жыл бұрын
กรดอะมิโนมีขนาดโมเลกุลใหญ่มาก จะผ่านช่องไขมันของผิวใบได้ยาก จึงน่าจะไม่ได้ผลเมื่อฉีดใส่ทางใบ ส่วนการให้ทางดิน จุลินทรีย์จะได้ใช้ก่อนเลยคะ ก็ช่วยให้กิจกรรมชีวิตในดินดีขึ้น แต่คิดว่าเพิ่มค่าใช่จ่ายมากเกินเหตุ พืชสังเคราะห์กรดอะมิโนได้เองคะ แต่ต้องมีวัตถุดิบคือโมเลกุลน้ำตาลจากการสังเคราะห์แสงร่วมกับไอออนของธาตุอาหารพืชที่ได้จากดินและปุ๋ยที่ให้
@user-bp7ju9cn7l
@user-bp7ju9cn7l Жыл бұрын
@@suntareeyingjajaval6739 q
@user-el6ip7bc9g
@user-el6ip7bc9g 3 жыл бұрын
อาจารคับผมจะให้น้ำหยดตลอดจนเก็บผลผลิตได้มั๊ยคับ(,หยุดให้ช่วงฝนตก)
@suntareeyingjajaval6739
@suntareeyingjajaval6739 3 жыл бұрын
เมื่อไม่มีอุปกรณ์วัด ก็บอกไม่ได้ว่าดินแฉะเกินไปไหม ช่วงฤดูฝน ดินจะเปียกมากลงไปถึงลึก น่าจะไม่จำเป็นต้องให้น้ำตลอดเวลา หรือถ้าให้ก็ให้จุดเดียวเป็นเวลาสั้นๆก็พอ ผลทุเรียนต้องการใช้น้ำในการขยายขนาด จึงต้องการน้ำในช่วงที่ผลขยายขนาดอย่างมาก ถ้าเป็นช่วงลูกเล็กยังไม่ได้ต้องการน้ำมากนัก ที่น่ากังวลคืออย่าให้รากสำลักน้ำขาดอากาศ
@somjitkaewkomon6521
@somjitkaewkomon6521 3 жыл бұрын
ตกลงน้ำหยดกับสปริงเกอร์ แบบใหนดีที่สุด ต่างคนต่างพูด คนที่จะนำไปทำก็เลือกไม่ถูก
@suntareeyingjajaval6739
@suntareeyingjajaval6739 3 жыл бұрын
ระบบสปริงเกอร์ฉีดน้ำเหนือดิน ทำให้สูญเสียน้ำไปกับการระเหย โดยทั่วไปถือว่าระบบสปริงเกอร์มีประสิทธิภาพให้น้ำลงดินได้ประมาณ 50% การเลือกใช้สปริงเกอร์เหมาะกับความต้องการที่จะกระจายน้ำได้วงกว้าง ซึ่งใช้กับพืชที่มีจำนวนต้นมากต่อพื้นที่ เช่นสนามหญ้า แต่การปลูกไม้ผลที่มีจำนวนต้นอยู่ห่างกัน การให้น้ำจึงน่าจะใช้วิธีที่ให้น้ำลงดินได้มากที่สุด การให้น้ำแบบน้ำหยดหรือปล่อยลงดินโดยตรงจึงเหมาะกว่า
@user-sh8il2ne9u
@user-sh8il2ne9u Ай бұрын
หนังช่อง8
@visee2756
@visee2756 2 жыл бұрын
คาเนโล่ vivo
@tienchaitungsalakul4384
@tienchaitungsalakul4384 3 жыл бұрын
ผมสั่ง​ ไปแล้ว​ คัฟ
@bodisonroosappkit8601
@bodisonroosappkit8601 3 жыл бұрын
สั่งจากที่ไหนอะครับ
@user-hw9ni3fz3e
@user-hw9ni3fz3e 2 жыл бұрын
เอานักวิชาการมาอธิบายเรื่องต้นไม้ไร้ประโยชน์ไม่มีประสบการณ์
@sasipreyas1440
@sasipreyas1440 Жыл бұрын
หมอที่ไม่เคยเป็นมะเร็ง แล้วเอามารักษามะเร็ง หาอะไร
@user-zl7lt9yd7o
@user-zl7lt9yd7o 3 жыл бұрын
ใช้ TENSIOMETER ยี่ห้ออะไรครับ
@suntareeyingjajaval6739
@suntareeyingjajaval6739 3 жыл бұрын
ตอบแล้วคะ ดูด้านล่าง คุณ Wiwat
@user-uh5hx6us3s
@user-uh5hx6us3s 2 жыл бұрын
