No video

ทฤษฎีสัมพัทธภาพ | 69podcast EP.12 Highlight

  Рет қаралды 134,726

69podcast clips

69podcast clips

4 жыл бұрын

คลิปเต็ม
• ความสำคัญของเวลา | 69p...
ติดตาม 69podcast ได้ที่
bit.ly/325E5fo
และคลิป Highlight ที่
bit.ly/2HtOtpo
หรือฟังที่ spotify
open.spotify.com/show/0NtVUvE...
หรือที่อื่นๆ keyword ค้นหา "69podcast"
facebook 69podcast
bit.ly/30BjQG1

Пікірлер: 250
@fallinginluv4789
@fallinginluv4789 4 жыл бұрын
กุมความมั่นใจไปเต็มที่ ผม :เธอรู้จักทฤษฏี​สัมพันธภาพ​ป่ะ เธอ : i'm calling the police!!!
@uuuuu1315
@uuuuu1315 4 жыл бұрын
ครู: ทำไมไม่ทำการบ้านมา นร.: ก็เวลาผมมันน้อยอะ ครู: เวลาของทุกคนเท่ากัน นร.: ครูรู้จัก ทฤษฎี สัมพันธภาพรึป่าว ครู: !!!!!
@bigboungstudio
@bigboungstudio 4 жыл бұрын
555555555555 มุกนี้ได้
@BOSS-uu9ni
@BOSS-uu9ni 4 жыл бұрын
แล้วก็เล่าให้ฟังจนครูลืมว่าเรียกมาทำไม
@matteo95
@matteo95 4 жыл бұрын
T i m e z o r o ครู: !!! หักคะเเนน
@Chacris45
@Chacris45 4 жыл бұрын
Naa Nanii!!!!!!
@wichakhamphakhieo3056
@wichakhamphakhieo3056 4 жыл бұрын
ครู:ครูไม่แน้ใจ แต่ครูเชื่อว่าเธอต้องรู้จักลบ 10 คะแนนแน้ๆ โชคดีเด็กน้อย
@excaliburprime1382
@excaliburprime1382 4 жыл бұрын
16:20 จรวดที่พี่บ่วงพูดถึงคือ alcubierre drive ครับ จุดประสงค์จริงๆของงานวิจัยนี้คือ พยายามจะบอกว่า ตามทฤษฏีสัมพัทธภาพ ก็ยังเป็นไปได้ที่จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากกว่าแสงครับ
@pongsih9380
@pongsih9380 4 жыл бұрын
จริงๆแล้วเราเคลื่อนที่ไวกว่าแสงไม่ได้ใช่ปะครับ เพราะ มันเป็นค่าคงที่ไม่ว่าอยู่ที่ไหนของจักรวาล ตามสมการ space time interval
@Littlepakk
@Littlepakk 4 жыл бұрын
เคลื่อนที่ให้เร็วกว่าแสงยังเป็นไปไม่ได้ครับ แค่เคลื่อนที่ให้เข้าใกล้ความเร็วแสงก็ไม่ได้แล้ว เพราะยิ่งเราทำวัตถุที่เป็นอนุภาคเคลื่อนที่เร็วขึ้นเข้าใกล้แสงมากๆจะยิ่งทำให้ทีมวลเพิ่มมากขึ้น ซึ่งยิ่งมีมวลมากพลังงานที่ต้องใช้ก็ต้องมากขึ้น ตาม1/2mv^2
@fromenttone2659
@fromenttone2659 4 жыл бұрын
ยังดีนะครับ มาแค่ 1/2mv^2
@fromenttone2659
@fromenttone2659 4 жыл бұрын
ถ้าคิดเล่นๆนะครับ ร่างกายคนเราคืออนุภาคมหาศาลที้ควบแน่นกัน แล้วถ้าเค ลื่อนที่เร็วเท่าแสง ร่างกายรับไม่ไหวครับ ความดัน ความเร็ว ร่างกายฉีกเป็นเสี่ยงๆแน่ๆและ พลังงานมหาศาลที่จะต้องใช้ในการเคลื่อนที่ และ ทุกอย่างเกิดจากการคำนวนไม่มีใครฟันธงได้ว่าถ้าเคลื่อนที่ใกล้ความเร็วแสงแล้ว จะเกิดอะไรขึ้นอีกบ้าง
@Littlepakk
@Littlepakk 4 жыл бұрын
Froment Tone 555 มันเขียนสมการทฤษฎีสัมพัทธภาพลงในคอมเมนท์ยูทูปไม่ได้ครับ จะลองเขียนละกัน สมการสัมพัทธภาพ m=m0/sqrt(1-(v^2/c^2)) จะเห็นได้ว่าถ้าvของเราเพิ่มมากขึ้นจนv^2ใกล้เคียงกับ c^2 ซึ่งนั่นจะหารกันแล้วได้เข้าใกล้1ทางลบ ถ้าลองเทค limit vเข้าใกล้c จะได้ว่าเท่ากับ อินฟินิตี้ครับ ดังนั้นตามสูตรพลังงานจล E= 1/2mv^2 ซึ่ง mมีค่าเป็นอนัน ดังนั้นเราต้องหาพลังงานที่เป็นอนันมาทำให้เราเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าแสงครับ
@you-who-are
@you-who-are 4 жыл бұрын
ก่อนนอนฟังเพลินมากค่ะ คอนเท้นต์น่าสนใจมาก
@user-pg1ud8fz6z
@user-pg1ud8fz6z 3 жыл бұрын
ขอเพิ่มหนังอีกสักเรื่องนะคะ ชอบหนังเนื่องนี้มาก Contact. นำแสดงโดย โจดี้ ฟอสเตอร์ กับแมทธิว แม็คคอนาเฮย์ หนังเรื่องนี้ แทบจะตอบคำถาม ทุกคำถามที่เราสงสัยเกี่ยวกับจักรวาล และตัวเรา เรามาอยู่ในโลกนี้เพราะอะไร มันเล่าเรื่องความแตกต่างระหว่างนักปรัชญา กับนักวิทยาศาสตร์ ทั้งสองมีวิธีค้นหาคำตอบค้นหาความจริงที่แตกต่างกัน แต่ทั้งคู่ก็เข้าใจกันเป็นเพื่อนกัน #ความศรัทธา #ความเชื่อ #ความรัก
@LadawanChuichai
@LadawanChuichai 4 жыл бұрын
ม่ายๆ เรื่องนี้ไม่ได้พิสูจย์ว่าเรามีเวลาไม่เท่ากันหรือไม่ เพราะเวลาที่ตัวเราก็ยังเดินไปเท่าเดิม ไม่ว่าว่าจะอยู่ใกล้หรือไกลจากแรงโน้มถ่วง เวลาของคุณก็ยังคงเดินไปเหมือนปกติ อายุไขที่ตัวคุณก็ยังเหมือนเดิม คุณจะไม่ได้รู้สึกถึงเวลาที่เปลี่ยนไป
