No video

กระดูกบาง กระดูกพรุน วิธีป้องกัน และรักษา

  Рет қаралды 273,927

Doctor Tany

Doctor Tany

Күн бұрын

สามารถเข้าร่วม Membership ได้ตามลิงค์นี้ครับ / @drtany
ถ้าสมัครทางมือถือ ต้องทำผ่าน Browser ครับ ทำทาง App มันจะไม่ได้ ถ้าทำในคอมทำได้ปกติครับ

Пікірлер: 1 000
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
กระดูกบาง กระดูกพรุน วิธีป้องกัน และรักษา #Osteoporosis #Osteopenia สวัสดีครับ วันนี้ผมจะมาพูดถึงโรคกระดูกพรุนนะครับ โรคนี้มันคืออะไร แล้วก็มันมีวิธีในการรักษาอย่างไรบ้างวันนี้จะเล่าให้ฟังกันเลยนะครับ พบกับผมนะครับ นายแพทย์ธนีย์ ธนียวันนะครับ เป็นอาจารย์แพทย์อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เชี่ยวชาญโรคปอด การปลูกถ่ายปอด และวิกฤตบำบัดนะครับ
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
1️⃣ โรคกระดูกพรุนนะครับภาษาอังกฤษเราจะเรียกว่า Osteoporosis นะครับ คำๆนี้เนี่ยมันแปลว่ากระดูกของเราเนี่ยมันมีการบางตัวลงนะครับ มันจะไม่มีอาการใดๆทั้งสิ้นนะครับแต่ว่ามันจะทำให้เราเนี่ยกระดูกหักง่ายนะครับ บางคนเนี่ยแค่ไอจามกระดูกก็สามารถหักได้แล้วนะครับ อันนี้เป็นสิ่งที่อันตรายมากนะฮะ แล้วก็เราพบว่าคนที่อายุเกิน 50 ปีขึ้นไปนะครับในผู้หญิงประมาณสัก 30% เนี่ยจะมีปัญหานี้นะครับส่วนในผู้ชายก็ประมาณสัก 20% ที่อายุเกิน 50 ปีเนี่ยจะมีปัญหานี้นะครับ
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
2️⃣ บางคนจะเห็นว่าทำไมคนแก่เนี่ยหลังค่อมนะครับ ตัวเตี้ยลงนะครับ นั่นก็เป็นเพราะว่ากระดูกมันหักในในกระดูกสันหลังของเรานะครับ ทำให้ตัวเราเนี่ยเตี้ยลงนะครับ แล้วปัญหาอีกอย่างที่เจอเยอะๆก็คือเวลาที่คนอายุเยอะเนี่ยนะครับเขาลื่นล้มก็มักจะมีการหักของกระดูกสะโพกนะครับ แล้วผมเคยทำคลิปเรื่องของการหักของกระดูกสะโพกไปแล้วนะฮะมันสามารถที่จะผ่าตัดแก้ไขได้นะครับ
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
3️⃣ แต่ปัญหาก็คือว่าหลังจากที่เราผ่าตัดเสร็จแล้วเนี่ยบางคนมีผลแทรกซ้อนต่างๆตามมามากมายนะครับทำให้โอกาสที่จะเสียชีวิตเนี่ยสูงถึง 25% เลยทีเดียวนับตั้งแต่การหักของกระดูกสะโพกอันนั้นนะครับ บางคนหายแล้วก็ไม่กลับมาเป็นปกติอีกเลยนะครับคือเดินนแล้วก็ยังมีปวดมีขัดถึงแม้ว่าจะผ่าตัดไปแล้วก็ตามแล้วก็มีโรคแทรกซ้อนต่างๆตามมามากมายนะครับ ยกตัวอย่างเช่น 💢เกิดลิ่มเลือดในระบบหลอดเลือดดำแล้วมันก็ลอยไปอุดที่ปอดทำให้เสียชีวิตนะครับ 💢เกิดการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ 💢หรือเกิดการติดเชื้อในปอดนะครับ พวกเนี้ยก็เป็นสิ่งที่ตามมาหลังจากการที่เกิดกระดูกหักบริเวณสะโพกนะครับซึ่งส่วนใหญ่ก็เนื่องมาจากปัญหากระดูกพรุนนี่แหละครับ
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
4️⃣ ทีนี้กระดูกพรุนอย่างที่ผมบอกคือมันไม่มีอาการ แล้วแบบนี้เราจะรู้ได้ยังไง เมื่อไหร่เราถึงจะต้องไปตรวจ ผมก็ต้องขอบอกแบบนี้ครับ มันมีปัจจัยเสี่ยงหลายๆอย่างนะครับ ปัจจัยเสี่ยงที่ผมจะยกตัวอย่างต่อไปนี้บางอย่างจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่ว่าบางอย่างจะสามารถเปลี่ยนแปลงได้นะครับ
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
5️⃣ มวลกระดูกของคนเราเนี่ยจะสูงที่สุดในช่วงประมาณอายุ 20 - 30 ปีหลังจากนั้นมันจะค่อยๆลดลงไปนะครับ ในผู้หญิงที่หมดประจำเดือนแล้วเราจะขาดเอสโตรเจน (Estrogen) นะครับ ทำให้กระดูกของเราเนี่ยมันพรุนเร็วกว่าในผู้ชายเยอะเลยนะครับ ถ้าเกิดคนไหนที่มีโอกาสที่จะต้องผ่าตัดเอารังไข่ออกไปก่อนที่จะถึงวัยหมดประจำเดือนกลุ่มพวกนี้ก็จะมีโอกาสเกิดกระดูกพรุนได้เร็วกว่ากลุ่มอื่นๆนะครับ คนที่หมดประจำเดือนเร็วก็คือหมดก่อนอายุ 45 ปีพวกเนี้ยก็จะเสี่ยงมากขึ้นนะครับ คนที่ผอมๆเลยนะครับอายุไม่มากนะครับ บางคนอายุมากแต่ว่าผอมมากๆนะครับพวกเนี้ยก็จะมีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดโรคกระดูกพรุนเพิ่มขึ้นด้วยนะครับ
@AL86898
@AL86898 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะ🙏อาจารย์แพทย์😍คุณหมอมาให้ความรู้เรื่องโรคกระดูกบาง กระดูกพรุน ไม่มีอะไรบอกให้รู้และจะ ทำให้กระดูกหักง่าย คนที่เดินหลังค่อม คนตัวเตี้ยลง ผู้หญิงอายุ50ปีขึ้นไป มีโอกาสถึง30%ที่จะเป็น ผู้ชายมี20%คนเรากระดูกจะเจริญเต็มที่20-30ปี แล้วค่อยๆลดลง ใครบ้างที่เสี่ยงเป็นคนเป็นไตเรื้อรัง คนที่ครอบครัวเป็นคนผอมมากๆ คนผู้หญิงที่หมดประจำเดือนเร็ว อายุ45จะขาดฮอร์โมนเอสโตเจ่น เสี่ยงกระดูกพรุนมากว่าชายคนเป็นโรคไทรอยค์ โรครูมาตอยค์ คนกินยาสเตรียรอยค์นานเกินสองเดือน คนที่ปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านมกินยาทำให้กระดูกพรุนได้คนทานยาละลายลิ่มเลือด เราควรต้องตรวจมวลกระดูกอายุมากกว่า50ปี 🌟วิธีป้องกัน. 🌻ออกกำลังกาย ใช้น้ำหนัก เล่นเวท ออกกำลังกายทรงตัว การวิ่ง 🌷ทานอาหารที่มีแคลเซี่ยมสูง นมถั่ว งา 💐ออกไปโดนแสงแดดตอนเช้าๆ ⚘️ลดการกินเหล้า สูบบุหรี่ การตรวจมวลกระดูกDEXAวัดค่าคะแนนเรียกtscore ถ้าอยู่-1-2.4คือกระดูกบาง วัดที่กระดูกสันหลัง กระดูกสะโพก กระดูกข้อมือ ค่าต่ำสุด เอาตัวนั้น ส่วนการวัดค่ากระดูกพรุนเรียกZscoreต่ำ-3-4คือเป็นกระดูกพรุนแล้ว 🌟กระดูกบาง ตรวจวิตามินดีไม่ขาดมากให้กินวิตามินดีเสริมที่800อินเตอร์เนชั่นเนลยูนิต รวมกับแคลเซี่ยมไบคาร์บอเนต 1000-1200มิลลิกรัมต่อวัน .🌟กระดูกพรุน หรือกระดูกหักไปแล้ว ให้ใช้ยาสร้างมวลกระดูก มียาหลายตัวตามคุณหมอรักษาสั่ง ขอบคุณมากค่ะ🙏❤️👍
@user-ic4rl4lk9i
@user-ic4rl4lk9i Жыл бұрын
กระดูกพรุนจากsteroid(โรค SLE),ร่วมกับโรคหมอนรองกระดูกทับเส้น
@arunyasomjai6277
@arunyasomjai6277 Жыл бұрын
ขอ​อนุโมทนา​กับคุณหมอที่มีเมตตากรุณา​ต่อเพื่อนร่วมโลก​🙏💖👍👍👍😍
@user-ki8hr4md8d
@user-ki8hr4md8d Жыл бұрын
ขออนุโมทนาคุณหมอที่กรุณาเมตตาต่อคนที่รับรู้จะได้ระวังต่อไปนะคะขอบคุณนะคะ
@jiamjinconnell2524
@jiamjinconnell2524 Жыл бұрын
คุณหมอคนนี้พูดดี ไม่ดึงเกมส์ ดำเนินเรื่องเร็วด้วย ไม่เบอื่ ขอบคุณค่ะ❤❤❤❤❤
@minnie007able
@minnie007able Жыл бұрын
เห็นด้วยค่ะ
@mariamaray7614
@mariamaray7614 Жыл бұрын
