อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ค้นพบอะไร? E = MC² แปลว่าอะไร ค้นพบแค่นี้หรอ? | Point of View

  Рет қаралды 1,416,347

Point of View

Point of View

Күн бұрын

Пікірлер: 1 000
@Penny.T-wc4yi
@Penny.T-wc4yi 8 ай бұрын
สรุปได้เห็นภาพชัดเจน มีประโยชน์มาก ขอขอบคุณและเป็นกำลังใจค่ะ
@Flamex2-j2t
@Flamex2-j2t 5 ай бұрын
เสี่ย
@Jaokhun33
@Jaokhun33 Күн бұрын
รวยกว่าพ่อแม่ปู่ย่าตายายรวมเงินกันทั้งปีอีก
@moonlightbrightnight
@moonlightbrightnight Жыл бұрын
ละสายตาจากหนวดไม่ได้เลยค่ะ​ คุณวิว.......รักในความพยายามชุดทุกคลิป​ และ เนื้อหาทุกคลิปโดยเฉพาะคลิปนี้​ สรุปดีมากกกกก❤❤❤❤❤
@piyawatkuaseng6254
@piyawatkuaseng6254 Жыл бұрын
เป็นคลิปที่ทรงคุณค่ามากๆเลยครับ ให้ความรู้ในวงการวิทยาศาสตร์ที่เป็นประโยชน์และลึกซึ้งมากๆครับ ขอบคุณสำหรับ content ดีๆและมีประโยชน์แบบนี้นะครับ เป็นกำลังใจให้ทำ Content ดีๆแบบนี้ต่อไปเรื่อยๆนะครับคุณวิว
@สุภนัยบัวดี-ฟ6ล
@สุภนัยบัวดี-ฟ6ล Жыл бұрын
E คือ พลังงาน(Energy),m คือ มวล(Mass),c คือ ความเร็วของแสงในสุญญากาศ ในบทความ Does the inertia of a body depend upon its energy content?(ความเฉื่อยแห่งวัตถุขึ้นกับปริมาณพลังงานของวัตถุนั้นหรือไม่?)ไอน์สไตน์ใช้ V เป็นตัวแทนความเร็วของแสงในสุญญากาศ และ L เป็นพลังงานที่สูญเสียไปจากวัตถุนั้นในรูปแบบของการแผ่รังสี ดังนั้นในบทความดังกล่าวจึงไม่มีE=mc(2) แต่มีประโยคในภาษาเยอรมันที่แปลว่า"ถ้าวัตถุปลดปล่อยพลังงานLในรูปการแผ่รังสี mของมันจะหายไป L/V(2)และมีข้อความประกอบว่านี่เป็นแค่การประมาณค่าโดยตัดเทอมอันดับ4และอันดับที่สูงกว่าออกไปจากอนุกรมในปีC.1907 สมการนี้ถูกเขียนในรูปM(0)=E(0)/c(2) โดย มัคส์ พลังค์ และต่อมาก็ได้มีการตีความหมายในเชิงQuantum โดยโยฮันเนิส ชตารค์ ซึ่งเขียนสมการในรูป e(0)=m(0)c(2) ในปีC.1924 หลุยส์ เดอ เบรย เขียนถึงสมการนี้ด้วยข้อความ énergie=masse c(2) ใน Research on the Theory of the Quanta แทนที่จะเขียนเป็นสมการE=mc(2) หลังสงครามโลกครั้งที่2ไอน์สไตน์กลับมาเขียนงานด้านนี้อีกครั้งและเขียนE=mc(2)ในชื่อบทความเพื่ออธิบายให้คนทั่วไปเข้า นี้คือข้อมูลจากหนังสือบทความของไอน์สไตน์(A.Einstein April issue,pp.16-17,1964)นะจ๊ะ
@Icterman
@Icterman Жыл бұрын
ถูกต้องที่สุดครับ แรกเริ่มเดิมทีไอน์สไตน์ต้องการบอกว่ามวลและพลังงานเกี่ยวข้องกันนะ พลังงานก็มีมวลเหมือนกัน
@dieselpoweredchanel318
@dieselpoweredchanel318 Жыл бұрын
ผมดูสารคดีวิทยาศาสตร์. E=สะสาร m คือพลังงาน. Cคือสรุปท้ายๆคลิป สารคดีไอสไตร์ cคือ คูณตัวมันเอง
@wipha_0108
@wipha_0108 Жыл бұрын
รู้สึกเหมือนอ่านภาษาเอเลี่ยนเลยค่ะ🥲
@เทพพยากรณ์-อ8ฟ
@เทพพยากรณ์-อ8ฟ Жыл бұрын
แล้วไม่สงสัยกันบ้างหรา คนๆหนึ่งคิดสมการขึ้นมา คนๆนั้นก็ต้องพิสุจน์สมการนั้นได้ว่าจริง แล้วสมัยไอไตเขามีเครื่องมือทันสมัยพอที่จะพิสูจน์สมการของตัวเองหรา
@NewbiePhysicist
@NewbiePhysicist Жыл бұрын