@d2bchannel2023
@d2bchannel2023 4 жыл бұрын
Relativity Theory ทฤษฎีสัมพัทธภาพ (สำ-พัด-ทะ-พาบ)
@056422774
@056422774 3 жыл бұрын
8poo87
@moleculemcdhol2208
@moleculemcdhol2208 4 жыл бұрын
การพูดถึงทฤษฎีที่เป็นที่รู้จักกันดี ด้วยความเข้าใจครึ่งๆ กลางๆ ก็อาจจะเป็นอะไรที่ก่อให้เกิดความเชื่อที่ไม่ถูกต้องได้ อย่างเรื่อง "แรงโน้มถ่วง" สำหรับทฤษฎีสัมพัทธภาพ ถ้าเอาตาม wiki ก็คือ มวลและพลังงาน ทำให้ กาล-อวกาศโค้งงอ และส่งผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ สิ่งที่เรียกว่าความโน้มถ่วง มันก็คือเป็นการที่วัตถุขนาดใหญ่ ทำให้ กาล - อวกาศ ( space -time)โค้ง ทำให้วัตถุขนาดเล็กกว่า เดินทางไปในเส้นทางที่เหมือนวนรอบวัตถุขนาดใหญ่นั้น ในมุมของวัตถุขนาดเล็กก็คือการเดินทางเป็นเส้นตรงบนกาลอวกาศที่โค้งงอ นั่นเป็นเหตุผลที่ว่าทำไมมิติของเวลาจะผูกติดเข้ากับวัตถุ ในทฤษฏีนี้ แต่สำหรับการคำนวณความโน้มถ่วงเพื่อใช้งานทั่วไป ก็นิยมใช้ตามแบบคลาสสิคของ Newton อยู่ เพราะง่ายกว่า และมีความแม่นยำในระดับหนึ่ง ปัญหาก็คือมันทำให้เกิดภาพของคำว่า "แรงโน้มถ่วง" ขึ้นมา ขอให้มองว่า ทฤษฎีอันนี้เป็นเหมือนวิชาประวัติศาสตร์ก็แล้วกัน เราไม่ต้องเข้าใจถึงตัวทฤษฎีก็ได้ แต่ขอให้เข้าใจว่ามันพูดถึงเรื่องอะไรเพื่อเอาไว้คุยได้โดยไม่หลุดจากความหมายที่ผู้รู้เขาใช้กัน
@hud_cheww
@hud_cheww 4 жыл бұрын
ฟังเกือบทุกตอน เพลินมากครับ ทำต่อไปนะครับ
@nantawat_4114
@nantawat_4114 3 жыл бұрын
ทฤษฏีนี้อธิบายการแพลงได้ดีเยี่ยม
@gongganghaha9200
@gongganghaha9200 4 жыл бұрын
ใครอยากรู้รายละเอียดที่ลึกกว่านี้แนะนำให้อ่านหนัวสือเรื่อง "ไขพหุภพมิติคู่ขนาน THE HIDDEN REALITY" ของสำนักพิมพ์มติชนค่ะ อันนี้ไม่ได้โฒษณาแต่ส่วนตัวชอบอ่านอะไรแนวนี้มาก เล่มนี้เค้าจะเอาทฤษฎีการเกิดของจักรวาลมาชำแหละตั้งแรกนับ 1 ถึงปัจจุบัน รวมถึงอธิบายความเกี่ยวของเวลากับความโน้มถ่วงในทฤษฎีสัมพัทธภาพด้วย แล้วก็จะโยงไปถึงความเป็นไปได้ของมิติคู่ขนาดว่ามันสามารถเกิดขึ้นได้จากทฤษฎีนี้ เป็นหนังสือแปลที่อ่านค่อนข้างง่ายแต่ก็อาจมี งงๆ อยู่บ้างเพราะลึกกว่าที่เรียนมาสมัยมัธยมมหาลัย 555555+
@warakornpannum1042
@warakornpannum1042 4 жыл бұрын
เพราะทฤษฏี​สัมพันธภาพทำให้เราได้เจอกัน555
@user-xf5tg9zy9l
@user-xf5tg9zy9l 4 жыл бұрын
พี่บ่วงคืออธิบายให้มันง่าย เข้าถึงได้ดีมากเลยอะ🤣🤣
@jxme22
@jxme22 4 жыл бұрын
เคยดูครับๆหนุกมากๆ
@nontapat8037
@nontapat8037 3 жыл бұрын
น่าสนใจมากครับ
@impostor0217
@impostor0217 4 жыл бұрын
อันนี้สมมุตินะ ที่จากสมการนี้ คือ ถ้า1วินาทีเราเดินได้2ก้าว แต่ถ้ามีความเร่งเพิ่มขึ้นทำให้เราเดิน1วิได้4ก้าว แต่ถ้าเรามีความรู้สึกเดิมว่า ปกตินี้เราอะ1วิ 2ก้าวทั้งที่จริงๆแล้วเราเดินแค่0.5วิ พอเราเป็น ผู้สักเกตการ ทำให้มองเห็นเราที่ไม่มีความเร่งนั้นช้ากว่าที่มีความเร่ง แต่ที่ในหนังเอ้ย มันแค่เทียบว่า เพราะเดินช้ากว่าเลยแก่ก่อน แต่ถ้ามาอยุ่ที่เดียวกันเวลาจะเดินเท่ากัน แต่ถ้าคนละที่ เวลาจะต่างกันเพราะเราทำมากกวาที่อื่นจึงมองฟังนู้นช้ากว่า
@toshiojyy2778
@toshiojyy2778 4 жыл бұрын
interstellar สนุกจริงงง แนะนำมากๆสำหรับใครที่สนใจเรื่องทฤษฎีนี้ มิติที่5ต่างๆ
@iammbb1390
@iammbb1390 3 жыл бұрын
จริงค่ะ พูดถึงเรื่องเวลาก็นึกถึงเรื่องนี้พอดี ชอบมากก ดีใจสุดที่ตรงใจ ;-;
@alamabalola1648
@alamabalola1648 4 жыл бұрын
อยากให้มีช่วงที่เป็นวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับเรื่องๆนั้นอ่ะ ถ้าเรื่องไหนไม่มีเกี่ยวข้องก็ไม่มี เหมือนได้ความรู้ใหม่ๆเพิ่มไปด้วย
@rinmeow
@rinmeow 4 жыл бұрын
podcast นี้คือ podcast ที่ดูแล้วสนุึกที่สุดที่เคยดูเลยค่ะ
@poramate2357
@poramate2357 4 жыл бұрын