ไมโครซอฟท์ จบแค่ ม.6 เฟสบุ๊ค จบแค่ ม.6 เทียมโชควัฒนา จบ อะไร ฯลฯ แต่ คนจบ วศิวะกร เป็น ลูกจ้าง คน จบ มหาวิทยาลัย เป็น ลูกจ้าง คนทำเกษตรกรรม..จบ ป.4 นะครับ อาจารย์...555
@supareukchanchana3697
@supareukchanchana3697 4 жыл бұрын
จันทบุรี ตราด วันนี้แล้งมาก น้ำจะหมดสระแล้วครับ
@Yamkaset
@Yamkaset 4 жыл бұрын
เป็นเรื่องวิกฤติจริงๆครับ ต้องหาซื้อน้ำเลย เหมือนสวนผมสมัยเด็กๆ
@supareukchanchana3697
@supareukchanchana3697 4 жыл бұрын
ดีที่สวนผมติดป่า เลยดึงไฟสูบน้ำจากคลองเข้าสระเอา เดือนนี้ค่าไฟกระจายแน่ๆ
@Yamkaset
@Yamkaset 4 жыл бұрын
@@supareukchanchana3697 ผมเองโดยไป เดือนละ ห้าพัน สองเดือนติดครับ
@user-ed7lb2iw2e
@user-ed7lb2iw2e 3 жыл бұрын
ก็ชอบโค่นป่าปลูกแต่ทุเรียน.ก็สมควรให้น้ำแห้ง
@user-hz4xq7zt6g
@user-hz4xq7zt6g Жыл бұрын
😊😊😊😊😊
@greftianprasert943
@greftianprasert943 4 жыл бұрын
อยากทราบว่า “มังคุด” ระหว่างวันควรให้น้ำช่วงไหนครับ หรือสามารถให้ได้ทั้งวันครับ?
@greftianprasert943
@greftianprasert943 4 жыл бұрын
Pornchai Paiboon ขอบคุณมากครับ ผมติดตามและนำความรู้ที่อาจารย์แนะนำไปใช้ตลอดเลยครับ แต่สงสัยเรื่องช่วงเวลาการให้น้ำระหว่างวัน ตอนนี้หายสงสัยแล้วครับ ขออนุญาตถามอีกเรื่องนะครับ จะมีอบรบมังคุด จ. นครศรีธรรมราช อีกครั้งวันไหนครับ?
@tomcat8728
@tomcat8728 4 жыл бұрын
Pornchai Paiboon เสียดายมากอยากไปนั่งฟัง ผมเชื่อ อาจารย์ มากกว่าคนแก่ๆที่ไม่รับฟังอะไรเลย ความรู้ที่นักวิชาการ ตกผลึกมาให้ เขาลงทุนลงแรงไม่น้อย ตามฟังมาหลายคลิป ผมค่อยข้างเชื่อ จะนำไปทดลองคับ
@storytellerwuttichai7369
@storytellerwuttichai7369 3 жыл бұрын
@@CABKUChannel อ่าาา...อาจารย์ทำให้ผมเปิดมุมมองเรื่องการให้น้ำใหม่เลยครับ
@khaoniao9606
@khaoniao9606 4 жыл бұрын
เราตอ้งดูว่าต้อโตเท่าไรนอ้ยเท่าไรเราไม่ตอ้งใส่นั้ามาก
@khaoniao9606
@khaoniao9606 4 жыл бұрын
ต้อนไม้ใหม่มันหานั้าได้รากมันแข็งเรงเราไม่ตอ้งใส่นั้าม่กเกิดไปรากจะเน่า
@khaoniao9606
@khaoniao9606 4 жыл бұрын
ฟังแล้วหน้าเบึ่อ
@khaoniao9606
@khaoniao9606 4 жыл бұрын
ไก้ลต้นมันมากไปรากจะเน่า
@user-rm4dj8sp9c
@user-rm4dj8sp9c 3 жыл бұрын
พอมีช่องทางให้สอบถามได้บ้างไหมครับ
@suntareeyingjajaval6739
@suntareeyingjajaval6739 3 жыл бұрын
รบกวนส่งคำถามทางเมล์คะ suntaree.y@ku.ac.th
@user-ci8hb2ig3p
@user-ci8hb2ig3p 3 жыл бұрын
@@suntareeyingjajaval6739 อาจารย์มีแผนที่จะมาเปิดสอนอบรมแถวนครศรีธรรมราชเมื่อไหร่ครับ
@suntareeyingjajaval6739
@suntareeyingjajaval6739 3 жыл бұрын
โครงการสิ้นสุดไปแล้วคะ น่าจะไม่มีแผนไปอบรมอีก คงต้องอาศัยดูจากยูทูปแทนคะ
@Dr.JohnYoon
@Dr.JohnYoon 4 жыл бұрын