หลายคนเข้าใจผิดว่า ไอสไตน์ เขียน E=mc^2 ขึ้นมาเลย แล้วบอกว่า มวลกับพลังงานคือสิ่งเดียวกันตั้งแต่แรก แต่จริงแล้วไม่ใช่นะครับ E=mc^2 เป็นสิ่งที่ตามมาจากการที่ไอสไตน์พยายามเขียนสมการพลังงานจลน์ในเวอร์ชั่นของสัมพัทธภาพพิเศษที่อนุภาคมีความเร็วใกล้แสงมากๆ เขียนได้เป็น E=mc^2/\sqrt(1-v^2/c^2) แน่นอนว่าที่ความเร็วต่ำๆ พลังงานจลน์จะลดรูปเป็นเวอร์ชั่นคือเราคุ้นเคยตอนเรียน ม.ปลาย คือ E=1/2 mv^2 แต่สมการของไอสไตน์เมื่อเวลาลดรูปโดยการตัดเทอมอันดับ4และอันดับสูงกว่าออกไป จะได้ว่า E=1/2mv^2+mc^2 จะพบว่ามันมีติ่ง mc^2 โผล่มา ไอสไตน์บอกว่าเทอมนี้คือ พลังงานมวลนิ่งของอนุภาค พูดง่ายๆคือ เป็นพลังงานจากการที่อนุภาคมีมวล E=mc^2 ไอน์สไตน์จึงสรุปว่า มวลและพลังงานคือสิ่งเดียวกัน ดังนั้น พลังงานจลน์สัมพัทธภาพของไอสไตน์จะต้องลบออกด้วยพลังงานมวลนิ่ง เป็น E=mc^2/\sqrt(1-v^2/c^2) - mc^2 เพื่อที่จะทำให้ตอนพิจารณาความเร็วต่ำๆ สมการจะสอดคล้องกับ E=1/2mv^2 นั่นเอง แต่เรามั่นใจว่า E=mc^2 ถูก เหตุผลเพราะ E=mc^2 เป็นผลสืบเนื่องมาจาก สัมพัทธภาพพิเศษ แน่นอนว่าถ้าตัวทฤษฎีถูก E=mc^2 ก็จะต้องถูกด้วย
@kujibukik6523
@kujibukik6523 Жыл бұрын
อธิบายเก่งจริงค่ะ อยากฟังเรื่องวิทยาศาสตร์ ยากๆ อีกเลยย หลุมดำก็ได้ค่ะ🎉🎉🎉🎉🎉
@sasipimonlertlakkhunakorn4985
@sasipimonlertlakkhunakorn4985 Жыл бұрын
+1 ค่ะ เป็นสิ่งที่อยากรู้แต่งง 55555
@Kitty2you-px8qc
@Kitty2you-px8qc Жыл бұрын
​@@sasipimonlertlakkhunakorn4985แนะนำพอดแคสต์ "ใดๆ ในโลกล้วนฟิสิกส์" เลยครับ ฟังง่าย อธิบายโดยคุณป๋องแป๋ง สุดยอดแฟนพันธุ์แท้นักวิทยาศาสตร์ระดับโลก ค่อยๆฟัง ค่อยๆไปครับ😅
@Lovexkind
@Lovexkind Жыл бұрын
เชดเข้ อักษรศาสตร์อธิบายวิทยาศาสตร์ เก่งมากครับคุณวิว standing ovation ให้เลย 👏 เด็กภาษาศาสตร์อย่างผม ต้องbackwardกลับไปฟังหลายจุดเหมือนกัน ยังงงตัวเองอยู่ว่าเรียนจบวิทย์-คณิตสมัยมัธยมมาได้ยังไง
@parinutthain_lovenovel
@parinutthain_lovenovel Жыл бұрын
อุ๊ย ทำไมคุณเหมือนเราขนาดนี้
@mkpt9289
@mkpt9289 11 ай бұрын
เก่งจิงครับ​ เพราะแม้กระทั่งคนจบแพทย์หลายคนก้อเหมือนไม่ค่อยเข้าใจได้ดีเท่าไหร่เหมือนกัน​ แต่นี่อธิบายเข้าใจได้ง่าย
@ka0236
@ka0236 Жыл бұрын
ชื่นชมเช่นเดิมค่ะ เข้าใจยากมากนะ แต่คุณวิวก้ทำให้เข้าใจได้ง่ายเหมือนเดิม รักกก
@kwantatum2903
@kwantatum2903 Жыл бұрын
ชั้นผู้ซึ่งเข้าใจมาตลอดว่าไอสไตน์เป็นนักวิทยาศาสตร์ทดลองนู้นนี่ แต่พึ่งมารู้ว่าเค้าเป็นนักฟิสิกซ์และแค่นั่งคิดในหัวเท่านั้น ว้าวววววมากกจ้า และคุณวิวเก่งมากที่อธิบายถ่ายทอดให้ชั้นพอจะเก๊ทเรื่องราวได้ ขอบคุณค่ะ❤
@kurokoro007
@kurokoro007 Жыл бұрын
เหมือนกันเลย😂 คิดมาตลอดว่านักวิทยาศาสตร์​ต้องทดลองเท่านั้นเพื่อพิสูทธิ์​
@อนุชิตบุญเหลี่ยม-ช6ศ
@อนุชิตบุญเหลี่ยม-ช6ศ 10 ай бұрын
@@kurokoro007
@rit2025
@rit2025 8 ай бұрын
เขาคิดทฤษฎี แล้วคนอื่นมาพิสูจน์ทฤษฏีว่าเป็นจริง
@mrjabatiee
@mrjabatiee 8 ай бұрын