คนที่ไม่ได้เรียนหมอ ฟังคุณหมอเข้าใจได้หมดเลย นักศึกษาที่เรียนกับคุณหมอ เขาโชคดีมากที่มีอาจารย์สอนเก่งเข้าใจง่าย สร้างหมอที่เก่งอีกมากมาย คุณหมอคุณสมบัติพร้อมจริงๆ
@user-td4yv2uz1v
@user-td4yv2uz1v Жыл бұрын
จริงค่ะ คนทั่วไปเข้ามาฟังก็เข้าใจได้
@somparpkomson6958
@somparpkomson6958 Ай бұрын
คุณหมอเก่งมาก ให้ความรู้สาเหตุที่ทำให้กระดูกพรุนและกระดูกบาง รวมทั้งการกินยาปัองกันโรคอื่นๆที่มีผลข้างเคียงต่อกระดูกพรุน
@boomsong5729
@boomsong5729 Жыл бұрын
ขอแสดงความยินดีค่ะคุณหมอแทน ยอดผู้ติดตาม 4.52 แสนคนค่ะ สถานีต่อไป 4.53 แสนคนค่ะ ช่อง Doctor Tany ช่องคุณภาพ เนื้อหาหลากหลาย ประโยชน์มากมาย ขอให้ได้ล้านซับไวๆนะคะ 🌻🧡🌻
@daoroongweerakul2493
@daoroongweerakul2493 Жыл бұрын
ขอให้ ถึง 5แสน sub และ มากขึ้นๆ เพราะ ทุก เรื่อง ของคุณหมอ มีประโยชน์มากกกก ทุกคนที่ได้ฟัง ถือว่า โชคดีมาก
@kminpersonal7999
@kminpersonal7999 Жыл бұрын
รู้สึกโชคดีมากที่ได้มาเจอช่องของคุณหมอค่ะ ตอนช่วงที่เราติดโควิดปีที่แล้ว เปิดหาข้อมูลคำแนะนำในยูทูปแล้วเจอคุณหมอ ก็กดติดตามตั้งแต่ตอนนั้นมาเลยค่ะ ตอนนั้นผู้ติดตามยังไม่เยอะขนาดนี้เลย ฟังเพลิน ได้ความรู้
@yuttchuu6002
@yuttchuu6002 Жыл бұрын
แท้จริง ชีวิตนี้ เป็นปกติสุขได้ด้วยความสมดุลของชีวิต ทั้งการสร้างและทำลาย ชีวิตมันอัศจรรย์จริงๆครับ ❤
@armnakornthab6867
@armnakornthab6867 Жыл бұрын
ผมว่า ถ้าอยากทราบแน่นอนว่าเป็นหรือไม่เป็น ไปตรวจ DEXA เถอะครับ ราคาไม่แพงมาก ขนาด รพ. เอกชนยังแค่ราวๆไม่เกิน 3,000 บาท ถ้ามีประกันจ่ายก็ยิ่งถูก นอกจากนี้ การเจาะเลือดตรวจค่า ctx, p1np เพื่อตรวจดูอัตราการสูญเสีย และการสร้างมวลกระดูก สามารถพยากรณ์ได้ว่าจะเป็นกระดูกพรุนหรือเปล่า (แม้จะยังไม่เป็น ถ้าเสียมากกว่าสร้าง ก็แปลว่า อนาคตจะเป็นกระดูกพรุน หากยังคงใช้ชีวิตแบบเดิมๆครับ)
@AvecBella
@AvecBella Жыл бұрын
I’m gonna ask for it this year for my annual physical. Did DEXA longgg time ago ( it was free) when I was a student. Lol
@kamolchanokcholpranee3803
@kamolchanokcholpranee3803 Жыл бұрын
ขอบคุณ อ.แทน มากคับ ผมเป็น Ortho เหมือนได้ฟัง lecture จากอาจารย์แพทย์อีกครั้ง ครบถ้วนมากคับ Romosozumab ในไทยมีละครับ ผมใช้กับคนไข้มา 2+ปีละค้าบ
@user-xv1hn7mz8h
@user-xv1hn7mz8h 4 күн бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ ป้าเป็นโรคกระดูกพรุนตั้งแต่อายุ44ตอนนั้นป้าหกล้มกระดูกเข่าหักป้ารักษาด้วยยาต้วหนี่งกินทุกๆอาทิตย์ค่ะ ป้ากินประมาณ2ปี เลิกเองเพราะมีผลข้างเคียงเยอะมาก ตอนนี้ป้าอายุจะ60แล้ว พยายามออกกำลังแบบเบาๆ อยู่แบบประคับประคองระวังไม่ให้หกล้ม แต่ก็ปวดกล้ามเนื้อทุกคืน จนกลายเป็นคนหลับยาก ขอบคุณคุณหมอที่อธิบายเรื่องตัวยาค่ะ
@k.p.9109
@k.p.9109 Жыл бұрын
ขณะนี้อายุุ61(เกษียณฯ) ตรวจสุขภาพประจำปีทุกปี พบว่ากระดูกต้นขาซ้ายเริ่มบางตั้งแต่อายุ55 หมอให้ออกกำลังกายค่ะ #กินยาความดันไขมันอยู่
@user-fp6ni2fh7l
@user-fp6ni2fh7l 10 ай бұрын
คุณหมอตั้งใจเผยเพร่ให้ความรู้มากๆ ขอบคุณ🙏🏽
@sahay-tuo1115
@sahay-tuo1115 Жыл бұрын
หลายๆคลิบ ผมเอามาปรับใช้ในการดำเนินกิจกรรมในชีวิต ได้ อย่างมีประโยชน์ ขอบคุณมากครับ
@apinantham1
@apinantham1 4 ай бұрын
เป็นโรคกระดูกพรุน และพรุนมาก ได้มาฟังคุณหมอแล้ว ได้รับความรู้ขึ้นมากเลยค่ะ ถึงแม้จะไม่ค่อยเข้าใจเรื่องชื่อของยานัก ขอบคุณที่คุณหมอช่วยถ่ายทอดความรู้ต่าง ๆ มาอย่างละเอียด เป็นประโยชน์มากเลยค่ะ
@kanokpornr5563
@kanokpornr5563 Жыл бұрын
คุณหมอค่ะ ควรแนะนำให้กินอาหารเป็นยาเพื่อรักษาโรค ดิฉันอายุ76ปีไม่มีปัญหาเกียวกับเรื่องกระดูก ไม่มีการปวดกระดูก สนใจเรื่องอาหารคือ ดื่มนม กินเต้าหู้แข็งนำมาประกอบอาหาร นำโปรตินเกษตรมาประกอบอาหาร ไม่ดื่มนำ้เต้าหู้(ใช้นำ้เป็นผสมมาก) กินเจโลทำจากผงเจลาตินชึ่งทำมาจากกระดูกสัตว์สามารถชื้อผงเจลาตินมาทำเองได้ เดินออกกำลังกายบ้างเพื่อได้รับแสงแดด ขณะนี้สุขภาพดี ไม่เคยกินอะไรเลย จะชอบดื่มชาประจำเช่น ชาใบหม่อน ช่วยลดนำ้ตาล ชากระเจียบ ช่วยลดความดัน และดื่มชาดอกอันชัน ช่วยบำรุงสายตา อยู่เยอรมันนี เมื่อกลับมาเยี่ยมบ้าน จะหาของตากแห้งกลับมาเยอรมันนีด้วย
@janchaimann3713
@janchaimann3713 Жыл бұрын
ขอบคุณที่แชร์นะคะ😊
@kuwanlayarieder7512
@kuwanlayarieder7512 Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ ฟังไปด้วย hiking ในชนบทสวิตช์ไปด้วย ได้บรรยากาศเหมาะดีจริงๆ
@Hoshi1451
@Hoshi1451 Жыл бұрын
🌟☄️🌟☄️เย้ๆๆ4.52K🎉🌺💓☄️🌟☄️🌟☄️🌟☄️🌟☄️🌟☄️🌟☄️🌟☄️🌟☄️ ☺️ ขอบคุณอจ.หมอมากค่ะ ความรู้ทำให้สุขภาพดีค่ะ ขอให้มีผู้ติดตามฟังแพร่หลายขึ้นเรื่อยๆๆนะคะ💕
@user-ny8zv2uu8w
@user-ny8zv2uu8w Жыл бұрын
ขอบคุณอาจารย์หมอมากสำหรับการแบ่งปันที่ยอดเยี่ยม ยาย78 เป็นเลือดจางและโรคกระดูกพรุนตรงก้นกบรูเท่ากับเหรียญ 10 กินยากระดูกพรุนมา 3 ปี ตอนนี้ไม่ได้กินกลัวเป็นโรคไต ได้มาฟังคุณอาจารย์เพิ่มเติมเต็มความรู้มากมาย อนุโมทนากับอาจารย์หมอด้วยค่ะ🙏🙏🙏
@SFung-hv2ov
@SFung-hv2ov Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะคุณหมอแทน สำหรับความรู้ในวันนี้ ข้อมูลที่คุณหมออธิบายเป็นประโยชน์มากค่ะ
@lindakim842
@lindakim842 10 ай бұрын
คนปกติไม่เป็นกระดูกพรุนก็ควรออกกำลังกายสม่ำเสมอกันไว้ดีที่สุด ตัวเองอายุ68 ฝึกวิ่งมินิมาราธอนมา3-4 เดือนแล้วค่ะ เพื่อรักษามวลกระดูก และดูแลหัวใจ ขอบคุณทุกความรู้จากคุณหมอค่ะ จาก นิวยอร์ค
@kanoky7076
@kanoky7076 Жыл бұрын
ขอบคุณนะคะ ไม่เคยคิดเลยว่ากระดูกพรุนจะเป็นกรรมพันธุ์เพราะความคิดส่วนตัวนะคะคิดว่าเป็นเพราะการดูแลตัวเอง โภชนาการของแต่ละบุคคลที่ก่อให้เกิดกระดูกพรุน และก้จะคิดว่าจะต้องเป็นการออกกำลังที่มีแรงกระแทกเท่านั้นเช่นวิ่ง เพิ่งทราบว่ารวมถึงการออกกำลังกายที่มีแรงต้านจะช่วยได้ด้วย🙏
@sumnaingponlit1617
@sumnaingponlit1617 10 ай бұрын
ขอบคุณมากที่ได้รับความกระจ่างในการรักษาเป็นอีกคนหนึ่งที่มวลกระดุก-2.5เพราะตัดรังไขทิ้ง หมอไม่ได้อธิบายชัดเจนแบบนี้กังวลจนเลื่อนนัดฉีดออกไป การยาฉีดชนิด6เดืนครั้ง ก่อนไปรอบนี้จะเปิดฟังอีกค่ะ ขอบคุณมากนะคะ