ใครยังไม่เข้าใจว่าทำไมแรงดึงดูดมาก เวลาถึงเคลื่อนที่ช้า ทำให้เราแก่ช้ากว่า แรงดึงดูดน้อยนะครับ คือต้องเริ่มคิดก่อนว่า “เวลา”มันไม่มีตัวตนจริงๆนะครับ เป็นแค่ค่าๆนึงที่เรา(มนุษย์) ตั้งขึ้นมา เวลาจะมีความเกี่ยวข้องกับ “แรงดึงดูด” และ “แสง” ให้คิดว่าทุกวินาทีของชีวิตเปรียบเสมือน แสงกำลังเดินทางไปสักที่หนึ่ง ซึ่งเมื่อมีแรงดึงดูดเข้ามา แรงดึงดูดจะดึงแสงไว้ จะทำให้แสงช้าลง แต่ในทฤษฎี แสงเดินทางด้วยความเร็วคงที่ ฉะนั้น เวลาเนี่ยแหละที่จะช้าลง สรุปก็คือ เวลาจะช้าลง(ช้ากว่าที่ๆมีแรงดึงดูดน้อยกว่า) เมื่อแสงเจอแรงดึงดูดมาก เวลาจะเดินนาน คิดสะว่า กว่าเวลาจะเดินได้หนึ่งก้าว ที่ๆแรงดึงดูดน้อย เดินไปได้หลายก้าวแล้ว เพราะเร็วกว่า เลยแก่กว่า
@rgynp4561
@rgynp4561 4 жыл бұрын
12:25 คือ ถ้าเราทำเวลาของเราให้ช้า คนอื่นปกติ เราออกมาอีกที=อนาคต แล้วนะ แต่กลับไม่ได้555555
@TERRY-lr9cq
@TERRY-lr9cq 4 жыл бұрын
ทฤษฎี คือหลักการที่ถูกคิดค้นขึ้นมา และสามารถพิสูจน์ได้ว่ามันจริง และคนส่วนใหญ่ยอมรับ แต่ยังสามารถหักล้างได้ด้วยทฤษฎีอื่น กฎ คือหลักการที่ถูกคิดขึ้นมาและเป็นที่ยอมรับว่าจริง และไม่สามารถหาหลักฐานมาหักล้างไม่ได้ จึงไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ส่วนสาเหตุที่สัมพันธภาพเป็นแค่ทฤษฎี เพราะในยุคที่ทฤษฎีนี้ถูกเสนอต่อโลก คนมองว่ามันฉลาดล้ำหน้า และซับซ้อนเกินไป จนไม่มีใครในโลกหาสิ่งอื่นมาหักล้างได้ เลยโดนยกเป็นทฤษฎี
@supattrapromrit7273
@supattrapromrit7273 4 жыл бұрын
ชอบอ่ะะะะะะะะ
@guidenongcaveman5230
@guidenongcaveman5230 3 жыл бұрын
ขึ้นมาวินาทีแรกก็สำพันธภาพเลย นี่ขนาดบอกว่าเป็นคนชอบดูชอบอ่านเรื่องพวกนี้นะ สำ พัด ทะ พาบ
@user-by6iu3qx7q
@user-by6iu3qx7q 4 жыл бұрын
สิ่งหนึ่งคือต่อให้เรามีเวลาเท่ากัน เวลาที่เหลือใช้มันก็ต่างกัน ตามแต่เหตุต่างๆ
@excaliburprime1382
@excaliburprime1382 4 жыл бұрын
part ต่อไปขอเป็น ทฤษฏี quantum นะครับ5555
@A_win-ei4hb
@A_win-ei4hb 4 жыл бұрын
excalibur prime เท่ขึ้นไปอีก เขินเลย~~~
@RyXereal
@RyXereal 4 жыл бұрын
@@A_win-ei4hb เท่แนวเนิร์ด
@asurawk2006
@asurawk2006 4 жыл бұрын
อดีต คือ ภาพที่ถูกฝากไว้กับแสง ถ้าต้องการเห็นภาพเมื่อล้านปีก่อน ก็ต้องอยู่ห่างจากโลกล้านปีแสง (เปรียบเทียบนะครับ) เพราะ แสงเพิ่งจะเดินทางไปถึงที่นั้นๆ(ภาพที่เห็นเกิดจากแสงกระทบกับวัตถุ) น่าจะเป็นสิ่งที่มากที่สุดแล้วถ้าต้องการต่อต้านการทำงานของเวลา
@user-pq6dp4fk1u
@user-pq6dp4fk1u 4 жыл бұрын
อยากให้พี่บ่วงลองดูช่อง ted-ed thai ตอนที่พูดถึงเรื่องมิติด้วยคับ
@achiraphawaerot3142
@achiraphawaerot3142 3 жыл бұрын
อ่านจากหนังสือเล่มไหนอะครับ
@farohsess
@farohsess 4 жыл бұрын
ทฤษฏีนี้ คือ การสังเกตของแต่ละคนน่ะครับ เป็นเรื่องความสัมพันธ์ในการสังเกต เช่น ถ้าคนสองคนวิ่งเข้าหากันมัน เราจะสังเกตเห็นว่าอีกฝ่ายวิ่งเร็วกว่าที่เขาวิ่งจริงๆ ซึ่งถ้ามันเร็วมากๆ มันจะเสมือนมีการแปรผันที่ไม่ใช่แค่การเทียบบรรณยัตไตรยางค์แล้ว ต่อมา ถ้าเราสังเกตอะไรสักอย่างแสดงว่า แสงมันต้องสะท้อนอะไรสักอย่างเข้าตาเรา แต่ประเด็นใหญ่ๆ คือ แรงโน้มถ่วงที่ไอแซค นิวตันคิด ถ้าเราแค่เคลื่อนย้ายตำแหน่ง แรงโน้มถ่วงก็เปลี่ยนซึ่งเราสามารถสังเกตได้ทันที แสดงว่า ถ้าเราอยู่ห่างจากจุดสังเกตวัตถุ สัก 30 ปีแสง ก็สามารถสังเกตุได้ทันที ??? เอ๊ะ แต่เราต้องให้แสงมาเข้าตาก่อนนะ ไอน์สไตน์เลยคิดว่า มันผิด และเปลี่ยนแรงโน้มถ่วงกลายเป็น curve space หรือผิวโค้งๆ ที่เป็นผิวโค้งแค่ไม่ใช่ 3 มิติ แกน xyz แต่มีแกนที่ 4 เป็นเวลา ทำให้เรียกว่า forth dimension ซึ่งผิวโค้งๆ มันก็เกิดจาก มวลของวัตถุ ถ้ามันมาก หลุมลึก ทำให้การไหลของเวลา ไหลเร็วกว่าอีกคนที่อยู่บนโลกที่มวลเบาๆ กว่า เนี่ยแหละครับ ที่ว่าทำไม เข้าไปในหลุมดำกลับมาอีกที ลูกแก่แล้ว
@adithepchangyod6659
@adithepchangyod6659 4 жыл бұрын
สัมพัทธภาพ = Relativity สัมพันธภาพ = Relationship
@oneanddb8513
@oneanddb8513 4 жыл бұрын
อันล่างคือความสัมพัน
@Neotopire
@Neotopire 3 жыл бұрын
Relatimage มีมั้ยครับ 555+
@Lifeman-oy2zi
@Lifeman-oy2zi 3 жыл бұрын
ผมตามมาจากหนัง interstellar ครับ ..