เกษตรกรชาวสวนทุเรียนทุกท่าน ท่านเชื่อนักวิชาการ หรือชาวสวนทุเรียนที่มีประสบการณ์ 20-30 ปี
@ravitthongjaroen5906
@ravitthongjaroen5906 3 жыл бұрын
นักวิชาการก็ต้องฟัง ชาวสวนประการณ์ก็ต้องมี สวนทุเรียนผม ปลูกแบบบ้านๆรถสายยาง พอเพียงๆ ก็สวยและได้รับผลครับ
@user-up8ci2fp1b
@user-up8ci2fp1b 3 жыл бұрын
อยากให้อาจารย์ปลูทุเรียนจัง แล้วต้องทำเหมือนที่พูดด้วยถ้าไม่ทำ ตบหัวทิ่ม
@user-pm4lt4kc1s
@user-pm4lt4kc1s 3 жыл бұрын
มึงนิเหลิงนะ เอิดจังไร้การศึกษา
@user-up8ci2fp1b
@user-up8ci2fp1b 3 жыл бұрын
@@user-pm4lt4kc1s กรูจบป 6
@user-pm4lt4kc1s
@user-pm4lt4kc1s 3 жыл бұрын
ถึงว่าคิดได้เท่าส้นตีน
@krusamweldingstudio276
@krusamweldingstudio276 3 жыл бұрын
จะเปนจะตาย ก็ร้องหาหมอ...ถุย
@user-bu4om4jl4y
@user-bu4om4jl4y Жыл бұрын
เฮ้ยทำไมไม่ให้เกียรติอาจารย์เลย เขาระดับไหนมาให้ความรู้เอ็งไม่ชอบก็อย่ามาด้อยค่า
@csccsc1381
@csccsc1381 2 жыл бұрын
โห ท่านอาจารย์หลักการเยอะมากวิชาการเยอะจัด ท่านมีสวนใหมมีตัวอย่างใหม กรุณาอธิบายในสวนให้เห็นภาพ น่าเบื่อครับ ภาษาก็ฟังไม่เข้าใจ
@redmi10newnew32
@redmi10newnew32 2 жыл бұрын
หมอไม่ได้เป็นโรค เขายังรักษาได้เลย นักวิชาการก็ไม่ต่างกันครับ
@rocky8989
@rocky8989 Жыл бұрын
อธิบายเด็กยังเข้าใจเลย ต้องโง่แค่ไหนอาจารย์อธิบายให้ขนาดนั้นยังฟังไม่ออก พวกล้าหลังจมอยู่กับความคิดเดิมๆไปเถอะ
@SamSung-ly3ot
@SamSung-ly3ot Жыл бұрын
จารย์ปลูกทุเรียนกี่ไร่ครับ
@CABKUChannel
@CABKUChannel Жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับคำถาม ศ.ดร. สุนทรี ยิ่งชัชวาลย์ ไม่ได้เป็นเกษตรกร จึงไม่ได้ปลูกทุเรียน แต่มีความรู้เรื่องชลศาสตร์ และมีประสบการณ์ในการให้คำแนะนำการให้น้ำแก่พืช ให้เกษตรกรและภาคผลิตเอกชนหลายราย ในหลายพืช การบรรยายนี้ บรรยายให้กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนใน อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา แล้วมีเกษตรกรหลายคนสนใจ และลงทุนติดตั้ง tensiometer ในสวนทุเรียน เพื่อเป็นแนวทางการให้น้ำ โดยได้ขอคำแนะนำการเลือกซื้อ tensiometer ที่ใช้งานได้จริงตามหลักวิชาการ วิธีการติดตั้ง และวิธีการใช้งานจากอาจารย์ของศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อเกษตรกรได้ติดตั้งอย่างถูกวิธีแล้ว เกษตรกรได้สังเกตและเรียนรู้ด้วยตนเองเพิ่มเติม จนได้วิธีการให้น้ำแก่ต้นทุเรียนอย่างแม่นยำ มีความจำเพาะต่อระบบน้ำ และสภาพสวนทุเรียนของตนเอง ช่วยประหยัดน้ำลงได้มาก ดินในเขตรากไม่แฉะเกิน (มองด้วยตาไม่สามารถบอกได้) เมื่อทำควบคู่กับการให้ปุ๋ยที่ถูกสูตร ทำให้ต้นทุเรียนสมบูรณ์ขึ้นอย่างชัดเจน ให้ผลผลิตทุเรียนที่มีคุณภาพ ขายได้ราคาดี และสวนเป็นต้นแบบในพื้นที่ให้เกษตรกรรายอื่น สร้างรายได้และชื่อเสียง ทำให้เกษตรกรพึงพอใจมาก ดร. พรชัย ไพบูลย์ อาจารย์ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ร่วมทำงานวิจัย