นักวิทยาศาสตร์อะถูกแล้วครับ แต่ที่เค้าคิดในหัวซะส่วนใหญ่เพราะในตอนนั่นมันไม่มีเทคโนโลยีที่ล้ำพอจะทดลอง อันไหนทดลองได้เค้าก็ทดลองด้วยตัวเองครับ 😂
@STARKPN
@STARKPN 6 ай бұрын
ค้นพบ หลุมดำ อ่ะ โครตเทพเจ้าเลยอ่ะ - รู้ว่า หลุมดำ มีอยู่จริง เพราะ สมการ ก่อน ค้นพบ หลุมดำ อีก
@MyNoi088
@MyNoi088 Жыл бұрын
เป็นอีก 1 คลิปที่ดีมากๆของช่องนี้ ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆแบบนี้ สุดยอดมากๆ ติดตามตลอดไปค่ะ
@aiyata
@aiyata Жыл бұрын
สาวอักษรอธิบายฟิสิกส์ได้เก่งมากเลยครับ น่าจะทำการบ้านมาหนักมาก สุดยอดเลย พวกนักสื่อสารวิทยาศาสตร์มีอาย โคตรเก่ง
@เอ๊ะโอนะ-ฬ7น
@เอ๊ะโอนะ-ฬ7น Жыл бұрын
เรียนสายวิทยาศาสตร์​ม.ปลาย เกรด 4
@Dew_Gamer
@Dew_Gamer Жыл бұрын
การชื่นชมเป็นสิ่งที่ดี แต่ถ้าจะดีกว่านี้ถ้าไม่ไปแซะบุคคลอื่น
@อะไรหรอม-ง6ฬ
@อะไรหรอม-ง6ฬ Жыл бұрын
@@Dew_Gamerจริง เกือบดีแล้วถ้าไม่มีประโยคสุดท้าย😅
@king_overwin8106
@king_overwin8106 Жыл бұрын
ชื่นชมบุคคลอื่นเป็นเรื่องที่ดี แต่การแซะ การอ้างอิงถึงคนอื่นเพื่อเปรียบเทียบในทางลบ แบบนี้ไม่ดี
@philoking4670
@philoking4670 9 ай бұрын
น้องโรงเรียนผมเอง โคตรภูมิใจเลยครับ
@fayalert2150
@fayalert2150 Жыл бұрын
ขอบคุณ​ที่ทำคลิปมีประโยชน์​แบบนี้ออกมาเรื่อยๆค่ะ​ เมื่อก่อนชอบอ่านหนังสือจิ๋วของซีเอ็ด​ที่มีหลายหมวดให้เลือก​ คลิปคุณรู้สึกตอบโจทย์​ชีวิตมาก​ ฟังเพลินก่อนนอนทุกคืน​ทำต่อไปเรื่อยๆนะคะ​ ❤
@KengYonGame
@KengYonGame Жыл бұрын
ตอนแรกว่าจะแซวเรื่องหนวด แต่ดูจนจบบอกเลยความรู้แน่นมากครับ แถมยังเข้าใจอีกว่า การที่คนเรามีเวลาคิดอะไรต่างๆ ถึงแม้ว่าจะเป็นแค่จิตนาการในหัว ก็ทำให้คนอีกกลุ่มนึงเอาไปพิสูจน์จนเรื่องที่จินตนาการกลายเป็นเรื่องจริงได้ นี่แหล่ะคือสุดยอดครับ
@0LittleChild0
@0LittleChild0 Жыл бұрын
จินตนาการ
@knightd8071
@knightd8071 Жыл бұрын
ฟังหลายช่องอธิบายทฤษฎีของไอน์สไตน์ ก็ต้องยอมรับว่าเข้าใจยากแม้จะอธิบายให่เข้าใจง่ายแล้วก็ตาม 555 แต่ทุกๆ ครั้งก็จะเข้าใจมากขึ้นนะคะ คลิปยี้ของคุณวิวก็ทำให้เราเข้าใจและเห็นภาพของทฤษฎีพวกนี้ขึ้นมาอีกนิดนึง ขอบคุณสำหรับความทุ่มเททำคลิปดีๆ นะคะ ป.ล. ชอบรูปประกอบมากๆ ไอน์สไตน์น่ารักกก
@termpongpoomsripanon1430
@termpongpoomsripanon1430 Жыл бұрын
ห่างจากฟิสิกส์มานานมาก ในฐานะคนเรียนสายชีวะ แต่ก็สนุกดีครับ
@Puudzey
@Puudzey Жыл бұрын
รู้เลยว่าพี่วิวชอบฟิสิกส์มากแค่ไหน ชอบเข้ากระดูกดำเลย🥰🥰
@TeacherGreat
@TeacherGreat Жыл бұрын
คลิปออกมาสุดยอดมากวิว 👍 ไอน์สไตน์น่าจะดีใจถ้าได้รู้ว่ามีคนเข้าถึงงานของเค้ามากขึ้น และจะยิ่งดีใจถ้ามีน้องๆ มาดูแล้วอยากศึกษาฟิสิกส์เพิ่ม 🚀 keep up the good work! เป็นกำลังใจให้วิวและทีมครับ ✌😊
@detective1723
@detective1723 Жыл бұрын
พี่เกรซมาไงครับ 5555
@Leviathan.Astrea
@Leviathan.Astrea Жыл бұрын
​@@detective1723เปิดยูทูปครับ
@borisutumkaew8268
@borisutumkaew8268 Жыл бұрын
​@@detective1723.