@moplus1072
@moplus1072 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ กำลังประสบกับอาการที่คุณหมอพูดถึงเกือบทุกอย่างค่ะ ไปตรวจเข้าอุโมงตรวจมวลกระดูกเขาบอกว่าเป็นโรคกระดูกพรุนขั้นรุนแรงแค่เดินกระดูกก็หักได้แล้ว แต่ก็ไม่ได้รักษาอะไร ใช้ชีวิตปกติเวลานั่งนานๆตัวจะงอกว่าจะยืดตัวได้ตรง ตอนนี้เจ็บตรงข้อต่อระหว่างสะโพกข้างขวามากกว่าข้างซ้ายโดยเฉพาะเวลาเผลอนอนหงายนานๆเวลาจะพลิกตัวจะเจ็บมากจนไม่สามารถพลิกตัวได้ กลัวจะเป็นผู้ป่วยติดเตียงจากอาการตรงนี้เหมือนกันค่ะ แต่ด้วยข้อจำกัดไม่สามารถไปหาหมอได้แล้วจึงต้องใช้ชีวิตอยู่ไปวันๆยาที่ทานอยู่มียาลดความดีนกับยาลดไขมันในเลือดค่ะ ขอบพระคุณคุณหมอมากค่ะ ที่กรุณาให้ความรู้เรือ่งนี้ ปัจจุบันอายุ68ปีแล้ว อย่างน้อยได้รับทราบการดูแลแก้ไขอยากเรียนถามว่า การทำงานบ้านกิจกรรมที่เคลื่อนไหวต่างๆไม่ค่อย มีเวลานอนพักยก้ว้นเหนื่อยจริงๆช่วยการออกกำลังกายแบบเป็นจริงเป็นจังเป็นระบบำได้บ้างมั้ยคะ ขอบพระคุณมากค่ะ
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
ขอเรียนว่า การทำงานบ้าน ไม่ใช่การออกกำลังกายค่ะ มันเป็นแค่การออกแรงค่ะ
@paraneeplanantakuntorn
@paraneeplanantakuntorn Жыл бұрын
ดีใจด้วยอีกครั้งกับ 452K อีกแล้ว กำลังใจจะไม่เปราะบางเหมือนกระดูกนะ ไม่แก่เฒ่าร่วงโรย มีแต่นับวันยิ่งเข้มแข็งและสดใสบริสุทธิ์
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
💐💐💐ร่วมแสดงความยินดีด้วยค่ะ💐💐💐
@user-nl3do1vr2n
@user-nl3do1vr2n Жыл бұрын
สวัสดีค่ะอาจารย์หมอ ขอบพระคุณ ขอบให้มีสุขภาพ แข็งแรงค่ะ🙏
@user-mu7ks4ox4x
@user-mu7ks4ox4x 10 ай бұрын
อายุ 65 กำลังอยู่ในช่วงกระดูกพรุนเลยค่ะ เรี่มแย่หาหมอกระดูกที่ CT.จะให้ฉีดยาทุกวันหรือปีละครั้ง ตอนนี้ยังไม่ฉีด กำลังจะตัดสินใจค่ะ อาการคือปวดหลังมากมาตั้งแต่อายุ 60 แล้วค่ะ ไม่ค่อยจะออกกำลัง เป็นคนตัวเล็ก ฟังคุณหมอแล้วรู้สึกกลัวจังค่ะ
@thongsomamee4576
@thongsomamee4576 5 ай бұрын
ขอบคุณค่ะคุณหมอ ดิฉันเป็นข้อเข่าเสื่อมตั้งแต่หมดประจำเดือน ตอนอายุ 52 เดินไม่ได้อยู่ประมาณเกือบ 2 ปี ไปหาหมอโรงพยาบาล ราชวิถี หมอให้แคลเซียมแมกนีเซียมมาทานก็ไม่หายก็ไม่ดีขึ้น ไปฉีดเพิ่มน้ำในเข่า ข้างละ 5 เข็ม ฉีดอาทิตย์ละเข็ม ไม่ดีขึ้นเลย ก็เลยมาทาน โคคามีน ทานมาประมาณ 6 เดือนก็เลยเดินได้ ทำงานได้เหมือนเดิม ดิฉันนวดแผนโบราณ ทำงานหนักมาก วันละ 7-8 ชั่วโมง เฉพาะนวดไทยคุกเข่า ท่านวดเท้าก็โอเคได้นั่งนวด พออายุ 61 พออายุ 61 ก็มา เจ็บหัวเข่าอีกครั้ง เดินได้แต่ทำงานไม่ได้ ยกของหนักไม่ได้ แต่อาหารเสริม โกคาสมิน กินเป็นประจำ อยากบอกคุณหมอว่าดิฉันเป็น 2 ข้าง แต่มันไม่ได้มีอาการพร้อมกัน หมอบอกว่าดิฉันเป็นข้อเข่าเสื่อมน้ำในเข่าไม่มี กระดูกผุกระดูกพรุน เป็นคนชนบทถ้าเปลี่ยนหัวข่าวลูกสิบ้า ดิฉันคงไม่มีเงิน อยากถามคุณหมอว่าจะทำอย่างไร อยู่ดีๆมันไม่ปวด มันไม่เจ็บ มันจะเจ็บตอนที่ทำงานหนักและคุกเข่าเท่านั้น ขอความกรุณาคุณหมอช่วยแนะนำดิฉันบ้าง ขอบคุณค่ะ
@DrTany
@DrTany 5 ай бұрын
ถ้าเปลี่ยนเข่าไม่ได้จริงๆก็ลองใช้ที่รัดข้อเข่าดูครับ
@AL86898
@AL86898 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะ ยินดีกับตัวเลขFc 4.52แสนคน ติดตาม ตามติดกันทุกวัน บ่ายสามค่ะ 💝💝💝💝.💚💚💚💚💚.🧡🧡👏👏👏👏👏🚀🚀🚀🚀🚀
@jantana1024
@jantana1024 Жыл бұрын
ฟังวิธีรักษาโรคนี้แล้ว ได้ข้อสรุปว่าเราควรป้องกันไม่ให้กระดูกพรุนดีที่สุด​โดยเฉพาะ​ออกกำลังกายส​ม่ำเสมอ​ไม่ขี้เกียจ​ค่ะ
@armnakornthab6867
@armnakornthab6867 Жыл бұрын
ยกเว้นการว่ายน้ำ ปั่นจักรยาน หรือเดินวงรี ครับ พวกนี้ไม่ช่วยเรื่องมวลกระดูก
@user-up1kp8sj3x
@user-up1kp8sj3x Жыл бұрын
ไปเอกซเรย์ MRI แล้ว เป็นกระดูกทับเส้นประสาทด้านหลัง คือเป็นสีดำหมดเลย คุณหมอก็จะให้ผ่าตัด แต่เราอายุ 73 แล้วก็เลยคิดว่าไม่ผ่าแล้วค่ะ แล้วมีโรคหัวใจด้วย ก็คิดว่า ทานยาเยอะ วันนี้จะเริ่มทานยาตัวใหม่ลองดูค่ะ ขอบพระคุณมากค่ะสวัสดีค่ะ ขอบพระคุณมากค่ะสวัสดีค่ะ ขอบพระคุณมากค่ะสวัสดีค่ะ ขอบพระคุณคุณหมอมากค่ะ ขอบพระคุณคุณหมอมากค่ะสวัสดีค่ะ
@maliwanmebusaya6962
@maliwanmebusaya6962 Ай бұрын
ตัวดิฉันเองอายุ76ปี กระดูกสันหลังเคลื่อน ต้องทำผ่าตัดเท่านั้น แต่ดิฉันไม่กลัว ถ้าหมอสั่งให้ทำ เขาต้องรู้แล้ว ว่าทำได้ หลังทำก็พักฝื้น ระยะหนึ่ง แต่พยายามช่วยตัวเองให้มากที่สุด ทุกวันนี้ไปได้ทั่ว ทั้งในและต่างประเทศ
@user-ny8zv2uu8w
@user-ny8zv2uu8w Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะอาจารย์หมอสำหรับการแบ่งปันที่ยอดเยี่ยม 🙏ขออนุโมทนากับ อาจารย์หมอทีี่มี ความเมตตาต่อผู้ยากไร้ ยาย 78 เป็นเลือดจางตอนนี้กระดูกพรุนเป็นมา 3 ปี 🙏🙏🙏ขอพรให้อาจารย์หมอพบแต่ความสุขความเจริญนะคะ🙏🙏🙏💗
@NanNan-hd4qf
@NanNan-hd4qf Жыл бұрын
คุณหมอให้ความรู้ดีมากค่ะ
@k1channel811
@k1channel811 Жыл бұрын
คุณแม่อายุ 74 ปี เป็นโรคหัวใจเต้นพลิ้ว Atrial Fibrillation และกระดูกเสื่อม โดยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมมาได้ 6 เดือนแล้ว แต่ยังคงมีปัญหากระดูกเสื่อมในส่วนอื่นๆเหมือนเดิม และที่ผ่านมาได้ทาน Viartril-S (Glucosamine sulfate 1500mg)มาเรื่อยๆ อยากทราบว่าจะสามารถทานต่อได้หรือไม่ครับ จะมีผลอะไรกับความเสี่ยงของโรคหัวใจที่เป็นอยู่หรือไม่ครับ ขอบคุณครับ
@armnakornthab6867
@armnakornthab6867 Жыл бұрын
เรื่องหัวใจรอหมอมาตอบครับ แต่คุณแม่อายุเยอะแล้วลองดูเรื่องต้อหินด้วยครับ เพราะกลูโคซามีนกินพร้อมคนเป็นต้อหินไม่ได้
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ทานต่อได้ครับ แต่ไม่ได้ช่วยให้กระดูกหายพรุนหายเสื่อมครับ มันต้องรักษาด้วยยาอื่นเหมือนที่ผมเล่าในคลิปครับ
@tmm-xz1dg
@tmm-xz1dg 10 ай бұрын
คุณหมออธิบายได้ยอดเยี่ยมและเป็นประโยชน์ที่สำคัญอย่างยิ่งค่ะ ข้าพเจ้ากำลังจะไปตรวจ Bone density อยู่พอดีค่ะ ได้ฟังแล้วจึงได้ตระหนักถึงความปลอดภัยและสุขภาพของตนเองอย่างมาก กราบขอบพระคุณคุณหมอค่ะ
@sasikan9388
@sasikan9388 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะเคยได้ยินว่า "แก่แล้วไม่มีอะไรดี" ก็คงจะจริงนะคะ แต่ก็พยายามให้แก่ช้าที่สุดล่ะค่ะ😂😂