@pimririchiyo7662
@pimririchiyo7662 4 жыл бұрын
ชอบอะไรแบบนี้~
@siampanya
@siampanya 4 жыл бұрын
เมื่อเราทุกข์ เวลานานขึ้น เมื่อเราสุขเวลาเราสั้นลง
@modzomzommod8088
@modzomzommod8088 4 жыл бұрын
ตามที่ผมเข้าใจคือ ทุกสิ่งในจักรวาล ล้วน มีความสัมพันธ์ ด้วยกันทั้งหมด ประมาณว่า ถ้าไม่มีบิ๊กแบงก็ไม่มีการเกิดเวลา การเกิด Dimention ไม่ใช่การแบ่งกันเกิดขึ้น เวลา ไม่ได้เกิดขึ้นมาเอง แต่เกิดขึ้นเพราะ Bigbang และ เวลาจะเดินช้าลง เมื่อมีความโน้มถ่วงสูง ประมาณนี้ อันนี้คือที่เข้าใจนะ
@jimmygorder2759
@jimmygorder2759 4 жыл бұрын
แนะนำช่อง Isaac Arthur ครับเขาทำเรื่องเกี่ยวกับ ไซไฟ ได้สุดยอดมาก mind blow 🤯🤯
@nooknaruk9
@nooknaruk9 4 жыл бұрын
จัด Quantum หน่อยครับ
@sunday1899
@sunday1899 2 жыл бұрын
ขอทฎษฎี ย้อนเวลาในมิติควอนตั้ม ใน อเวอเจอร์หน่อยพี่
@YalaSadBoy
@YalaSadBoy 3 жыл бұрын
ชอบคนฉลาดจังเลย
@natchapol007x6
@natchapol007x6 4 жыл бұрын
ทำไมอาจารหลายๆรรถึงไม่สอนเเบบนี้วะ ดูน่าฟังมากเลยอะ555
@haheyyo5579
@haheyyo5579 4 жыл бұрын
เรียนจริงยากสัสๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆเลยครับ
@Jake-hx8ch
@Jake-hx8ch 4 жыл бұрын
อันนี้มันคือทฤษฏีครับ ของจริงต้องใช้ คณิตศาสตร์ พิสูจน์ในฟิสิกส์ทฤษฏี
@phuthannt8227
@phuthannt8227 4 жыл бұрын
13:08 พี่บ่วงชูนิ้วไรครับ
@zeros_zee
@zeros_zee 4 жыл бұрын
อารมณ์แบบคนนึงนั่งเล่นเกมอยู่บ้าน ส่วนอีกคนไปโรงเรียน คนที่เล่นเกมจะรู้สึกว่าเวลามันผ่านไปเร็วกว่าคนที่เรียนหนังสือ (มั่วๆนะ555)
@oneway2104
@oneway2104 4 жыл бұрын
เรืองจริง555
@kurakamihaiiroshi6620
@kurakamihaiiroshi6620 4 жыл бұрын
งั้นถ้าเราใช้ทฤษฏีสัมพันธภาพได้ เราก็จะสามารถสร้างเครื่องvmmo rpg แบบ8ชั่วโมงในชีวิตจริงเท่ากับหลายวันในเกมได้น่ะสิ
@user-uh8lw1bi1w
@user-uh8lw1bi1w 3 жыл бұрын
ยิ่งจรวดเร็ว เวลายิ่งเดินช้าก็จริง แต่อายุขัยของร่างกายเราไม่เปลี่ยนแปลง ถ้าเรานั่งจรวด 10 ปีโลกในจรวด เราแก่ลง 10 ปี แต่ด้วยที่เราเคลื่อนที่เร็วมากๆ ในกาลอวกาศ โลกเราที่แรงโน้มถ่วงส่งผลกับกาลอวกาศได้มากกว่าบนจรวดนั้น 10 ปีที่เรานั่งบนจรวด บนโลกอาจผ่านไปแล้ว 100 ปี แต่อายุร่างกายเราก็แก่ลงแค่ 10 ปีอยู่ดี แต่เรื่องย่นเวลา มันก็ไม่ต่างอะไรกับรถครับ ขับเร็วถึงก่อนเสมอ วิ่งเร็วกว่าก็ถึงจุดหมายก่อน ยิ่งใกล้แกนโลก น้ำหนักยิ่งเบาครับ แรงโน้มถ่วงที่กระทำต่อเรายิ่งเบาลง ไม่ใช่มากขึ้น การโคจรรอบหลุมดำ ไม่ได้ทำให้แรงโน้มถ่วงเยอะ มันขึ้นอยู่กับมวลของดาวนั้นๆเป็นหลัก แต่ที่เวลาเดินช้าเพราะอยู่ใกล้หลุมดำ เพราะเวลาไม่ตายตัว บิดไปพร้อมกับความโน้มถ่วงที่บิดเบือนพื้นที่ ถึงมีคำพูดว่า “กาลอวกาศ” คือพื้นที่สัมพันธ์กับเวลา ยิ่งวัตุถุมีมวลมาก ยิ่งบิดเบือนพื้นที่มาก เวลาก็บิดเบือนตามๆกัน คนอยู่สูงกว่า ย่อมได้รับแรงโน้มถ่วงน้อยกว่า เช่นเดียวกับคนที่อยู่ต่ำลงไป ก็ได้รับแรงโน้มถ่วงเบาลงเรื่อยๆ เพราะถ้าเราลงลึกไปเข้าหาแกนโลก มันเหมือนเรายืนอยู่บนดาวที่เล็กลง ๆ เรื่อย อันนี้มีการพิสูจน์ด้วยการชั่งน้ำหนักตุ๊กตาตัวเดิมจากทุกที่บนโลก ยิ่งเข้าใกล้แกนโลกน้ำหนักยิ่งลดลง
@-himesawako-2233
@-himesawako-2233 4 жыл бұрын
การจะรตบรู้มิติที่สี่ได้ต้องมีสมองที่ฉลาดขนาดว่าสามารถประมวลได้ทั้งเอกภพต้องมีข้อมูลของทั้งเอกภพแล้วประมวลที่ทุกอย่างให้เป็นทฤษฤีจำลองภาพว่าจะเครื่องไหวในอนาคตยังไงต่อ หรือจริงๆแล้วสมองเราทำได้แล้วแต่มีข้อมูลไม่พอยกตัวอย่างการฝันบ้างครั้งเป็นเหตุการณ์จริงแสดงว่าเรามีข้อมูลพอให้ประมวลได้นิดหน่อยเหมือนภาพเคลื่อนไหวไม่ใช่เห็นอนาคตเห็นอนาคตแบบตามความหมายจริงคือได้ยินได้กลิ่นสีเสียงของอนาคตแถมยังเห็นตัวในมุมต่างๆได้บ้างครั้งแล้วถ้าคุณเป็นคนที่เข้าเห็นมิติที่สีแล้ว จะทำให้คุณเห็นอดีตอนาคตแล้วทุกสิ่งที่เคยเกิดพร้อมกับเข้าใจว่าเกิดขั้นได้ยังไงซึ่งต้องจำเป็นต้องคำนวนเส้นเวลาทุกเส้นที่อยูในแรงดึงดูดของดาวเคราะหลุมดำการหมุนการเดินการออกแรงถึงจะเรียกได้ว่าเห็นมิติที่สีจริงๆ คือใครเข้าไปเห็นแล้วแทบจะพระเจ้าเลยล่ะเพราะจะเข้าใจทุกอย่างได้อาจจะมีวิธีย้อนเวลา บิน และควบคุมแรงโน้มถ่วงได้