@PointofView
@PointofView Жыл бұрын
​@@detective1723แปลว่ายังดูไม่ถึงท้ายคลิป555
@tinnagonsamen1432
@tinnagonsamen1432 Жыл бұрын
🥰🥰🥰🥰
@jdw7092
@jdw7092 Жыл бұрын
👍👍👍😉23:40..ช่างว่างเปล่า..เหลือเกิน..กำลังชมและฟังสนุกมาก..ทำไม? ต้องทำให้ฮาา..กริบด้วย😁
@kittipatrodjam2116
@kittipatrodjam2116 Жыл бұрын
เปิดคลิปมาฟังได้10นาที ดูเวลาคลิปแล้วคิดว่าดูไม่จบหรอก สรุปดูจนจบ เพลินจัด สุดยอดครับ
@satitsuporn3947
@satitsuporn3947 Жыл бұрын
เคยเรียนมาเกี่ยวกับเรื่องพวกนี้ แต่ไม่เคยเข้าใจเลย จนมาเจอคลิปนี้ ทั้งเนื้อเรื่อง เสียงในการเล่า บวกกับคิดภาพตาม เข้าใจง่ายกว่าตอนเรียนอีก ทำคลิปออกมาได้ดีมากครับ❤❤
@gavlgamer1180
@gavlgamer1180 Жыл бұрын
ชอบคำนึงมากที่ว่า ยิ่งเราเข้าใจอะไรเกี่ยวกับจักรวาลนี้มากขึ้น ทำให้เรายิ่งรู้ว่าเราไม่เข้าใจอะไรเลย
@sawatsomsa-ard7111
@sawatsomsa-ard7111 Жыл бұрын
สุดยอดอัจฉริยะ ผมไม่เข้าใจจริงๆ ไม่ทดลอง แต่คิดได้ถูกต้อง นี่คือไอสไตล์ ยอดคนครับ
@Happyfocus1991
@Happyfocus1991 Жыл бұрын
ถ้าเมื่อก่อนหนูได้มีสื่อที่ดีเข้าถึงง่ายหรือได้ฟังพี่เล่าให้ฟังสนุกแบบนี้หนูคงสนใจและตตั้งใจวิทยาศาสตร์​มากกว่านี้ค่ะ 😂😂 เสียดายมาก รู้สึกวิทยาศาสตร์​น่าสนใจมากขึ้น คิดถึงสมัยมัธยมจังเลย​❤❤❤
@KhungKhup
@KhungKhup Жыл бұрын
เราชอบช่องนี้มากเลยนะ จะเปิดตอนนอนทุกคืน มันมีอย่างนึง เราไม่รุ้คนอื่นทำมั้ย 555 เราจะลดความเร็วลง เป็น 0.75 😅 ขอบคุณมากที่ทำช่องออกมา แบ่งปันความรู้กัน 🫰🏻
@CuteTubeR-CTR
@CuteTubeR-CTR Жыл бұрын
ว้าวววววเลย ทำได้ดีเลย เล่าได้เข้าใจดีมาก เป็นกำลังใจต่อไปนะคะ
@jetpackz8436
@jetpackz8436 Жыл бұрын
เวลาผมเมาแล้วนั่งดูช่องพี่วิว ยิ่งเป็นคลิปนี้คือ ปลดล็อคการทำงานของสมองแบบ 300% เลย คือนั่งฟัง คิดตาม(ต่อให้จะคิดไม่เป็น) และจดจ่อมากๆ
@tooktiknew3344
@tooktiknew3344 Жыл бұрын
สมัยเราเรียน อยากได้อาจารย์แบบนุ้งวิวจัง😊😊ชอบๆๆ อธิบายเข้าใจง่ายมากกก เราชอบคณิตศาสตร์ฟิสิกส์มากกกก ชอบคำนวณ❤
@kasanawanthongpatchote3326
@kasanawanthongpatchote3326 5 ай бұрын
พี่วิวเก่งมากๆเบยค่ะ มีความสามารถรอบด้านจริงๆ ไอดอลสุดๆเลยค่ะ😭🤍
@seasunstudysustainablesouth
@seasunstudysustainablesouth Жыл бұрын
ใครเข้าใจไอสไตล์ในระดับแนวความคิด จะรู้ว่าวิทยาศาสตร์นั้นเกือบๆ จะเป็นอภิปรัชญา แต่เป็นที่น่าตกใจที่คนรุ่นใหม่สมัยนี้ไม่ถูกฝึกให้คิดแบบอภิปรัชญารวมเข้ากับวิทยาศาสตร์ แต่ฝึกให้คิดแบบทุนนิยมและวิทยาศาสตร์อย่างน่าเศร้า
@johnwe_cube
@johnwe_cube Жыл бұрын
มันคือความเป็นจริงคับ
@AaAa-jm2mq
@AaAa-jm2mq 9 ай бұрын
จริงค่ะ ฟังคลิปนี้แล้วรู้สึกว่าที่ตัวเองเรียนมามันแทบไม่เข้าหัวเลยแต่ดูคลิปนี้จบอยากเรียนด้านนี้เลยค่ะ มันดูน่าสนุกอะ แล้วไอสไตล์คือแบบตัวอย่างของจินตนาการสำคัญกว่ารู้จริง ๆ เขาแค่สงสัยและคิดว่ามันจะเป็นแบบนี้รึเปล่า ทำไมถึงเป็นแบบนั้น ความคิดสร้างสรรค์บวกกับความรู้ กลายเป็นสิ่งใหม่ แต่ปัจจุบันคือเรียนตามความรู้เก่าแต่ไม่สามารถเข้าถึงแกนแท้จริง ๆ เรียนเพื่อให้รู้และท่องจำเพื่อไปสอบแค่นั้น น่าเศร้า จริง ๆ วิทยาศาสตร์สนุกมากนะ