@ubolngardenhouse5887
@ubolngardenhouse5887 Жыл бұрын
ขอบคุณ คุณหมอ การแบ่งปันของคุณหมอ ทำให้ได้รับความรู้มากคะ
@tarungtiwa2710
@tarungtiwa2710 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณมากๆคะวันนี้มาให้ความร฿้เนื่แงโรคกระดูกบางกระดูกพรุน วิธีป้องกันและรักษา ได้ความรู้ดีดีมัประโยขน์มากคะ.👍 ตาขอให้คุณหมอมีความสุข สุขภาพแข็งแรงและปลอดภัยนะคะ.🙏🇹🇭😷🌹❤️
@user-nr6ph8gq7x
@user-nr6ph8gq7x Жыл бұрын
😮 2:03
@anuthiwatcharasatian7210
@anuthiwatcharasatian7210 Жыл бұрын
ขอบพระคุณมากค่ะคุณหมอแทน🙏คุณหมอที่ไปตรวจบอกว่ากระดูกพรุนค่ะ คุณหมอเค้าว่ามีอยู่4ระดับแต่ตัวดิชั้นคุณหมอว่าอยู่ที่2.5 อย่างนี้มีโอกาสที่กระดูกจะกลับมาปกติมั้ยคะ ตอนนี้ทานวิตามินDแบบทุกวันอยู่ค่ะกินวิตามินCอยู่ด้วยค่ะ ขอบพระคุณมากๆค่ะ🙏
@armnakornthab6867
@armnakornthab6867 Жыл бұрын
-2.5 ครับ ไม่ใช่ 2.5 คุณหมอบอกสิ่งที่ควรทำไปหมดแล้วในคลิปครับ ที่ทำอยู่ไม่พอครับ แทบไม่ช่วยอะไรด้วย มีอีกหลายอย่างมากครับ
@bemiracle
@bemiracle 10 ай бұрын
เคยฟังคลิปนี้แล้ว ไม่แน่ใจว่าได้กล่าวคำขอบคุณอ.หมอหรือยัง เลยขออนุญาติขอบคุณอ.หมอ ตรงนี้นะคะ ฟังอีกครั้งตอกย้ำความรู้และความเข้าใจค่ะ🙏
@Chaweewan8769
@Chaweewan8769 Жыл бұрын
เป็นคลิปที่มีประโยชน์มากค่ะเกี่ยวกับโรคกระดูกพรุนบรรยายได้ละเอียดทั้งวิธีป้องกันโดยการออกกำลังกาย งดเว้นพฤติกรรมเสี่ยงเช่นการสูบบุหรี่พร้อมทั้งดูแลเรื่องอาหาร วิธีการรักษาวิธีต่างๆเป็นการให้ความรู้ที่ครอบคลุมมากขอบพระคุณมากค่ะอาจารย์🙏
@user-iw9fx2ev7m
@user-iw9fx2ev7m Жыл бұрын
ใช่ค่ะ​ ได้รับความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคกระดูกบางกระดูกพรุนตลอดจนการใช้ยา​รักษา​ดีมาก​ ขอบคุณอาจารย์หมอธนีย์มากๆค่ะ
@praneesiltham3836
@praneesiltham3836 Жыл бұрын
สุดยอด อาจารย์หมอค่ะ อธิบายตรงใจแปะเลย ขอบคุณมากๆๆๆ อาจารย์ผู้ใจดีมากเลย🙏🙏🙏🙏🙏
@user-tg1rq5qu7g
@user-tg1rq5qu7g Жыл бұрын
ขอบคุณที่ได้ฟังข้อมูลวันนี้ มากๆเพราะXrayแล้ว พบกระดูกบางมาก ได้ทานยาบางตัวที่คุณหมออธิบายมา..จะขยันในการออกกำลังกายและไปพบหมอฟันก่อนทานยาด้วยค่ะ
@raiwinphuy597
@raiwinphuy597 Жыл бұрын
ขอบคุณ คุณหมอที่ให้ความรู้ดีๆค่ะ ตอนนี้เปลี่ยนข้อสะโพกเทียมแล้วค่ะ เพราะปวดบั้นท้ายเดินทำงานมากเวลานอนก็ปวด ไปหาหมอก็บอกกล้ามเนื้ออักเสบกินยาแก้ปวดเป็นปีก็ไม่หาย เลยเปลี่ยนหมอรักษาคุณหมอบอกกระดูกพรุนทิ่มเนื้อเลยทำให้ปวด พอผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมก็ไม่ปวดอีกเลยค่ะ แต่ตอนนี้ไม่ได้กินยาอะไรเลยค่ะ เพราะย้ายมาอยู่นอร์เวย์ กลับไทยปีละครั้งหมอก็ให้ยาแคลเซียมมากินค่ะ ระยะยาวจะมีผลเสียอะไรไหมค่ะการเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม ตอนนี้อายุ 50 ปีค่ะผ่าตัดมาได้ 8 ปีแล้วค่ะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ไม่ได้มีปัญหาอะไรครับ
@kimvich1564
@kimvich1564 Жыл бұрын
ขอบคุณมากๆค่ะ ทำกุศลให้คนเกือบทุกประเทศเลยที่ให้ความรู้ 👍🙏
@nutjeera18mektaweephoom36
@nutjeera18mektaweephoom36 Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ ได้ความรู้มาก เหมือนมีหมอใกล้ตัว
@user-up1kp8sj3x
@user-up1kp8sj3x Жыл бұрын
สวัสดีค่ะ ทานยาวาฟารีนมาเป็น 10 ปีแล้ว ตอนนี้ไปหาคุณหมอที่โรงพยาบาล รามาธิบดีสมุทรปราการ คุณหมอเปลี่ยนยาให้ เป็นตัวใหม่ เดี๋ยวจะให้ลูก ส่งยาที่ได้ใหม่ให้คุณหมอดู ไม่ทราบคุณหมอจะ มาดูเทปเก่าอันนี้หรือเปล่า ขอบพระคุณมากค่ะ ขอบพระคุณมากค่ะสวัสดีค่ะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ทานยาตามที่หมอเขาแนะนำดีแล้วครับ
@user-fc7et5lj1y
@user-fc7et5lj1y Жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากกกกกกกค่ะ อธิบายได้ละเอียดทำให้ต้องดูแลตัวเองมากขึ้น ประวัติเคยเป็นโรค ITP แล้วกินสเตรียรอยด์รักษาโรคประมาณ 10 ปี จึงหยุดใช้ยา แล้วมาผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกข้างขวาไปเมื่อปี 2555 ปล่อยจนกระดูกสึกไปเยอะมากหลังผ่าตัดแล้วขาสั้นกว่าอีกข้างไป 1.50 ซ.ม. มีภาวะกระดูกพรุนต้องตรวจมวลกระดูกปีเว้นปี กินยาช่วยเรื่องกระดูก(จำชื่อไม่ได้)กับวิตามินดี 20,000 units สัปดาห์ละ 1 เม็ด ปีนี้เริ่มปวดสะโพกข้างซ้ายมากน่าจะใกล้เวลาต้องเปลี่ยน ก่อนหน้าจะมาฟังคุณหมดพูดก็มีปัญหาเรื่องฟันแตกบ้าง ผุบ้าง ก็ไม่ได้คิดอะไรมาก แต่ฟังแล้วทำให้ต้องระมัดระวังกระดูกทุกส่วนในร่างกาย และจะไม่ขี้เกียจออกกำลังกายอีก😅 แต่ติดชานมเย็นเลิกไม่ได้จะมีผลอะไรกับยาหรือป่าวคะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ไม่น่ามีครับ
@armnakornthab6867
@armnakornthab6867 Жыл бұрын
คุณหมอครับ เรื่องตากแดดตอนเช้า ผมได้ทราบมาว่า มันไม่ค่อยได้วิตามินดีน่ะครับ วิตามินดีมันจะถูกสังเคราะห์จากยูวีบี ซึ่งมาเฉพาะตอนแดดแรง แต่อย่าให้แรงเกิน uv index = 3 ครับ ลองค้นใน กูเกิ้ลสคอลล่าเห็นวิจัยหลายฉบับที่สนับสนุนเรื่องนี้ด้วยอะครับ สถาบันมะเร็งของออสเตรเลียก็แนะนำให้ตากแดดช่วง 10:00-11:00 หรือ 15:00-16:00 วันละ 10-15 นาทีอะครับ ถ้าในไทย ผมว่า 9:00-10:00 หรือเอาให้แน่ ดูค่า uv index ครับ บางวัน เที่ยงตรง แต่แดดแรงเท่า สิบโมง ของวันอื่นๆไม่ได้ก็มีครับ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ก็ต้องชั่งใจเหมือนกันครับ ถ้ามันแรงหรือร้อนไป ก็มีปัญหา โดยเฉพาะถ้าอายุเยอะขึ้น ก็จะเสี่ยงมะเร็งผิวหนังได้อีก นั่นคือเหตุผลที่แนะนำแดดช่วงเช้าครับ แต่เอาให้แน่ใจ ก็ควรไปตรวจระดับวิตามินดี ว่าสิ่งที่เราทำนั้นมันได้ผลแค่ไหนด้วยครับ ถ้าเกิดไม่ต้องการดำ ไม่ต้องการผิวเหี่ยว ก็อาจต้องเลี่ยงแดดแล้วใช้วิตามินดีแทนในกรณีที่มันต่ำครับ
@armnakornthab6867
@armnakornthab6867 Жыл бұрын
@@DrTany ขอบคุณคุณหมอมากๆครับ
@user-vn8cw8xt4m
@user-vn8cw8xt4m Жыл бұрын
😊😊
@kanyamuay3748
@kanyamuay3748 Жыл бұрын