@Snook_Sunit
@Snook_Sunit 4 жыл бұрын
คุณไม่ทำการบ้านก่อนมาทำคริป มันเข้าใจนะ แต่ฟังไม่ลื่น ดีค่ะ แต่จะดีมากกว่าท่าฟังลื่นๆ
@tanoi4698778
@tanoi4698778 4 жыл бұрын
มันคือ time dilation ครับ
@drizzlezcz3837
@drizzlezcz3837 4 жыл бұрын
หย่นระยะเวลาทำให้เคลื่อนที่ได้ไวด้วยแรงดึงดูด สิ่งที่ใกล้เคียงสุดในบัจจุบันก็ hyperloopไง
@fruitbasket1294
@fruitbasket1294 3 жыл бұрын
นอกจากจะไล่ๆดูคลิปพวกพี่แล้วน้องก็ต้องไล่ดูหนังของคุณโนแลนด้วย ทั้ง Inception Interstellar Tenet
@ThePossawee
@ThePossawee 4 жыл бұрын
มันคือ สัม-พัด-ทะ-พาบ ครับแปลว่า มีการอ้างอิงของบางสิ่ง ในที่นี้หมายถึง อ้างอิงตำแหน่ง ไม่ใช่ สัม-พัน ครับ
@parichatkavil2683
@parichatkavil2683 4 жыл бұрын
Frixion Frist ใช่ค่ะ อ่านว่า สัม พัด ทะ พาบ สัมพัทธ์แปลว่า ช่วงเวลาช่วงๆหนึ่ง
@tidarutdoo-saard5350
@tidarutdoo-saard5350 4 жыл бұрын
พี่บ่วงธิบายเข้าใจภายในเวลาไม่กี่นาที ต่างจากหนูที่ศึกษาอันนี้เพื่อทำโครงงานเป็นปีค่ะ55
@theclip424
@theclip424 2 жыл бұрын
ในหนังเวลาที่เร็วขึ้นเพราะ ความเร็วที่ดาวโคจรรอบ หลุมดำ ที่เร็วมากเข้าใกล้แสงครับ ไม่ใช่แรงโน้มถ่วง
@TSUKI_MM
@TSUKI_MM 4 жыл бұрын
ความรู้ที่เข้าแบบ300%
@mynameislukari4100
@mynameislukari4100 4 жыл бұрын
สักพักสอนเกี่ยวกับการตัดต่อเลยไหมพี่
@warngpeejow
@warngpeejow 4 жыл бұрын
คำว่าเวลา ไม่ใช่=นาฬิกา เทียบง่ายๆเช่น ตอนนี้เรามีความสุข1วัน เหมือนกับ ไม่ถึง24.ชม. ตอนทุกข์ก็รู้สึกว่ามากกว่า24ชม.ครับผม
@zueszues9715
@zueszues9715 4 жыл бұрын
นั่นแค่การเปรียบเทียบ แต่ ทฤษฎี สัมพัธภาพ หมายถึง เวลาช้าลง จริงๆ เลย คนนึง แก่ คนนึง ยังผ่านไป 2 วินาทีเช่น ถ้าอยู่ใกล้ หลุมดำ ก่อน ถึงก้นหลุม เวลา คุณจะผ่านไปไม่ถึงวัน แต่ ครอบครัวคุณ หลานของหลานของหลานคุณพึ่งตาย ไป ภายนอกเวลาผ่านไป เป็น พันปี เลย
@SasukeDG
@SasukeDG 4 жыл бұрын
ออกนอกโลกจริงๆคลิปนี้
@thespetre663
@thespetre663 4 жыл бұрын
หนังนี่ interstella ป่ะครับ
@tintithawinthawee-ngoen9839
@tintithawinthawee-ngoen9839 3 жыл бұрын
เวลา สามารถยืดหดได้ บิดงอได้ แต่ไม่สามารถย้อนกลับได้
@johanlofilelo5359
@johanlofilelo5359 4 жыл бұрын
ทฎิดี สัมพันภาพพิเศษ ถึงจะเกี่ยวกะเวลา
@nestle6763
@nestle6763 4 жыл бұрын
ใครที่ไม่เข้าใจเลย ลองทิ้งสามัญสำนึกไปก่อน แล้วลองทำความเข้าใจใหม่
@user-vr1zu2ov7g
@user-vr1zu2ov7g 4 жыл бұрын
ใช่เลย มันขัดกับธรรมชาติและความรู้สึกของมนุษย์มาก
@MrParinyatk
@MrParinyatk 3 жыл бұрын
มันอ่านว่า สำ -​พัด -​ทะ -​พาบ ครับ
@bassofficial2133
@bassofficial2133 4 жыл бұрын
บางทีการที่เวลาต่างกันเพราะgravity มันอาจจะเวลาเท่ากันแต่gravityส่งผลต่อนาฬิกาเฉยๆรึเปล่า
@suansanit
@suansanit 4 жыл бұрын
BASS OFFICIAL มันเป็นเพราะว่ายิ่งความเร็วเข้าใกล้เเสงเท่าไหร่เวลาจะยิ่งช้าลงครับ. หมายความว่ายิ่งเราเคลื่อนที่ไวเวลาจะยิ่งช้าลง(อยู่บนโลกตัวนาฬิกามีความเร่งมากกว่าอยู่บนอวกาศ เเสดงว่านาฬิกาอยู่บนโลกเคลื่อนที่ไวกว่าจึงทำให้นาฬิกาที่อยู่บนโลกเดินช้ากว่านาฬิกาที่อยู่บนอวกาศครับ)
@user-hk3vu4mh4q
@user-hk3vu4mh4q 4 жыл бұрын
confusing
@nopphanmajaric5488
@nopphanmajaric5488 4 жыл бұрын
16:50 Warp-Drive
@Faruox
@Faruox 3 жыл бұрын
ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ภาษาคือสิ่งสมมุติ เลยอธิบาย ท. อันนี้ได้ไม่ครบถ้วน
@findingnemo2461
@findingnemo2461 4 жыл бұрын
แค่มีอายออฟอากามอดโต้ก็พอแล้วหนิ
@teetang1597
@teetang1597 3 жыл бұрын
เวลาเท่าเดิมแต่ไวขึ้น ประมาณว่าไปไวขึ้น
@KoKo-vd4ku
@KoKo-vd4ku 4 жыл бұрын
จินตนาการผมตอนนี้โคตรสุดยอดเลย
@KoKo-vd4ku
@KoKo-vd4ku Жыл бұрын
