1. หนังสือที่เป็นต้นเรื่องของอีพีนี้ และชวนให้ผมกลับมาคิดว่าทำไมความเป็นเจ้าของจึงเป็นปัญหาในชีวิตประจำวันของมนุษย์มีสองเล่ม คือ “Out of the Wreckage: A New Politics for an Age of Crisis” โดย จอร์จ มอนบิโอต์ (George Monbiot) ฉบับแปลไทยชื่อ “พังทลายแต่ไม่พ่ายแพ้: เรื่องเล่าเพื่อการเมืองที่เป็นของเราทุกคน” สำนักพิมพ์นิสิตสามย่าน “Possessed: Why We Want More Than We Need” โดย บรูซ ฮูด (Bruce Hood) หนังสือเล่มนี้ยังไม่มีแปลไทย แต่สามารถฟังที่ฮูดพูดสรุปประเด็นหลักๆ ไว้ได้ที่ Mine! The Power of Ownership | Bruce Hood | TEDxSouthampton (kzbin.info/www/bejne/n2G2f6mdbL1je9U) 2. แนวคิดเรื่องสิทธิ์ความเป็นเจ้าของของจอห์น ล็อก อยู่ในหนังสือ “ความเรียงที่สองว่าด้วยการปกครอง” (The Second Treatise of Government) โดยเฉพาะในบทที่ 5 หนังสือเล่มนี้มีฉบับแปลไทย โดยอาจารย์สมบัติ จันทรวงศ์ สำนักพิมพ์คบไฟ ฉบับภาษาอังกฤษอ่านออนไลน์ได้ที่ www.gutenberg.org/files/7370/7370-h/7370-h.htm#CHAPTER_V 3. อ่านกฎหมายฮัมมูราบี โดยเฉพาะตอนต้นๆ ที่อธิบายหน้าที่และสิทธิ์ในการครอบครองดินแดนและอาณาจักรของกษัตริย์ได้จาก The Code of Hammurabi Translated by L. W. King (avalon.law.yale.edu/ancient/hamframe.asp) 4. ใครเป็นเจ้าของดวงจันทร์ได้บ้าง ลองฟังและอ่านเพิ่มเติมได้จาก Who owns the Moon? (kzbin.info/www/bejne/ponLaKmCibGHe8U) Who owns the moon? (www.dw.com/en/who-owns-the-moon/a-63761917) 5. ตัวอย่างของชนเผ่าเมารี กับการทำให้แม่น้ำกลายเป็นนิติบุคคล อ่านเพิ่มเติมได้จาก "‘นิติบุคคลแม่น้ำ’ แนวทางอนุรักษ์แม่น้ำวังกานุยในนิวซีแลนด์ กับการปรับใช้ในบริบทประเทศไทย" plus.thairath.co.th/topic/naturematter/103408 New Zealand’s Maori Won Personhood for This River (kzbin.info/www/bejne/j4K9qYWJr92bgqs) 6. ข้อถกเถียงสิทธิ์ในป่าชุมชนและสิทธิ์ในแม่น้ำที่ต่อยอดมาถึงประเทศไทย ดูได้จาก จับใจคุย “สิทธิแม่น้ำ ณ ลำน้ำโขง” (thecitizen.plus/node/58432) ป่าสงวนไทย (สงวนไว้ให้ใคร?) | พูดมาก Podcast EP.51 (kzbin.info/www/bejne/jqTZd3utfteFsLM) 7. ประเด็นเรื่องความเป็นเจ้าของข้อมูลในโลกอินเตอร์เน็ต ดูสรุปย่อๆ และเอกสารอ่านเพิ่มเติมได้จาก Who owns personal data? (wdr2021.worldbank.org/spotlights/who-owns-personal-data/) 8. ตัวอย่างสารคดี “The Future Of” The Future Of | Official Trailer | Netflix (kzbin.info/www/bejne/ZpnKi4OsgrpqidE) 9. ปัจจุบัน ที่ดินในประเทศสิงคโปร์ประมาณร้อยละ 90 เป็นที่ดินของรัฐ ดูประวัติศาสตร์และข้อมูลเรื่องนี้เพิ่มเติมได้จากบทความ “Singapore's Imminent Expiration of Land Leases: From Growth and Equality to Discontent and Inequality?” (onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1111/tesg.12547) 10. แนวคิดพื้นฐานของ Alaska Permanent Fund ดูได้ที่ Alaska Permanent Fund (kzbin.info/www/bejne/m4HPcnScZ8eSf9E) ปัจจุบัน กองทุนนี้จ่ายปันผลให้พลเมืองอลาสกา 1,312 ดอลลาร์ (ราว 4.5 หมื่นบาท) ต่อคนต่อปี (pfd.alaska.gov/) กองทุนนี้ช่วยลดความยากจนในอลาสกาได้ แต่ก็มีข้อถกเถียงถึงผลกระทบเชิงลบด้วย โดยเฉพาะการควบคุมและใช้กองทุนนี้เพื่อประโยชน์ทางการเมือง อ่านเพิ่มเติมได้จากบทความ “Alaska’s universal basic income problem” (www.vox.com/future-perfect/2019/9/5/20849020/alaska-permanent-fund-universal-basic-income) 00:38 เกริ่นนำ 01:21 ทำไมต้องคุยเรื่อง ‘ความเป็นเจ้าของ’ 06:34 ความเป็นเจ้าของในทางกฎหมาย-ปฏิบัติ 09:37 การนิยามว่าอะไรเป็นของใคร 20:37 จะแก้ปัญหาเรื่องความเป็นเจ้าของอย่างไร 25.33 มีสิทธิเป็นเจ้าของแต่กลับเป็นเจ้าของไม่ค่อยได้? 47.14 คำถามทิ้งท้าย 49.23 Extra Cut