@theaoooooo
@theaoooooo 3 ай бұрын
ไม่เห็นเศร้าเลย ที่โลกพัฒนาถึงจุดนี้ก็เพราะทุนนิยมและ apply physic มันก็ต้องไปควบคู่กัน
@wipha_0108
@wipha_0108 Жыл бұрын
หนูกำลังหาประวัติไปทำแผ่นพับอ่านแล้วไม่เข้าใจเลย ขอบคุณพี่วิวมากค่ะที่มาเล่าให้ฟัง
@TheRulue
@TheRulue Жыл бұрын
ทำคลิปได้ดีมากจริงๆ ค่ะ ตามฟังแทบทุกคลิป ทำเรื่องที่ไม่เคยสนใจให้น่าสนใจมากขึ้นเยอะเลย ❤❤❤❤❤❤❤❤
@naum9999
@naum9999 3 ай бұрын
อธิบายเข้าใจง่ยามากครับ เพิ่งเข้ามาชมติดตามเลยครับ
@อดินันท์สุขขี-ห4ฮ
@อดินันท์สุขขี-ห4ฮ 7 ай бұрын
ชอบช่องนี้ รู้มาก รุ้ทุกเรื่อง เรื่องคนอื่นรู้หมด ติดตามคับ
@ลูกรัก-ฝ9อ
@ลูกรัก-ฝ9อ Жыл бұрын
เป็นคลิปที่ดีมากๆเลย เห็นถึงความตั้งและความพยายามสูงมากๆ ขอบคุณที่ทำคลิปดีๆแบบนี้ออกมานะคะ มีประโยชน์มากๆ
@MasterYoda168
@MasterYoda168 17 күн бұрын
อธิบายได้ดีมากครับ คอนเซปกระจ่างเลย
@TeemoYordle-p5b
@TeemoYordle-p5b Жыл бұрын
24:14 ขอเสริมนิดนึงนะครับ ตรงที่ว่า “มวลจะเปลี่ยนเป็นพลังงาน” น่ะครับ แท้จริงแล้วมวลไม่ได้หายไปไหนหรอกครับ ต้องขอถามก่อนว่ามวลคืออะไร แล้วเราวัดมวลได้ยังไง? (มวลจริง ๆ แล้วขึ้นอยู่กับการวัด มวลไม่ใช่ตัวเนื้อสาร อิเล็กตรอน ไม่มีขนาดแต่ทำไมเราถึงรู้มวลอิเล็กตรอนได้ ฉะนั้นการที่เราจะรู้ว่าสิ่งใดมีมวลนั้นมันขึ้นอยู่กับการวัดการตอบสนองบางอย่าง) จากสมการ [E=mc^2] จะได้ m = E/(c^2) จึงเป็นสมการที่เจ๋งมาก ทำให้รู้ว่าสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่นิ่งจะเก็บพลังงานในรูปแบบของมวล ดังนั้นหากเราวัดพลังงานของสิ่งที่อยู่นิ่งได้เราก็จะสามารถรู้ได้ว่ามันมีมวลเท่าใด H มี 1 อิเล็กตรอน, 1 โปรตรอน, 1 นิวตรอน แทน e,p,n เป็นอนุภาคตามลำดับแล้วกันจะได้พิมพ์ง่าย ๆ 😅 จากสมการ 2H -> He แล้ว He ก็จะมีอนุภาค 2e, 2n, 2p หนิ มันก็ควรจะมีมวลที่มาจากอนุภาคเป็น 2 เท่าของ H แต่ทำไมมวลที่ได้จากการวัดถึงได้ลดลงน้อยกว่า 2 เท่าของ H? นั้นเพราะการที่อนุภาคจะมารวมตัวกันได้จำเป็นที่จะต้องสร้างพันธะเพื่อยึดเหนี่ยวกันไว้ และมีรูปแบบของพลังงานเป็นลบ เพื่อแสดงถึงความสัมพันธ์ที่จะถูกดึงดูดเข้าหากัน ทำให้การวัดมวลของ He จะมีพลังงานของ 2e, 2p, 2n (2H) แล้วยังมีพลังานพันธะซึ่งมีรูปแบบพลังงานติดลบ ทำให้วัดออกมาแล้วได้พลังงานลดลงนั้นเอง จึงทำให้สรุปว่ามวล He < 2H ไม่ใช่ว่ามวลส่วนหนึ่งกลายเป็นพลังงาน แต่เพียงมีพลังงานพันธะที่ติดลบครับ
@Thong-ob5ln
@Thong-ob5ln 9 ай бұрын
ต้องเรียนขนาดไหน
@tanatoreev
@tanatoreev 22 күн бұрын
เข้าใจเลยคนที่เรียนอักษร สามารถอธิบายให้คนทั่วไปเสพง่าย ย่อยง่าย งี้ คุณคืออัจฉริยะนะคุณวิว สร้างสรรผลงานดีๆแบบนี้ต่อไปนะครับ