Osteopenia หรือกระดูกบาง เป็นภาวะที่ร่างกายมีความหนาแน่นและมวลของกระดูกน้อยกว่าปกติ แต่ไม่น้อยถึงระดับที่จะถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคกระดูกพรุน โดยทั่วไป ผู้ที่ประสบภาวะนี้มักไม่แสดงอาการเจ็บปวดใด ๆ เป็นภาวะที่มักพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และมักพบในผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป
@kanyamuay3748
@kanyamuay3748 Жыл бұрын
ปัจจัยเสี่ยงหลายอย่างที่อาจเป็นสาเหตุของภาวะ Osteopenia เช่น อายุ เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น การทดแทนกระดูกส่วนที่สึกหรออาจเป็นไปได้ช้า ทำให้มวลกระดูกมีความหนาแน่นลดลง โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปี เพศ ผู้หญิงมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้มากกว่าผู้ชาย เนื่องจากผู้หญิงมีมวลกระดูกน้อยกว่า มีอายุยืนกว่า และมักไม่ได้รับแคลเซียมมากเท่าผู้ชาย ฮอร์โมน การลดระดับของฮอร์โมนเอสโตรเจนในเพศหญิงอย่างการเข้าสู่วัยหมดประจำเดือนอาจเป็นสาเหตุของภาวะ Osteopenia ได้ โดยผู้หญิงที่เข้าสู่วัยหมดประจำเดือนก่อนอายุ 45 ปี หรือผู้หญิงที่ผ่านการผ่าตัดนำรังไข่ออกไปก่อนถึงวัยหมดประจำเดือน อาจเสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้เช่นกัน นอกจากนี้ ผู้ชายที่มีระดับฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนลดลงก็มีโอกาสเกิดภาวะนี้ด้วย กรรมพันธุ์ ผู้ที่มีบุคคลในครอบครัวมีประวัติป่วยเป็นภาวะนี้ก็มีความเสี่ยงที่จะได้รับพันธุกรรมของภาวะดังกล่าวได้ พฤติกรรมการบริโภค การกินอาหารที่มีแคลเซียมหรือวิตามินดีไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายในการสร้างกระดูกและการเจริญเติบโตอาจทำให้เกิดภาวะกระดูกบางได้ รวมทั้งการดื่มน้ำอัดลม ชา กาแฟ หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่หรือยาสูบอื่น ๆ ด้วย พฤติกรรมการออกกำลังกาย ผู้ที่ไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย โดยเฉพาะหากขาดการออกกำลังกายที่เน้นการฝึกยืดกล้ามเนื้อ อาจมีความเสี่ยงต่อภาวะนี้ โรคและการเจ็บป่วย เช่น โรคความผิดปกติด้านการกินอย่างโรคอะนอเร็กเซียและโรคบูลิเมีย โรคเซลิแอค ภาวะไทรอยด์เป็นพิษ ภาวะฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง และกลุ่มอาการคุชชิ่ง เป็นต้น การใช้ยาบางชนิด เช่น กลุ่มยาสเตียรอยด์อย่างเพรดนิโซโลนและไฮโดรคอร์ติโซน ยากันชักบางชนิดอย่างคาร์บามาซีปีน กาบาเพนติน และเฟนิโทอิน เป็นต้น นอกจากนี้ การทำคีโมหรือเคมีบำบัดที่ต้องมีการฉายรังสีก็อาจเป็นสาเหตุของภาวะนี้ได้
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
เรื่องนี้กำลังเริ่มเกิดกับคุณแม่อยู่ค่ะ เริ่มกระดูกบาง ไปตรวจมวลกระดูกมาค่ะ
@kanyamuay3748
@kanyamuay3748 Жыл бұрын
@@FragranzaTrippa น่ากังวลเหมือนกันนะคะโรคนี้ พี่ก็มีปัญหาเคยผ่าตัด เป็นแบบในคลิปที่คุณหมอพูดEndometriosis
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
@@kanyamuay3748 อ๋อ ค่ะพี่ แนะนำไปขอคำปรึกษากับหมอ และเริ่มดูแลปัองกันตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปค่ะ
@kanyamuay3748
@kanyamuay3748 Жыл бұрын
@@FragranzaTrippa ขอบคุณค่ะ
@praneesiltham3836
@praneesiltham3836 Жыл бұрын
อาจารย์หมอค่ะ ขอบพระคุณมากค่ะ ที่ให้คำแนะนำ ตอนเจอ อาจารย์หมอเขาก็ถามนะว่ามีอะไรจะถามหมอใหม ก็ตอบเขาว่าไม่มี หมอกงงนะ ไม่มีคำถาม พอกลับมาบ้านก็สงสัยแยะเลย ทีนี้ก็เลยไม่รู้จะถามใคร เลยต้องรบกวนอาจารย์หมอ ขอบคุณมากค่ะ 🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
คลิปใหม่มาแล้วค่ะ... หัวข้อวันนี้เรื่อง... กระดูกบาง กระดูกพรุน วิธีป้องกัน และรักษา #Osteoporosis #Osteopenia ◾กระดูกบาง คือ Osteopenia ◾กระดูกพรุน คือ Oseoporosis ◾30% ของผู้หญิงอายุ 50 ปีขึ้นไปจะมีปัญหานี้ และ 20% ของผู้ชายวัย 50 ปีขึ้นไปจะมีปัญหานี้ค่ะ ◾โรคที่เพิ่มความเสี่ยงกระดูกพรุน 1. ไตวายเรื้อรัง 2. รูมาตอยด์ 3. โรค HIV 4. โรคไทรอยด์เป็นพฺิษ ◾ยาที่เพิ่มความเสี่ยงกระดูกพรุน 1. ยาลดกรดกลุ่ม Proton pump Inhibitors (PPIs) 2. ยาสเตียรอยด์ 3. ยากลุ่ม Aromatase Inhibitors (AI) (ผู้ที่ผ่าตัดมะเร็งเต้านม) 4. ยาละลายลิ่มเลือด 5. ยาฮอร์โมนสังเคราะห์ GnRH-analogue 6. ยากันชัก 7. ยากลุ่มจิตเวช ◾วิธีป้องกันกระดูกพรุน 1. ออกกำลังกายแบบใช้น้ำหนัก เน้นการทรงตัว เช่น การวิ่ง 2. ทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง 3. รับแสงแดดยามเช้าสม่ำเสมอ 4. งดการสูบบุหรี่ 5. หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา ถ้าจะดื่มต้องดื่มในปริมาณน้อยๆ 6. ตรวจมวลกระดูกประจำปี โดยใช้เครื่องตรวจ DEXA Scan ◾วิธีรักษา ประเมินก่อนว่า 1. ถ้ากระดูกพรุนและกระดูกหัก ต้องรีบเพิ่มมวลกระดูกโดยใช้ยา 2. ถ้ากระดูกพรุนมากๆ ต้องรีบเพิ่มมวลกระดูก 3. เช็คว่ามีฟันผุหรือไม่ ต้องรักษาฟันผุก่อน 4. มีโรคไต หัวใจ หลอดเลือดสมองหรือไม่ ◾ยา 2 กลุ่มหลักๆที่ใช้รักษาโรคกระดูกพรุน คือ 1. ยากลุ่ม Antiresorptive ซึ่งมีอยู่ 2 ตัวหลักๆ คือ - บิสฟอสโฟเนต (bisphosphonates) เช่น ยาอเลนโดรเนต ยาไอแบนโดรเนต ยาโซเลโดรเนต (ยาฉีด) ยากลุ่มนี้ใช้ได้ไม่เกิน 5 ปี - ดีโนซูแมบ (Denosumab) เป็นยาฉีดช่วยยับยั้งการสลายของกระดูก ไม่มีปัญหากับโรคไตวาย ฉีดทุกๆ 6 เดือน ต้องฉีดให้ตรงเวลาสม่ำเสมอ ฉีดได้ตลอดชีวิต 2. ยากลุ่ม Anabolic ทำให้สร้างกระดูกเพิ่มขึ้น ทำให้มวลกระดูกเพิ่มเร็วขึ้น ได้แก่ - ยาเทอริพาราไทด์ (Teriparatide) ต้องฉีดทุกวันเพื่อเพิ่มมวลกระดูก ฉีดได้ไม่เกิน 2 ปี ทำให้แคลเซียมสูง ระวังในคนที่เป็นนิ่ว - ยาแอบาโลพาราไทด์ (Abaloparatide) เพิ่มมวลกระดูกได้เร็ว ต้องฉีดทุกวัน แต่อาจทำให้กรดยูริคสูงได้ อาจจะทำให้เป็นมะเร็งกระดูกได้ - ยาโรโมโซซูแมบ (Romosozumab) เป็นยาใหม่เพิ่งออกมา ช่วยยับยั้งการทำงานของ Sclerostin ซึ่งเป็น Glycoprotein ที่สร้างจากเซลล์กระดูก เป็นยาฉีดทุกๆเดือน ใช้ได้ไม่เกิน 1 ปี ข้อควรระวัง คือ คนที่เป็นโรคหัวใจ เส้นเลือดหัวใจตีบ เส้นเลือดสมองตีบห้ามใช้ยานี้
@wilaipoochroen2183
@wilaipoochroen2183 Жыл бұрын
ขอบคุณนะคะที่สรุปมาให้ เพราะตอนฟังจดไม่ค่อยทันค่ะ
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
@@wilaipoochroen2183 ยินดีค่ะ...