😠
@ym2516
@ym2516 4 жыл бұрын
ทฤษฎีเสื้อพี่บ่วง ดีกว่าเป็นเสื้อที่น่าสนใจมากว่าเสื้อมีแต่สีขาวรึไง
@rindy8380
@rindy8380 4 жыл бұрын
อ่านว่า สัม-พัด-ทะ-พาบ ครับ
@bigboungstudio
@bigboungstudio 4 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับข้อมูลด้วยครับ
@HandsomeAF
@HandsomeAF Жыл бұрын
ถ้ามิติที่4คือ "เวลา" มิติที่5 ก็คือ "มัลติเวิส" ใช้ป้ะ
@Freetimenaja
@Freetimenaja 4 жыл бұрын
อีกสักหน่อยก็จะขุดลงไปใต้โลกไปสร้างบ้านในเเกนโลก เเรงดึงดูดน่าจะเยอะ55555555
@otijomomahahp2417
@otijomomahahp2417 3 жыл бұрын
ทำไมใต้โลกถึงมีแรงโน้มถ่วงมากกว่า
@jacknD33
@jacknD33 4 жыл бұрын
ถ้าเราเดินทางเท่าความเร็วแสง เวลาจะช้าลง
@WaitingForDiscussion15Comments
@WaitingForDiscussion15Comments 2 жыл бұрын
ทฤษฏีนี้มันเรียกว่า **ทฤษฏีสัมพัทธภาพ** นะครับไม่ใช่ **ทฤษฏีสัมพันธภาพ**
@bank2299
@bank2299 2 жыл бұрын
กลไกลของนาฬิกาเจอแรงโน้มถ่วงที่ไม่เท่ากันจนเพี้ยนหรือป่าวครับ80ปีก่อนไม่น่ามีดิจิตอล ผมว่าวางเอาไว้มันอาจจะเพี้ยนซัก0.0000001ก็ได้
@okamuraseitsuka8739
@okamuraseitsuka8739 4 жыл бұрын
แล้วคนที่อยู่บนตึกชั้นสูงสุด กับ คนอยู่ชั้นล่างสุด ตอนไปทำงานคนล่างสุดจะได้ออกไปก่อนหรือว่าคนข้างบนที่เห็นแสงก่อนจะออกจากตึกก่อน แล้วในอนาคตคนรวยจะอยู่ได้นานกว่าคนทั่วไปไหมถ้าทำให้ทั้งบ้านแรงโน้มถ่วงน้อยที่่สุด
@apirakkla.5491
@apirakkla.5491 4 жыл бұрын
มันไม่ใช่แบบนั้นครับ เราจะเห็นเวลาเราปกติ แต่เห็นคนอื่นต่างหากที่เวลาไหลแปลกจากเรา
@normal5841
@normal5841 3 жыл бұрын
ทำให้เเสงเคลื่อนที่เข้าหาเเทน
@user-vr1zu2ov7g
@user-vr1zu2ov7g 4 жыл бұрын
สัมพันธภาพ หรือ สัมพัทธภาพ กันแน่ คนละความหมายเลยนะ
@user-gz8ll5sr3y
@user-gz8ll5sr3y 3 жыл бұрын
สัมพัทธภาพถึงจะถูกคนส่วนใหญ่เข้าใจผิดครับ
@user-fw5re3fw6t
@user-fw5re3fw6t 3 жыл бұрын
กูฮาตั้งแต่เปิดคลิป55555555555
@apirakkla.5491
@apirakkla.5491 4 жыл бұрын
1.ชื่อทฤษฎี​สัมพัทธภาพ​ครับ 2.7:55 แรงทุกแรงก็ทำให้วัตถุเร่งได้อยู่แล้วครับ ตามกฎนิวตัน F = ma น่ะครับ อย่างเช่นพี่บ่วงกระโดดถีบพี่ไนท์ พี่ไนท์ก็จะโดนเร่งไปตามทิศทางของแรงที่พี่บ่วงถีบ ดังนั้นจะบอกว่าแรงดึงดูดไม่ใช่แรงที่ดูดเราเข้าไป มันเลยผิดน่ะครับ 3.13:56 มิติในที่นี้คือการที่เราจะระบุตำแหน่งเราต้องใช้ 3 แกนไงครับ บวกกับแกนเวลาอีก 1 แกน ที่ต้องแยกแกนเวลาออกมาเพราะมันต่างมิติอื่นตรงที่มิติอื่นตรงเราสามารถไปตรงไหนก็ได้ในมิติอื่น บนล่าง ซ้ายขวา หน้าหลัง แต่มิติเวลาเราไปในทางได้ทางเดียวคืออนาคต ดังนั้นเค้าจึงเรียกว่ามีมิติ 3+1 แค่นี้แหละ อย่างอื่นน่าจะโอเคแล้วครับ
@thanawinamradis1442
@thanawinamradis1442 4 жыл бұрын
ขอเสริมข้อ 2 ให้นิดนึงนะครับ แรงดึงดูดของโลกมาโดยสมการ F=Gm1m2/r^2 คือผลลัพท์ของแรงที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงของวัตถุซึ่งมีมวล ถ้าหากวัตถุมีมวลย่อมมีแรงที่ดึงดูดวัตถุอื่นที่มีมวลเข้าหาเสมอ แรงดึงดูดของโลกจึงเป็นผลลัพท์ของแรงที่ทั้งเราและโลกดึงดูดเข้าหากัน เป็นแรงแทบจะพูดได้ว่าเป็นพื้นฐานที่สุดของสสารที่มีมวล เราไม่ได้แค่ถูกโลกดูด เราเองก็ดูดโลก แต่ด้วยมวลของโลกที่มากกว่าเรามาก จึงแทบไม่เคลื่อนที่เลย ส่วนการที่ f=ma คือสมการที่บ่งบอกถึงความสัมพันธ์ เมื่อวัตถุมวลmถูกกระทำด้วยแรงfจะเกิดความเร่งa ถ้าตามกฎ 3 ข้อของนิวตันคือ 1. วัตถุไม่ได้มีแรงภายนอกมากระทำ วัตถุจะรักษาสภาพการเคลื่อนที่เดิมไว้ 2.หากวัตถุถูกกระทำด้วยแรง จะทำให้วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 3.