@n.a.kofficial3298
@n.a.kofficial3298 Жыл бұрын
หวัดดีครับอยากให้พี่เล่าเรื่อง galileo galilei ครับ เกี่ยวกับกลองดูดาวครับ
@yyarrdd6322
@yyarrdd6322 Жыл бұрын
เป็นคลิปที่คุณภาพมากครับ ย่อยง่ายมากๆ
@tinnagonsamen1432
@tinnagonsamen1432 Жыл бұрын
9:10 โฟตอนคือ พลังงานอนุภาคของแสง(ดวงอาทิตย์ของเราตอนนี้)เพื่อให้สิ่งมีชีวิตบนดวงดาวนั้นๆได้กระทำการปฏิกิริยาทางเคมีคือ”การสังเคราะห์แสง”จุดเริ่มต้นการกำเนิดของชีวิต🥰🥰🥰
@Muffin-e2c
@Muffin-e2c Жыл бұрын
ชื่นชมนะคะ เป็นกำลังใจในการทำคลิปน้าาาา❤❤
@tonnichannel9022
@tonnichannel9022 Жыл бұрын
ตัวตึงนักวิทยาศาสตร์ 😅 แค่จินตนาการเปลี่ยนโลกได้
@chimxnqz3403
@chimxnqz3403 Жыл бұрын
จมย😅 34:57 จยมตลตม จ😅 สสจ สจ ยมยส
@Kuy69346
@Kuy69346 Жыл бұрын
@@chimxnqz3403งง
@ShadowYuki
@ShadowYuki 11 ай бұрын
มันไม่สิ้นสุด ไง จินตนาการ 😅
@สร้างรายได้ฟรีๆไปด้วยกัน
@สร้างรายได้ฟรีๆไปด้วยกัน 9 ай бұрын
จินตนาการตึ่งจัดวะอัลเบิร์ตไอน์สไตน์
@ประเสริฐบุญมี-ฌ8ส
@ประเสริฐบุญมี-ฌ8ส 8 ай бұрын
ใช่ๆครับเช่นการหักเหของแรงโน้มถ่วงที่จะกลายเป็นพลังงานบริสุทธิ์100เปอเซนน่ะครับ😊😊
@tinnagonsamen1432
@tinnagonsamen1432 Жыл бұрын
17:35 👏👏👏👍🥰ทำได้ดีเยี่ยมครับ ไปต่อๆ💨🥰
@มนตรีเข็มทอง-ร1ช
@มนตรีเข็มทอง-ร1ช Жыл бұрын
ผมเรียนเอกฟิสิกส์มา เวลาเดินไม่เท่ากัน และ แสงเดินทางเป็นเส้นโค้งไม่ใช่เส้นตรง และแรงที่ดึงดึงดูดระหว่างดาวต่างๆและดวงอาทิตย์ มันไม่ใช่แรงดึงดูดตามกฏนิวตัน นี่คือความรู้ที่เปลี่ยนกฏนิวตันเลยครับ
@dewcamzian
@dewcamzian Жыл бұрын
มีนิวตัว ด้วยหรอครับ มันเป็นยังไงครับ นิวตัว
@PK-qk3sh
@PK-qk3sh Жыл бұрын
เขาอธิบายปรากฎการณ์ที่เราเรียกว่าแรงโน้มถ่วงในรูปแบบของการโค้งของกาลและวกาศ เนื่องจากมวลทำให้กาลและอวกาศรอบๆ ตัวมันบิดโค้ง ซึ่งตามกฎของนิวตันอธิบายปรากฎการเคลื่อนที่ของดวงดาวด้วยทฤษฎีที่ว่ามวลดึงดูดกันด้วยแรงโน้มถ่วง
@moozeed5228
@moozeed5228 Жыл бұрын
​@@wyri4NT14อุ้ยยย
@CiseilEverburning
@CiseilEverburning Жыл бұрын
@@wyri4NT14จริง พวกนี้ไม่ต่างกับไวรัสอินเทอร์เน็ต ดูคลิปแนวไหนก็เจอแต่พวกแบบนี้หาสาระไม่ได้😂
@avevegot8645
@avevegot8645 Жыл бұрын
@@wyri4NT14 จริงครับทั้งที่เนื้อหาที่เขาสื่อมีประโยชน์มากกว่าคำผิด
@kaminmeenrakruangdejkamiya8748
@kaminmeenrakruangdejkamiya8748 7 ай бұрын
ชอบมากกกก หลังเห็นพี่ดูแล้วลองเปิดใจดูสนุกมากกกเวลาทำอะไรก็เปิดดูตลอดเลยย🥰🥰
@yongsovieth6059
@yongsovieth6059 Жыл бұрын
I really like this clip I'm fan from Cambodia ❤❤❤❤❤
@kaowfangtony5616
@kaowfangtony5616 11 ай бұрын
ชอบทุกๆ คลิปเลยค่ะ ยิ่งอารยธรรม ต่างๆ ยิ่งชอบค่ะ บางคลิปเปิดฟังเพลินๆ วนๆ เลยค่ะ ❤
@PointofView
@PointofView Жыл бұрын
เปิดโหวตอะไรว้าวกว่า 1. เนื้อหา นี่มันทฤษฎีระดับโลก 2. ชุด....