@user-wg6we2ru3o
@user-wg6we2ru3o Жыл бұрын
ผมก็กินยาละลายลิ่มเลือดและยากันชักอยู่ตลอด
@user-wg6we2ru3o
@user-wg6we2ru3o Жыл бұрын
เดิมๆกระผมก็พรุแล้ว ทั้งหลังคด กระหัก ผิดรูปอีกด้วย เครียดมาก
@kanyamuay3748
@kanyamuay3748 Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะน้องทริป
@armnakornthab6867
@armnakornthab6867 Жыл бұрын
การออกกำลังกาย ที่ไม่ช่วยในการสร้างมวลกระดูก คือ ว่ายน้ำ ปั่นจักรยาน และเครื่องเดินวงรี ครับ
@suriyawong75
@suriyawong75 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณนะคะ ขอให้คุณหมอมีสุขภาพแข็งแรงตลอดไปคร๊😊😍😍
@user-gr4df6rz2i
@user-gr4df6rz2i Жыл бұрын
สาธุค่ะ เจริญๆๆยิ่งขึ้นไป
@piyaratchansiripornchai5781
@piyaratchansiripornchai5781 Жыл бұрын
ขอบพระคุณอจ.มากค่ะ ตรงกับคุณเเม่พอดีค่ะ พบกระดูกเริ่มพรุน เปิดให้คุณเเม่ฟังเเล้วเเกเข้าใจมากขึ้นเลยค่ะ
@prapaipiggott9185
@prapaipiggott9185 Жыл бұрын
คุณหมออธิบายยอดเยี่ยมจริงๆค่ะ
@armnakornthab6867
@armnakornthab6867 Жыл бұрын
เรื่องการโดนแดด ถ้าใครทาครีมกันแดด ก็ไม่ได้รับวิตามินดีนะครับ กรณีนี้กินเสริมเอาดีกว่า
@soontareesoontaree6725
@soontareesoontaree6725 3 ай бұрын
สวัสดีค่ะ คุณหมอ เข้ามาฟังคลิปนี้ 2-3 ครั้ง เพราะคุณหมอที่ผ่าตัดเอารังไข่ออก หลังจากผ่าตัดไปประมาณ 6-8 เดือน คุณหมอบอกว่าเป็นกระดูกบาง หรือกระดูกพรุน และสั่งฉีดยา Denosumap ทุก 6 เดือน ตามที่คุณหมอพูดในคลิปนี้ เช่นกันค่ะ 😊😊😊
@jintanazealand68
@jintanazealand68 Жыл бұрын
ขอบคุณมากๆค่ะ❤ ได้ประโยชน์กับการดูแลสุขภาพจริงๆค่ะเวลาฟังคุณหมอได้ความรู้ แบบAdvanced เลยค่ะเยี่ยมสุดๆ😊❤❤
@nung-noppapat
@nung-noppapat Жыл бұрын
ขอบคุณ​ค่ะ​อาจารย์​🙏🥰 แม่​เป็น​รูมาตอ​ยด์​onยาMTXมีฉีดยาDenosumab (prolia)​ทุก6เดือน​ค่ะ​ตอนแรกหมอให้ทานเป็นalrendonateหลังทานต้องนั่ง30นาที​ คนแก่นั่งนานไม่ไหวค่ะ​หมอเลยเปลี่ยนเป็นยาฉีดให้ค่ะ
@weerayaareeraksa9835
@weerayaareeraksa9835 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ ตอนนี้อายุ 42 ปีค่ะ เป็น cushing disease เนื่องจาก pituitary adenoma ตั้งแต่อายุ 22 ทำ transphenoidal resection 2 ครั้งแล้ว แต่ยังเหลือ residual tumor อยู่ ทำให้เป็น osteoporosis ทาน fosamax อยู่ 9 ปีกว่า (คุณหมอที่รักษาไม่ได้แจ้งเลยว่าไม่ควรทานนานเกิน 5 ปี) จนเกิด atypical femur fracture และ pulmonary embolism ระหว่างเดินไม่ได้ (on warfarin อยู่ 1 ปี 2 เดือน) จึงหยุด fosamax และทำ bilateral laparoscopic adrenectomy พร้อมกับเริ่มฉีด teriparatide จนครบ 2 ปีและหยุด teriparatide ไป 7 ปีแล้วค่ะ หลังตัดต่อมหมวกไตต้องทาน hydrocortisone (cortef) ตลอดชีวิต, cal, vitD และ ทา oestrogel ตรวจ DXA ทุกปี Z score ประมาณ -2.5 และติดลบเพิ่มขึ้นเล็กน้อยบางตำแหน่งทุกปี ปีที่แล้วและปีนี้เกิดอุบัติเหตุเล็กน้อย 2 ครั้ง กระดูกหักเพิ่มขึ้นหลายตำแหน่ง (กระดูกคอ ไหปลาร้า ศอก สะโพก) และเกิด recurrent PE ระหว่างอยู่ รพ หมอให้ทาน apixaban และหยุด oestrogel ค่ะ ส่วน cortef, cal, vitD ทานเหมือนเดิม และไม่ได้ออกกำลังกายมา 8 เดือนแล้วค่ะ อยากได้คำแนะนำจากคุณหมอว่า 1. ควรเริ่มฉีด denosumab หรือ romosozumab (ถ้ามีในไทยแล้ว) หรือยังคะ ถ้าต้องฉีด ควรเริ่มจาก denosumab และฉีดต่อเนื่องไปเรื่อยๆ หรือ เริ่มจาก romosozumab ก่อน 1 ปี แล้วค่อยเปลี่ยนเป็น denosumab หรือเราสามารถกลับไปใช้ alendronate หรือ teriparatide อีกได้ไหมคะ เพราะกลัวจะเกิด complications จากยาอีก * denosumab และ romosozumab มี complications เรื่อง ONJ และ atypical fracture เหมือน alendronate หรือไม่คะ 2. กรณีที่เกิด recurrent PE และคุณแม่ก็เป็น recurrent provoked DTV ต้องทานยากลุ่ม apixaban ทั้งสองคน ผลตรวจเลือดหาสาเหตุลิ่มเลือดอุดตันปกติทั้งคู่ สาเหตุของ PE นี้เกิดจากพันธุกรรมหรือไม่ค่ะ และจำเป็นต้องทาน anticoagulant drug ตลอดชีวิตไหมคะ
@armnakornthab6867
@armnakornthab6867 Жыл бұрын
ขอตอบเฉพาะข้อสองครับ ลิ่มเลือด เกิดจากกรรมพันธุ์ได้ครับ พ่อ อา ผม เป็นเหมือนกันหมดครับ ต้องกินยาตลอดชีวิตครับ นอกเสียจากแพทย์จะวางใจให้ไม่กินครับ ส่วนเรื่องการจะใช้ยารักษาหรือไม่นั้น ลองเข้าไปตรวจความเสี่ยงในการเกิดกระดูกหักที่เว็บ FRAX ได้ครับ ถ้าความเสี่ยงไม่มาก ในอายุเพียงแค่ 42 ปี บางครั้งหมออาจจะ รักษาด้วยการเปลี่ยนพฤติกรรมครับ กินแคลเซียม รักษาระดับวิตามินดีและออกกำลังกาย แต่ถ้าเกินอายุ 50 ไปแล้วมันยังไม่ดีขึ้นก็คงต้อง ใช้ยาแน่นอนครับ
@weerayaareeraksa9835
@weerayaareeraksa9835 Жыл бұрын
@@armnakornthab6867 ขอบคุณมากค่ะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
1) กรณีของคุณเป็น Cushing ที่ยังมี residual tumor ดังนั้น โอกาส osteoporosis จะสูงเสมอ และควรรักษาด้วยยาครับ ...สองตัวที่ถามมาเกิด atypical femur fracture ได้ ONJ เกิดได้หมดทุกตัวยกเว้น Teriparatide กับ abaloparatide ดังนั้นต้องทำฟันให้เรียบร้อยก่อนครับ แต่ผมว่ามันคุ้มเสี่ยงครับ ไม่งั้นก็ต้องกลับมาใช้ Teriparatide หรือ abaloparatide ก่อนสองปี แล้วพอกระดูกเริ่มดี ก็เปลี่ยนไปใช้ denosumab ไปตลอด หรืออีกแบบก็ใช้ romosozumab ปีนึง ตามด้วย denosumab ครับ 2) ถ้าแน่ใจว่าตรวจครบทุกอย่างจริงๆ แล้วก็สามารถบอกได้ว่าไม่เกี่ยวกับพันธุกรรมได้ครับ แต่ของคุณมันมีประวัติเสี่ยงอยู่แล้ว จากการที่ไม่เคลื่อนไหวช่วงที่กระดูกหัก รวมทั้งไม่ได้ออกกำลังกายมา 8 เดือน ผมคิดว่าไม่ควรหยุด apixaban ครับ ไม่งั้นโอกาสกลับมาเป็นอีกสูงมากครับ ปล ถ้าให้แนะนำ ในช่วงที่ออกกำลังกายไม่ได้ ลองหา Home sauna มาใช้ดูครับ วันละครึ่งชั่วโมง ความร้อนสูงสุดที่ทนไหว มันสามารถช่วยคงกล้ามเนื้อ และได้ผลคล้ายการออกกำลังกายได้บ้าง ถึงแม้จะไม่ดีเท่าก็ตามครับ
@weerayaareeraksa9835
@weerayaareeraksa9835 Жыл бұрын
@@DrTany ขอบคุณมากค่ะ😄🌷🌷
@user-up1kp8sj3x
@user-up1kp8sj3x Жыл бұрын
คุณหมออธิบายได้ ดีมากๆเลยค่ะ ไม่ต้องถาม ก็ได้ความรู้มากค่ะ
@gunsamon3134
@gunsamon3134 Жыл бұрын
ติดตามอาจารย์มาได้ความรู้มากมาย เอาไว้ดูแลตัวเองและคนในครอบครัว
@user-ev5nv4io6f
@user-ev5nv4io6f Жыл бұрын