แรงที่วัตถุที่หนึ่งกระทำต่อวัตถุที่สอง ย่อมเท่ากับ แรงที่วัตถุที่สองกระทำต่อวัตถุที่หนึ่ง แต่ทิศทางตรงข้ามกัน ยกตัวอย่างให้เห็นง่ายๆคือโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ หากไม่มีแรงมากระทำต่อโลก โลกก็จะคงสภาพโคจรรอบดวงอาทิตย์เหมือนเดิมด้วยแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน ด้วยความเร่งค่าหนึ่ง แต่ถ้าหากมีอุกกาบาตมาชนโลก ก็จะทำให้โลกได้รับความเร่งเพิ่มเติม ตามทิศที่อุกกาบาตชน ตามสมการ f=ma และอุกกาบาตก็จะได้รับความเร่งเพิ่มเติมใหม่เช่นเดียวกันแต่ในทิศตรงกันข้าม สรุปก็คือ แรงดึงดูด เป็นแรงพื้นฐานของสสาร แต่ที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ได้โดยที่ไม่ได้พุ่งเข้าหาดวงอาทิตย์ เพราะโลกมีแรงออกจากศูนย์ที่อาจจะเกิดจากได้รับแรงต่างๆซึ่งนานมากแล้ว โลกจึงเคลื่อนที่เป็นลักษณะวงกลมรอบดวงอาทิตย์ถ้าวาด FBD จะเข้าใจได้มากขึ้น แต่จริงดวงอาทิตย์เองก็โคจรรอบโลกด้วย แต่ด้วยมวลที่มากความเร่งจึงน้อยมาก ส่วนสมการ f=ma เป็นแค่การบอกกว่าวัตถุจะเคลื่อนที่ตอบสนองแรงอย่างไร ยิ่งมวลมากยิ่งเคลื่อนที่น้อย
@apirakkla.5491
@apirakkla.5491 4 жыл бұрын
@@thanawinamradis1442 จริงๆโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ เพราะแรงดึงดูดระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ถูกแล้วนะครับ ทำไมตอนสรุปถึงบอกว่า โลกมีแรงออกจากศูนย์ที่อาจจะเกิดจากได้รับแรงต่างๆซึ่งนานมากแล้วอะครับ อันนี้น่าจะผิดนะครับ
@thanawinamradis1442
@thanawinamradis1442 4 жыл бұрын
@@apirakkla.5491 ถ้าไม่มีแรงออกศูนย์กลางโลกกับดวงอาทิตย์ก็วิ่งเข้าหากันสิครับ จะไม่ออกมาในรูปแบบโคจรรอบกัน
@apirakkla.5491
@apirakkla.5491 4 жыл бұрын
@@thanawinamradis1442 งั้นถามว่าแรงออกจากศูนย์กลางคือแรงอะไรครับ แล้วคู่แรงปฏิกิริยาตามกฎของนิวตันข้อที่ 3 ของแรงนี้คือแรงอะไรครับ
@thanawinamradis1442
@thanawinamradis1442 4 жыл бұрын
@@apirakkla.5491 ก็คือแรงที่โลกได้รับเมื่อนานแล้วเนี่ยแหละครับ ไม่ว่าจะเป็นแรฝจาการชนจากอุกกาบาต แรงจากชนจากการชนกันของธาตุตอนรวมตัวกันเป็นโลก แรงดึงดูดจากวัตถุอื่นนอกจากดวงอาทิตย์ ส่วนคู่แรงก็อย่างที่ได้บอกไปอะครับ ถูกชนวัตถุอีกอันก็ได้รับแรง อาจจะกระเด็นออกไป แต่ทั้งนี้เมื่อสมมติหากโลกถูกชนด้วยอุกกาบาต อุกกาบาตก็จะกระเด็นไปในทิศตรงข้าม แต่เมื่อมวลโลกมากขึ้นแรงดึงดูดก็จะมีผลเหนือแรงนั้นอุกกาบาตก็จะถูกโลกดูดรวมเข้าเป็นโลก แต่ถ้าว่าแรงหนีศูนย์มีคู่แรงเป็นอะไร ต้องเข้าใจก่อนนะครับว่าการเคลื่อนที่ไม่ได้มาจากการจำเป็นมีคู่แรงเสมอไป มันเป็นแค่ผลลัพท์ของแรงตามแนวแกน เช่นจรวดที่โคจรรอบโลกได้ มี 2 แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง กับแรงหนีศูนย์ โดยแรงหนีศูนย์กลาง คู่แรงของมันอาจจะแปลสภาพ หรือ หายไปแล้วก็ได้
@ingg5557
@ingg5557 4 жыл бұрын
ความรู้ใหม่แบบ300%
@boyyongyuth4368
@boyyongyuth4368 3 жыл бұрын
แล้วทฤฎีสัมพันธไมติ๊ดละครับ
@rosewiii1064
@rosewiii1064 4 жыл бұрын
ทักษะมิติพิมุข ของเรื่องโทริโกะ
@opleams4418
@opleams4418 4 жыл бұрын
ทฤษฎีของไอสไตน์ หมายถึง เราเป็นเจ้าของโลกและจักรวาลของเราเองในชีวิตจริงก็พี่บอกเองว่าวิทยาศาสตร์พิสูจน์แล้ว (ผมรู้ครับผมก็ต้านแรงโน้มถ่วงอยู่เหมือนกัน🎋🍃🍃
@k.featheriuslebera3462
@k.featheriuslebera3462 3 жыл бұрын
ไม่เข้าใจคำพูด เราเป็นอะไรนะ
@Chacris45
@Chacris45 4 жыл бұрын
พูดจน เป็น สมรรถภาพละ555
@dragonlion1272
@dragonlion1272 3 жыл бұрын
ทฤษฎี สัมพัทธภาพ มันต้องอ่านว่า สัม-พัด-ทะ-พาบ
@fuwafuvva7363
@fuwafuvva7363 4 жыл бұрын
สรุปได้ว่าเวลาเดินได้
@vichitkid5747
@vichitkid5747 3 жыл бұрын
สัมพัทธ์ กับ สัมพันธ์ มันคนละความหมายไม่ใช่หรือครับ เช่นความชื้นสัมพัทธ์คือการเปรียบเทียบความชื้นของ2สี่งเป็นเปอเซ็นต์ สัมพันธ์คือการเกี่ยวเนื่องหรือเกี่ยวข้องกัน
@user-mg2mv1eh9f
@user-mg2mv1eh9f 4 жыл бұрын
ผมว่า พี่บ่วงผอมลงนะ
@zueszues9715
@zueszues9715 4 жыл бұрын