@ppg10
@ppg10 Жыл бұрын
ชุด~~~😗✨💯💯💯
@ชนิสราไทยประยูร
@ชนิสราไทยประยูร Жыл бұрын
ชุด👔👞
@sek22617
@sek22617 Жыл бұрын
ชุด​ครับ​
@mangatoonwebtoon52
@mangatoonwebtoon52 Жыл бұрын
ชุดดดดด ❤❤❤
@pacharindrive0144
@pacharindrive0144 Жыл бұрын
ชุดดดดด 55555
@005นายสุริยาแสงหิรัญ
@005นายสุริยาแสงหิรัญ Жыл бұрын
เป็นคลิปที่ดีมากเลย มีสาระความรู้มากมาย
@ka0236
@ka0236 Жыл бұрын
สมัยนี้เชื่อว่า มีคนมีสมองแบบไอน์นสไตน์อยู่ แต่คงยุ่งจนไม่มีเวลามาคิดสิ่งใหม่ๆ ชีวิตปัจจุบันมันยุ่ง และแทบไม่มีเวลา ไม่เหมือนสมัยก่อนจริงๆนะ 😢 จนคิดว่าทำไมเราต้องยุ่งอะไรขนาดนั้นอ่ะ ทุกวันนี้
@TaaWan_NiChi
@TaaWan_NiChi Жыл бұрын
ยุ่งเหมือนกัน แต่ยุ่งคนละเรื่องกัน ถ้าไอน์สไตน์ เกิดเป็นลูกชาวนาเมืองไทยสมัยโบราณ ไอน์สไตน์ จะคิดได้แค่วิธีการหากินแบบง่ายขึ้นไม่มีทางได้คิดวิชาการ
@SPX9987
@SPX9987 Жыл бұрын
เห็นด้วยครับ รู้สึกว่าโลกเราวันจะวุ่นวายและยุ่งขนาดนี้ไปเพื่ออะไร
@johnwe_cube
@johnwe_cube Жыл бұрын
ลองปลดพันธนาการจากตัวเองกับอะไรสักอย่างดูคับ
@บ่าวยองฮีดฮอยตามรอยพ่อ
@บ่าวยองฮีดฮอยตามรอยพ่อ 8 ай бұрын
55555 เห็นภาพ ลองตกงานครับ คุณอาจ เป็น นักวิทย์ ระดับโลกก็ได้ครับ
@nedstark9238
@nedstark9238 5 ай бұрын
ไม่น่าเกี่ยว ไอสไตน์ก็น่าจะยุ่งเหมือนกันแหละวันๆ แต่โชคดีที่ตอนนั้นได้งานเป็นเสมียน ทำให้มีเวลาเยอะ เพราะงานแค่เช็คนู้นเช็คนี้
@SoAhNong
@SoAhNong Жыл бұрын
สุดยอดมากกก ถึงเราจะไม่เข้าใจแต่เราก็รู้สึกถึงความยิ่งใหญ่ของมัน น้องวิวเก่งมากที่อธิบายออกมาได้
@oadpasson9034
@oadpasson9034 Жыл бұрын
จินตนาการสำคัญกว่าความรู้" เป็นวลีอันอมตะที่อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
@tomhoma
@tomhoma 10 ай бұрын
มันไม่ได้หมายความตรงตัวแบบนั้น ต้องยกบริบทในสัมภาษณ์นั้นมาด้วยไม่งั้นคนจะเข้าใจผิดว่าความรู้ไม่สำคัญ
@bunditsongsawaswong2669
@bunditsongsawaswong2669 Жыл бұрын
ลูกผมก็เป็นแบบนี้ครับ หมกหมุ่นจนเก่งมากๆ เข้าขั้นอัจฉริยะในเรื่องที่เขามีความสนใจเท่านั้น แต่จะไม่เปิดรับการเรียนรู้เรื่องอื่นๆเลย ไม่สื่อสารจนกว่าจะเจียนตัว อยู่ในโลกของตัวเองอย่างเดียว ตอนนี้ก็ 7 ขวบแล้วครับ
@dutv8005
@dutv8005 Жыл бұрын
ความคิด+ตัวเลข+วิทยาศาสตร์=เปลี่ยนโลก
@apiwatya8008
@apiwatya8008 Жыл бұрын
ขอบคุณครับ เพิ่งเข้าใจหลายๆอัน จากคลิปนี้เลย
@NewbiePhysicist
@NewbiePhysicist Жыл бұрын
ในช่วงสัมพัทธภาพทั่วไป ผมว่าหลายคนจะมองว่า ทฤษฎีนิวตันผิด แต่จริงๆแล้วไม่ผิดนะครับแค่ไม่ทั่วถึง ในบริเวณความโน้มถ่วงสูงๆใกล้ดวงอาทิตย์ ทฤษฎีไอสไตน์แม่นยำกว่านิวตัน แต่ถ้าพิจารณาที่ความโน้มถ่วงน้อยๆและระยะห่างระหว่างมวลสองก้อนไม่ไกลกันมาก เช่นใกล้ๆผิวโลก ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปกับทฤษฎีนิวตัน มันคือทฤษฎีเดียวกันครับ อยากให้มองว่าไอสไตน์ไม่ได้ลบล้างทฤษฎีนิวตัน แต่ไอสไตน์ขยายทฤษฎีนิวตันให้ใช้ได้ทั่วไปมากขึ้น
@redfanartist4393
@redfanartist4393 Жыл бұрын
คือทั้งกฎนิวตันและกฎความโน้มถ่วงนิวตันผิดนะครับ ถึงจะเป็นการประมาณที่ดีในกรณีความเร็วต่ำๆ มวลไม่มากก้อตาม ผิดทั้งในทาง concept ว่าแรงโน้มถ่วงเป็น action at a distance ฉับพลันทันใดไม่ใช้เวลา ที่ถูกพิสูจน์ว่าผิดจากการค้นพบคลื่นความโน้มถ่วง หากแรงโน้มถ่วงไม่ใช้เวบาในการส่งแรงจริงๆแล้วจะไม่มีวันมีคลื่นความโน้มถ่วง กฎนิวตันคือแบบนั้น ผิดแบบเต็มประตู ส่วนสมมติฐานเวลาอันเป็นสากลก็ผิดอีก เพราะเวลาขึ้นกับสภาพการเคลื่อนที่และสนามความโน้มถ่วง