@SamSung-ly3ot
@SamSung-ly3ot Жыл бұрын
@@CABKUChannel รอบรู้รู้จริงนับถือครับ
@GuyGuyGdssa
@GuyGuyGdssa Жыл бұрын
ทำไมถามที่ อ.สอน ไปแล้ว เหมือนไม่ค่อยฟัง เกษตรกร ก็นะ
@GuyGuyGdssa
@GuyGuyGdssa Жыл бұрын
เชื่อว่า เกษตรกรที่นั่งฟังไม่ค่อยเข้าใจ เพราะศัพท์วิชาการเยอะ เพราะดูจากคำถามแล้ว ไม่รู้เรื่องเลย
@WitthawatPK
@WitthawatPK 3 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@khaoniao9606
@khaoniao9606 4 жыл бұрын
การดูต้นไม้เราดูใบมีนกอ่นว่าไใบมันขยาดออกไปเท่าไรเราก็ใส่หัวนั้าไม่ห่างจากต้นมันเท่าไร
@user-el6ip7bc9g
@user-el6ip7bc9g 3 жыл бұрын
อาจารคับผมจะให้น้ำหยดตลอดจนเก็บผลผลิตได้มั๊ยคับ(,หยุดให้ช่วงฝนตก)
@chatjanephone6353
@chatjanephone6353 3 жыл бұрын
อาจารคับช่วงทุเรียนออกลูกอ่อนแล้วถ้าผมยังทำน้ำหยดต่อเนื่องจะทำให้ผลทุเรียนโตช้ามั๊ยครับขอคำแนะนำด้วยคับอาจาร
@suntareeyingjajaval6739
@suntareeyingjajaval6739 3 жыл бұрын
ให้น้ำหยดได้ แต่ต้องไม่ให้ดินเปียกทั้งพื้นที่ รากทุเรียนเหมือนต้องการอากาศมากด้วย เพื่อรากได้หายใจและสามารถดูดน้ำและปุ๋ยได้ ช่วงฝนน่าจะหยุดให้น้ำบ้าง อากาศจะได้ลงดิน เกษตรกรมักเข้าใจว่าช่วงออกลูกอ่อน ทุเรียนต้องการน้ำมาก ลองประมาณดูว่า ต้นเอาน้ำไปทำอะไร ส่วนใหญ่ใช้คายน้ำ ส่วนน้อยใช้ในการขยายขนาดของผล แต่ในช่วงลูกอ่อน การขยายขนาดผลยังน้อยอยู่ ต้นจึงไม่ต้องใช้น้ำมากอย่างที่คิดกัน ขอเน้นว่าอย่าให้น้ำจนรากสำลักน้ำคะ
Gym belt !! 😂😂  @kauermtt
00:10
Tibo InShape
Рет қаралды 14 МЛН
A teacher captured the cutest moment at the nursery #shorts
00:33
Fabiosa Stories
Рет қаралды 7 МЛН
I Can't Believe We Did This...
00:38
Stokes Twins
Рет қаралды 132 МЛН
เกษตรฟื้นชีวิต (Regenerative Agriculture)
1:00:24
โครงการอบรมเกษตรกร "ธาตุอาหารพืชในไม้ผล (ทุเรียน-มังคุด)" ตอนที่ 3
54:02
สมาคม การค้าปุ๋ยและธุรกิจการเกษตรไทย
Рет қаралды 54 М.
ВАЖНО! Не проверяйте на своем iPhone после установки на экран!
0:19
ГЛАЗУРЬ СТЕКЛО для iPhone и аксессуары OTU
Рет қаралды 6 МЛН
Как правильно выключать звук на телефоне?
0:17
Люди.Идеи, общественная организация
Рет қаралды 1,9 МЛН
Battery  low 🔋 🪫
0:10
dednahype
Рет қаралды 13 МЛН
Сколько реально стоит ПК Величайшего?
0:37