ต้องอิง จากโลกตาม แบบของ นิวตันก่อนครับ นิวตันเชื่อว่า เวลา คงที่ เท่ากันทุกจุด ในจักรวาล ไม่ว่าคุณจะอยู่ที่ใด เหมือนๆ แม่น้ำสายใหญ่ ที่ไหลไปทางเดียว ในความเร็วที่เท่ากันหมดไม่ว่า สายเล็กหรือใหญ่ งดงาม เท่ากันเสมอ ทุกๆวินาที แต่ ไอสไต์กล่าวว่า เวลา เป็นสิ่งสัมพัทธ ไม่คงที่ แน่นอน เสมอ ขึ้นกับ การเปรียบเทียบ ความเร็วของแสง โดย เขาอ้างอิง หลักการ การสังเกตุ ฟ้าผ่า บน รถ ไฟ ที่ผู้สังเกตุคนนึง อยู่ในรถไฟ อีกคน อยู่ นอกรถไฟ โดย หลังการ แล้ว ความเร็วของแสง "ต้องวัดค่าได้เท่าเดิมเสมอ ในทุกผู้สังเกตุ" หมายความว่า สมมติ มีแรงโน้มถ่วง โค้ง กาลอวกาศ ในขณะที่แสงวิ่งผ่าน ทำให้แสงใช้เวลาเดินทางมากขึ้น ในบริเวณดังกล่าว เทียบกับ ส่วนที่ ไม่โค้ง(นึกถึงภาพ พื้น ยาง จมลงโดยน้ำหนัก และ แสงลากผ่านจุดนั้น จากa ไป bบริเวณส่วนที่โค้ง นั้น แสงจะเดิน ทางได้ช้ากว่า พื้น ยางเรียบๆ เพราะ การเดินทางเป็นเส้นตรงaไปb กับเส้นโค้งaไปb เส้น ตรงย่อมสั้นกว่าเสมอ ) ดังนั้น คนนายxที่อยู่บริเวณที่พื้นยางโค้ง จะวัดค่าความเร็วยางได้น้อย กว่า คนนายyที่ วัดค่า ความเร็ว แสงบนพื้นยางเรียบๆตรงๆ แต่ จักรวสลไม่ยอมให้ความเร็วแสงถูกละเมิด แล้วจะทำยังไง ให้เส้น 2 เส้น ที่ยาวไม่เท่ากัน เพราะเส้นนึงโค้ง เส้นนึงไม่ได้รับผลการโค้ง ตรงเรียบๆ วัดค่าความเร็วได้เท่ากันล่ะ ? จักรวาล จึงทำให้ เวลาของ เส้นนึง เร็วกว่าอีกเส้น แทน ความเร็วแสงลูกGM ของระบบชัดๆ
@am.warapornwanthai7954
@am.warapornwanthai7954 Жыл бұрын
ชช0ชช😊😊ชชชชชชชชฃชชชชชข ขชชชชช0จชลชฃฃฃชฃชชฃฃชชช😊😊😊😊
@thanapatth3160
@thanapatth3160 4 жыл бұрын
คลิปนี้ลุงไนท์หน้าอย่างกับ ถูกวาดหน้าโดยเกมwalking dead
@MrNataphong
@MrNataphong 3 жыл бұрын
ในทฤษฎีสัมพันธภาพ ว่าเราไปในอนาคตได้ ถ้าเคลื่อนที่ไวเท่าแสง ต้องไปดูรายละเอียดอีกทีครับ
@0LittleChild0
@0LittleChild0 3 жыл бұрын
สัมพัทธภาพ ไม่ใช่ สัมพันธภาพ
@ponlawatnarong5695
@ponlawatnarong5695 3 жыл бұрын
ในขณะเดียวกันทฤษฎีนี้ก็บอกไว้ว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่าแสงได้
@PK-ty3mx
@PK-ty3mx 4 жыл бұрын
รู้มั้ยที่เธอมาเจอกับเราได้เป็นเพราะทฤษฎีสัมพัทธภาพ -อาเธอร์2020-
@user-hk3vu4mh4q
@user-hk3vu4mh4q 4 жыл бұрын
เอาจิงดิ
@tatreephromdecha5019
@tatreephromdecha5019 4 жыл бұрын
อย่าว่าผมเลยนะ แต่พอได้ยินสัมพันเยอะๆเลยกดปิดไปเลยอ่ะ แงงงง
@Jimieee484
@Jimieee484 4 жыл бұрын
สร้างจรวดด้วยความคิด=ไม่มีมวล
@fumu100
@fumu100 4 жыл бұрын
55555 ขำที่พูดอังกฤษแล้วจำคำไทยไม่ได้
@kitxtrkiti9610
@kitxtrkiti9610 4 жыл бұрын
การย้อนเวลาตามที่ไอซสไตล์-เขียนผิดปะ- คือเราจะต้องเดินตามให้เร็วกว่าเพื่อให้เราไปถึงจุดที่แสงเดินทางใน 1 หน่วยเวลา สมมุตินั่งบนรถไฟที่เวลา12.00น. 00 วินาที ถ้าเราเดินทางเร็วเท่าแสง เราจะเห็นนาฬิกาในเวลา 12.00น. 00วินาที แต่ถ้าเราเดินทางเร็วกว่าแสง 2 เท่า ใน 1 วินาที เราจะเห็นนาฬิกาเป้นเวลา 11.59น. 59 วินาที เท่ากับเราต้องเดินทาง 600000000 กิโลเมตรต่อวินาที --------------------------------------------------- แต่จากเท่าที่ผมจำได้ มันเป้นการที่คนในอนาคตที่มีนวัตกรรมมาสร้างมิติใหม่ขึ้นมาเพื่อให้พระเอกกับลูกสื่อสารกันได้ จากต้นเรื่องก็จะเห็นว่าเป็นการกระทำของพระเอกในท้ายเรื่อง ซึ่งจะเกี่ยวกับมิติควอนตัมด้วย
@02khan71
@02khan71 4 жыл бұрын
ในฉากที่พระเอกอยู่ในมิติที่ 5 ที่พระเอกกับลูกสื่อสารกันได้เพราะความรักครับ
@shinkai1200
@shinkai1200 3 жыл бұрын
ศาสตราจารย์บ่วง เเห่งมหาวิทยาลัย podcast
@sirithipchaksurat9658
@sirithipchaksurat9658 4 жыл бұрын
ดูคลิปนี้ละโครตทึ้งกับวิทยาศาสตร์เลยครับ 😯😯
@nungbas4678
@nungbas4678 4 жыл бұрын
หัวผมระเบิด ตูม
@user-xb1to3fu8v
@user-xb1to3fu8v 3 жыл бұрын
06:00
ทฤษฎี Freemasons | 69podcast EP.26 Highlight
30:01
69podcast clips
Рет қаралды 60 М.
小蚂蚁被感动了!火影忍者 #佐助 #家庭
00:54
火影忍者一家
Рет қаралды 45 МЛН
World’s Largest Jello Pool
01:00
Mark Rober
Рет қаралды 115 МЛН
ทำไมคนถึงโดนหลอก?
29:47
69podcast clips
Рет қаралды 75 М.
การรับน้องของแทนนี่
34:48
69podcast clips
Рет қаралды 80 М.
ภัยร้ายโลกร้อน | 69podcast EP9
3:19:29