ช่วงนี้ เมืองไทย ข่าวแพทย์ ลาออก เยอะครับ อ. อยากให้ อ.วิเคราะห์ประเด็นการทำงาน แพทย์ ตปท. ความรับผิดชอบ ภาระงาน เวลาทำงาน การฟ้องร้อง และ ค่าตอบแทน รวมทั้ง เวลาพักผ่อน การ ออกกำลังกาย ครับ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
พูดไปแล้วหลายคลิปครับ kzbin.info/www/bejne/pV6UiZprhptqrbc kzbin.info/www/bejne/e6SrZ6B6gtKkZrM kzbin.info/www/bejne/pIHKfmeno5VpgNE kzbin.info/www/bejne/pZOyaaOkp9qkq5Y
@sivapornbenjaphureerat3770
@sivapornbenjaphureerat3770 Ай бұрын
ชื่นชมคุณหมอ อยู่เมืองนอกมานานแต่ ร ล ชัดเจน ภาษาไทยดีมาก บางคนไปอยู่ไม่นาน สำเนียงไทยเพี้ยน
@EedWatcharapornTubrutn
@EedWatcharapornTubrutn Жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ ค่ะ เนื้อหาวันนี้ จัดเต็มมากค่ะ นอกจากยา แล้ว การออกกำลังกาย 🏋️‍♀️ คือ อีกทางเลือก ในการชะลอ ภาวะ กระดูก 🦴 🦴บาง พรุน การตรวจมวลกระดูก ถ้าสามารถเข้าถึงการส่งตรวจง่าย จะดีขึ้นมากเลยค่ะ จะได้รับยา เกี่ยวกับภาวะ กระดูกบาง ได้ไวขึ้น ข้อบ่งชี้ ในการ ส่งตรวจ ยังจำกัด อยู่ ใน รพ. รัฐบาล และถ้าขยาย ถึง วัยก่อนหรือเพิ่งหมดประจำเดือน แรกๆ ได้ด้วย ยิ่งดี ค่ะ เพราะถ้ามีการหักของกระดูกแล้ว แม้ว่า ผลตรวจมวลกระดูก ค่า T scoreจะมีค่า -1 ต้นๆ ไม่ได้ น้อยกว่า -2.4 ก็ถือว่า มีภาวะกระดูกพรุน แล้ว ตอนนี้ คนอายุ > 70 ปี ก็อยู่ดีๆ ไปขอตรวจ มวลกระดูก เลยไม่ได้ ต้องมีข้อบ่งชี้ ในการส่งตรวจอีกค่ะ สำหรับ รพ. รัฐบาล ดังนั้น สถานการณ์ แบบนี้ การออกกำลังกาย การทานอาหาร ที่บำรุงกระดูก น่าจะเป็น ทางเลือก ที่ดีที่สุด เริ่มต้นด้วยตัวเอง ช่วยเหลือตัวเอง ออกกำลังกาย 🏋️‍♀️ เพิ่มกำลังกล้ามเนื้อ เพิ่มความแข็งแรง 🏋️‍♀️ ฝึกการทรงตัว 🏋️‍♀️ ฝึกความยืดหยุ่น 🏋️‍♀️ ฝึก ลงน้ำหนัก ที่ข้อต่อและกระดูก weight bearing ที่เหมาะ อุปกรณ์ ยืดๆ เด้ง เทมโพลีน เหมาะมากค่ะ กระโดดเบาๆ ลด แรงกระแทกจากพื้นแข็ง ต่อข้อต่อ ได้ดี ค่ะ ( ground reaction force ) เนื้อหา วันนี้ น่าจด ข้อมูลสำคัญ มากค่ะ
@EedWatcharapornTubrutn
@EedWatcharapornTubrutn Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ Tany สำหรับ 💙💙💙💙💙💙💚💚💚💚💚💚💜💜 Have a wonderful & happiness moment time with an adorable Rosy ค่ะ 🐶🐶😆😁🏋️‍♀️🏋️‍♀️🧚‍♀️🧚‍♀️🎼🎤🎶🎸
@duangphon.philachai3570
@duangphon.philachai3570 8 ай бұрын
แม่เป็นโรคกระดูกพรุนแล้วแม่อายุ 76 ปีค่ะ กินยาโรงบาลประจำจังหวัดอยู่ค่ะ จะแก้ยังไงคะจึงจะหายจากกระดูกพรุนคะ แม่มีโรคไฃมันและความดันด้วยค่ะ
@duangphon.philachai3570
@duangphon.philachai3570 8 ай бұрын
แม่เป็นโรคสมองตีบด้วยค่ะ
@duangphon.philachai3570
@duangphon.philachai3570 8 ай бұрын
เคยกินยาจิตเวชด้วยค่ะ
@DrTany
@DrTany 8 ай бұрын
ก็ต้องใช้ยาอย่าที่เล่าในคลิปเลยครับ
@sansaneepothebungkarn3939
@sansaneepothebungkarn3939 Жыл бұрын
พ่อล้ม กระดูกสะโพกหัก หลังผ่าตัด นั่งไม่ได้เลยเพราะปวด นอนคว่ำอย่างเดียว จนเป็นอัมพฤกษ์ นอนป่วยอยู่ 2 ปี ก็เสียชีวิตด้วยโรคปอดติดเชื้อ
@user-zq7to3sx6n
@user-zq7to3sx6n Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอแทน😊🙏👨‍⚕️ แวะมาทักทายนะคะ..คลิปนี้มีประโยชน์ได้ความรู้มากมายเลยค่ะ... ขอบคุณสำหรับข้อมูลที่มาเล่าสู่กันฟังนะคะ😊😊
@user-wh8cs3we9j
@user-wh8cs3we9j Жыл бұрын
กราบขอบพระคุณ.คุณหมอกับเรื่องราวดีๆครับ..
@suwanatatnina
@suwanatatnina Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ คุณหมอ Tany เพิ่งผ่าตัด Hip Replacement ทำให้กลัวกระดูกพรุนมากค่ะ ได้ถามผล DEXA 2 ปีที่แล้ว Primary care doctorบอกอยู่ที่ -2.5 แต่หมอไม่เคยเตือนเลย หมอจะว่าเราสุขภาพดี เพราะไม่มีโรค และออกกำลังกายประจำ เสียดายที่เสียเวลาเพิ่มมวลกระดูกมา 2 ปี และทำให้ทราบว่า ควรขอ report ด้วย อย่า rely on primry doctor นะค่ะ สำหรับ DEXA นัดตรวจเดือน กันยาค่ะตอนนี้จดรายละเอียดจากคุณหมอและนัดตรวจกับ ​Primary doctor , Rheumatologist & Endocrinologist ได้รายละเอียดเรื่องยาการรักษาจากคุณหมอ ไปคุย ขอบคุณมากค่ะ
@user-me3dg4wd3y
@user-me3dg4wd3y Жыл бұрын
ขอบพระคุณอ.หมอมากค่ะ ดื่มกาแฟมีผลทำให้กระดูกสลายเพิ่มขึ้นไหมคะ เป็นกระดูกพรุนแล้วค่ะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ถ้าดื่มเยอะก็มีผลครับ
@dttd6340
@dttd6340 Жыл бұрын
ขอขอบคุณ อ. เป็นอย่างสูงครับ 😊
@khuanchitsaichan4576
@khuanchitsaichan4576 Жыл бұрын
มีความเสี่ยงกระดูกพรุนสูงมากเลยค่ะ คุณแม่ก็กระดูกพรุน ตัวเองก็เคยตรวจมวลกระดูกเมื่ออายุสามสิบปลาย ๆ ค่า T-Score 2.5 หลังจากนั้นก็ไม่เคยตรวจอีกเลยค่ะ ถึงตอนนี้เหลือเท่าไรไม่รู้แล้ว😄 ตอนคุณแม่รักษากระดูกพรุน กินยาหลายตัวเหมือนที่อาจารย์หมออธิบายเลยค่ะ เช่น กินยาแล้วครึ่งชั่วโมงห้ามนอน กินแคลเซียม แต่คุณแม่ท้องผูกมาก คุณหมอก็เปลี่ยนเป็นยาฉีดปีละครั้ง ยาที่ช่วยสร้างวิตามินดี #หลังจากคุณแม่หกล้มขาหัก หลังผ่าตัด ก็เปลี่ยนเป็นฉีดยาทุกวัน มีแคลเซียมแบบชงกิน อันนี้คุณแม่บอกว่าอร่อยเหมือนกินน้ำส้ม😄 ที่ขาดไม่ได้คือยาแก้ปวดกระดูก กล้ามเนื้อค่ะ ต้องขอคุณหมอมาไว้กินตอนที่ปวดมาก ประเมินตัวเองแล้วก็ควรไปตรวจมวลกระดูกนะคะ ตอนนี้เริ่มมีอาการคือปวดเข่า ชาขา ข้างที่เคยผ่าตัดเส้นเลือดขอด ถ้าออกกำลังกายก็จะไม่ปวด ไม่ชา ก็เลยเหมือนถูกบังคับให้ต้องออกกำลังกายค่ะ ถ้าหยุดหลายวันก็กลับมามีอาการเหมือนเดิม ออกกำลังกายช่วยได้จริงค่ะ #ขอบคุณอาจารย์หมอมากค่ะ🥰
@armnakornthab6867
@armnakornthab6867 Жыл бұрын
ควรไปตรวจครับ ตอนอายุ 30 เค้าให้ดูค่า Z แทนค่า T ครับ
@khuanchitsaichan4576
@khuanchitsaichan4576 Жыл бұрын
@@armnakornthab6867 ขอบคุณค่า
@user-od5gz9zq6z
@user-od5gz9zq6z 5 ай бұрын
ปัจจุบันป้าอายุ62ปี เมื่อ3ปีที่แล้วป้าเกิดอุบัติเหตุหกล้มกระดูกลูกสะบ้า(ข้างซ้าย)หัก รักษาด้วยการผ่าตัดดามกระดูก 6เดือนต่อมาผ่าตัดเอาลวดที่ดามกระดูกออก ผ่านมาอีก6เดือนหมอให้เอกซเรย์มวลกระดูกแต่หมอก็ไม่ได้บอกอะไร ผ่านไปอีก1ปีหมอให้ตรวจมวลกระดูกอีกครั้งๆนี้หมอบอกว่ากระดูกพรุนระยะสุดท้ายแล้ว ทุกวันนี้รักษาด้วยยาฉีดที่ฉีดทุกวันฉีดใต้ผิวหนัง และทานแคลเซียมกับวิตามินดี
@DrTany
@DrTany 5 ай бұрын
รักษาตัวด้วยครับ
@vipaanunsatitporn7189
@vipaanunsatitporn7189 Жыл бұрын
คุณ หมอ รอบคอบ มาก ชอบๆ ใจๆเลย เป็นห่วงคนไข้ เออ ไม่เหมือนประเทศ .....
@naowaratj.198
@naowaratj.198 Жыл бұрын
ขอขอบพระคุณคุณหมอมากค่ะ
@tai0825
@tai0825 Жыл бұрын
อาจารย์ผมอยากรู้เกี่ยวกับคีลอยด์ พร้อมกระบวนการวิธีการรักษา วิธีป้องกันไม่ให้เกิด และจะสามารถหายเป็นเนื้อเดียวกันได้รึเปล่าครับ เท่าที่ผมรู้คร่าวๆตอนนี้มีแค่การฉีดสเตียรอยด์ การทำเลเซอร์ และก็การใช้เจลทา
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ถามหมอผิวหนังเลยครับ YT Doctortangmow skin
@randara6242
@randara6242 Жыл бұрын
ขอบคุณมากเลยคะ พอดี ตรวจ DEXA ไปต้นปี 23 ที่อเมริกา ผลสะโพกซ้ายขวา = -1.0 / -0.8. แต่ข้อต่อ femoral neck ซ้ายขวา บาง-2.3 /-2.2 พอดีกลับไทยนาน เพิ่งกลับมาอเมริกา ฟังคุณหมอแล้ว อยากสอบถามว่าผลตรวจข้างต้นต้องปฎิบัติตัวยังงัย ช่วงรอพบหมอที่นี่กลางเดือนหน้า
@armnakornthab6867
@armnakornthab6867 Жыл бұрын
กินแคลเซียม วิตามินดี แมกนีเซียม ไขมันดี วิตามิน k2 + ออกกำลังกายที่มีรับน้ำหนักตัวเอง หรือยกน้ำหนักครับ ว่ายน้ำ ปั่นจักรยาน เดินวงรีไม่ช่วย
@randara6242
@randara6242 Жыл бұрын
ขอบคุณคะ
@sorattyahattapasu7765
@sorattyahattapasu7765 Жыл бұрын
กราบขอบพระคุณคุณหมอเจ้า
@boomsong5729
@boomsong5729 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอธนีย์ คลิปนี้คุณหมอ ให้ความรู้เกี่ยวกับกระดูกพรุน ทั้งสาเหตุ อาการ การรักษา รวมถึงวิธีป้องกันกระดูกพรุน อย่างละเอียด ถ้าหากได้รับการดูแลรักษาอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง ก็สามารถทำให้กระดูกแข็งแรงขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ถ้าปล่อยทิ้งไว้ อาจทำให้กระดูกหัก เกิดความพิการได้ การตรวจวัดความหนาแน่นของกระดูก ที่เรียกว่า DEXA (Dual Energy X-ray Absorptiometry) ถ้ามวลกระดูกที่วัดได้ค่า T-Score มีค่าระหว่าง -1 ถึง -2.5 ถือว่ากระดูกบาง ค่า T-Score มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ -2.5 ถือว่ากระดูกพรุน ตำแหน่งที่วัดคือกระดูกสันหลัง กระดูกสะโพก หรือกระดูกข้อมือ ขอบคุณมากค่ะคุณหมอแทน ขอให้คุณหมอและครอบครัว มีสุขภาพแข็งแรงและมีความสุขนะคะ 🌻🧡🌻
@user-oh7te1mu2i
@user-oh7te1mu2i Жыл бұрын
เก่งทุกๆ เรื่องนะคะ🌏🌐🌏🗺
@kikgalaxy4358
@kikgalaxy4358 Жыл бұрын
ขอบคุณ คุณหมอมากคะ ที่กรุณายืนยันคำตอบของคุณ Arm N. ว่าถูกต้อง ตอนแรกไม่แน่ใจว่าใช่คะ 😊
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ถ้าถูกต้องแล้วผมจะกดหัวใจไว้ให้ครับ
@kikgalaxy4358
@kikgalaxy4358 Жыл бұрын
​@@DrTany ขอบคุณมากคะ😊😊😊
@annanny7355
@annanny7355 Жыл бұрын
ขอบพระคุณคุณหมอมากๆ ขอให้คุณหมอสุขภาพแข็งแรง อายุยืน117ปี
@user-qu8rb6em8q
@user-qu8rb6em8q Жыл бұрын
ขอบคุณ ขอบคุณ. ขอบพระคุณมากๆค่ะ.
@noitaecha900
@noitaecha900 Жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอสำหรับความรู้ดีๆนะคะ
@srichalermhemasikhandaka8058
@srichalermhemasikhandaka8058 Жыл бұрын
บ​บบฐซฐซ,ววบ
@srichalermhemasikhandaka8058
@srichalermhemasikhandaka8058 Жыл бұрын
ต​ต
@missxbar
@missxbar Жыл бұрын
ภาพ thumbnail คลิปหลังๆมานี้ โพสต์ท่าเป๊ะมากค่ะ
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
เห็นด้วยค่ะ คลิปเรื่อง วิธีบำรุงสายตา #วันอานันทมหิดล ก็น่ารักมากค่ะ
@chirapornaimmanee775
@chirapornaimmanee775 Ай бұрын
ขอบคุณค่ะคุณหมอพูดเข้าใจง่ายดี
@kpbluep6679
@kpbluep6679 Жыл бұрын
ขอบคุณ ความรู้จากคลิปดีๆ ของคุณหมอค่ะ
@mukmuk4954
@mukmuk4954 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ ถ้าไม่เป็นการรบกวนฝากคุณหมอพิจารณาทำคลิปโรคเกี่ยวกับไขกระดูกฝ่อได้ไหมคะ พอดีคุณยายเป็นแล้วพึ่งเสียไป คุณยายมาเป็นโรคนี้ตอนอายุเยอะแล้ว สอบถามคุณหมอที่รักษาท่านบอกว่าส่วนมากจะเกิดในวัยกลางคน คุณยายไขกระดูกฝ่อจนเกล็ดเลือดต่ำมาแค่หลักพัน-หมื่น อาการภายนอกดูไม่มีอะไรเลยค่ะดูสบายดี แต่ด้านในค่อนข้างหนักรักษามาเป็นปี ได้กลุ่มยาเดียวกับมะเร็งเม็ดเลือดขาว(หาชื่อยาจากในกูเกิ้ล) แล้วตอนเสียมีอาการเหนื่อยหอบเหมือนขาดเลือด(ปกติให้เลือดทุกอาทิตย์) แล้วก็โคม่าต้องใส่ท่อแล้วก็เสียกระทันหันเลยค่ะ อยากถามคุณหมอว่า 1.อายุมีผลต่อตัวไขกระดูกฝ่อไหมคะ 2.วัคซีนโควิดมีผลกับไขกระดูกฝ่อไหมคะ หรือคุณหมอมีอะไรเพิ่มเติมช่วยให้ความรู้เพิ่มเติมด้วยได้ไหมคะ 🙏🏻😊
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
อายุเพิ่มเจอได้เพิ่มครับ วัคซีนไม่มีผลใดๆต่อกระดูกครับ
@user-up8fi7pt1e
@user-up8fi7pt1e Жыл бұрын
กำลังหาข้อมูลอยู่พอดีค่ะ คุณหมอ🙏💖💖💖🚀🚀🚑🚑🚑
@maleeratanajindawong7954
@maleeratanajindawong7954 Жыл бұрын
ขอบพระคุณคุณหมอผู้มีจิตเมตตา ตอนนี้มีความ เข้าใจเกี่ยวกับโรคนี้ อย่างละเอียดลึกซึ้งกว่าเดิมมากค่ะ
@user-th2zn6wg5t
@user-th2zn6wg5t Жыл бұрын
ขอบคุณอาจารย์หมอมากค่ะ.ที่ให้ความรู้.
@Global.Warning
@Global.Warning Жыл бұрын
Brilliant information again Doctor Tany . Thank you sooooooooooooooooooooooooooooooooo much. I wish you have a beautiful Monday.
@jomaneewan4757
@jomaneewan4757 Жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอค่ะ พึ่งเริ่มกินยาค่ะ มียาอาทิตย์ละครั้ง แคลเซียม วันละ 2 ครั้ง วิตามิน D กินทุกวัน และคุณหมอให้ไปทำกายภาพบำบัดแต่สำหรับกายภาพบำบัดยังไม่ได้เริ่มค่ะคุณหมอบอกจะทำการนัดหมายมาให้
@armnakornthab6867
@armnakornthab6867 Жыл бұрын
ต้องมีการออกกำลังกายนะครับ รีบๆนัด😊
@jomaneewan4757
@jomaneewan4757 Жыл бұрын
@@armnakornthab6867 ขอบคุณค่ะคุณหมอ ไปพบนักกายภาพบำบัดมาแล้วค่ะ จะได้ไปทำที่คลีนิค และให้ท่าออกกำลังกายมาทำที่บ้านด้วยค่ะ
@bca4494
@bca4494 4 ай бұрын
ขอบคุณคะ สำหรับข้อมูล ข่าวสาร เรื่องกระดูกพรุน
@botanchan
@botanchan Жыл бұрын
Evenity หรือ Romosozumab ไทยเราเพิ่งมีใช้ตามโรงพยาบาลเมื่อ 2-3 ปีที่ผ่านมานี่เองครับ.
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
FDA อนุมัติใช้ยานี้ในปี 2019 ก็ถือว่า ไทยเรานำเข้ามาเร็วนะคะ
@sousou2231
@sousou2231 Жыл бұрын
Thank you Dr Tany for talking about osteoporosis 🙏❤😊
@sujinsamolta8458
@sujinsamolta8458 Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะคุณหมอแทน "อโรคยา ปรมาลาภา"
How I Did The SELF BENDING Spoon 😱🥄 #shorts
00:19
Wian
Рет қаралды 36 МЛН
wow so cute 🥰
00:20
dednahype
Рет қаралды 25 МЛН
Comfortable 🤣 #comedy #funny
00:34
Micky Makeover
Рет қаралды 17 МЛН
Они так быстро убрались!
01:00
Аришнев
Рет қаралды 3,3 МЛН
How I Did The SELF BENDING Spoon 😱🥄 #shorts
00:19
Wian
Рет қаралды 36 МЛН