@NewbiePhysicist
@NewbiePhysicist Жыл бұрын
@@redfanartist4393 ถ้ากฎของนิวตันผิด ทำไมตอนทำ Weak field limit สมการของไอสไตน์ ถึงลดรูปเป็นสมการความโน้มถ่วงของนิวตันครับ ทำไมไอสไตน์ถึงยังอ้างอิงนิวตันอยู่ ถ้าไม่ใช่เพราะ สัมพัทธภาพทั่วไป เป็นทฤษฎีที่ขยายทฤษฎีนิวตันให้ใช้ได้ทั่วไปมากขึ้น แน่นอนว่าว่า สมการของนิวตันมัน action on a distance ในระดับ global และความเร็วของอนุภาคมีค่าใกล้ความเร็วแสง ทำให้ concept ของนิวตันผิดที่ระดับนั้น เพราะความเร็วแสงมันมีค่าจำกัดที่ c=3*10^8 m/s แต่ที่ระดับ local ที่ limit ความเร็วของอนุภาคน้อยกว่าความเร็วแสงมากๆ แน่นอนว่า เทอม \gamma=1/\sqrt(1-v^2/c^2) ในสัมพัทธภาพต้องประมาณ 1 เทอม v^2/c^2 จะมีค่าน้อยมากๆๆๆๆๆๆ หมายความว่า limit นี้ เราสามารถมองความเร็วแสงเทียบกับความเร็วของอนุภาคว่ามันมีค่าต่างกันมหาศาลจน action on a distance มันมีค่าความคลาดเคลื่อนน้อยมาก ที่ limit นี้แหละครับ ที่กฎของนิวตันยังถูกต้องอยู่ พูดง่ายๆว่า นิวตันเป็นกรณีเฉพาะของสัมพัทธภาพครับ ถ้านิวตันผิด สัมพัทธภาพก็ควรต้องผิดด้วยจริงไหมครับ
@redfanartist4393
@redfanartist4393 Жыл бұрын
เอาง่ายๆ@@NewbiePhysicist ถ้าไม่ผิดดาวพุธก้อไม่ควงตัว แสงจะโค้งแค่ครึ่งเดียวของที่สัมพัทธภาพทั่วไปทำนายและเอกภพจะไม่ขยายตัว
@NewbiePhysicist
@NewbiePhysicist Жыл бұрын
การควงของดาวพุธ นิวตันทำนายมาก่อนสัมพัทธภาพอีกนะครับ เพียงแค่ คาบการโคจร สัมพัทธภาพ ใกล้เคียงกับค่าทดลองแค่นั้นเอง ส่วนเรื่องแสงโค้งครึ่งหนึ่งอันนี้ไม่เคยคำนวนครับ ไม่ทราบจริงๆ ส่วนเรื่องเอกภพขยายตัว สมการ Friedmann ที่อธิบายการขยายตัว สามารถคำนวนได้จาก ทฤษฎีของนัวตันนะครับ ลองไปดูพวก newtonian cosmology นะครับ มีเขียนคำอธิบายอยู่
@KeattisakSantipoommong
@KeattisakSantipoommong Ай бұрын
ผมว่าทั้งคู่ยังไปไม่สุดของกฎนะ😊นิวตันมองพื้นโลก😊ไอสไตน์มองนอกขอบฟ้า🙏🙏😅ขอบังอาจลองออกความคิดทั้งที่จบแค่ม.สามนะครับ😀แบบว่าทั้งคู่คิดในหัวข้อเดียวกันคือกฎของการกระทำที่เชื่อมโยงแค่มองคนละพื้นที่ครับ*แต่ละประเทศก็มีกฎหมายของตัวเอง,โลกกับอวกาศยอมมีความต่าง*โดยส่วนตัวผมว่ามันน่าจะมีกฎบางอย่างที่เป็นสากลนะครับแบบเดียวกับที่มนุษย์กำหนดเวลาสากลไงครับ😊เค้า(ไหนก็ไม่รู้)ว่ามนุษย์ถูกสร้างให้เหมือนพระเจ้าแต่ไม่ใช่พระเจ้าคะรับ😅
@thongkla5952
@thongkla5952 Жыл бұрын
ทำคลิปได้ดีครับฟังดูเข้าใจง่าย
@tensyasha
@tensyasha Жыл бұрын
16:20 ชอบหน้านี้ของคุณวิว 555+
@วิญญูสุธรรมฤทธิ์-ณ4ฒ
@วิญญูสุธรรมฤทธิ์-ณ4ฒ Жыл бұрын
อธิบายเรื่องยากๆให้ฟังเข้าใจได้ นายนี่สุดๆเลย
@Some_som635
@Some_som635 Жыл бұрын
ขอบคุณที่ทำคลิปอธิบายขึ้นมา เข้าใจง่ายเหนภาพมากขึ้นเลยค่ะ❤❤❤ เอนดูต้องพูดน่าจะเปนชั่วโมง แถมต้องติดหนวดด้วยย คันยุบยิบแทนน😂😂😂😂
@SAIKA_007
@SAIKA_007 Жыл бұрын
ในบรรดานักวิทยาศาสตร์ทั้งหมด ผมชอบ ไอน์สไตน์ กับ ออพเพนไฮเมอร์ สุดๆละ.💪🧠
@jakapatsnet9176
@jakapatsnet9176 Жыл бұрын
อยากให้พี่วิวคอลแลบกับอาจารย์ ป๋องแป๋ง อาจวรงย์ จันทมาศ มากๆเลยครับ อยากเห็น😅😅
@DokKhamTai_Heart
@DokKhamTai_Heart Жыл бұрын
++++คอมเม้นนี้ครับ สัก ep. พี่วิวถามอาจารย์ ป๋องแป๋ง ตอบ 💕🥰
@scarecrowch7969
@scarecrowch7969 Жыл бұрын
สนุกแน่
@breeziz9593
@breeziz9593 Жыл бұрын
คลิปนี้ดีมาก พี่วิวเล่าเข้าใจเลย เคยฟังคนอื่นมาก่อนแล้วงง พี่วิวทำให้เรื่องนี้เป็นสามสิบกว่านาทีที่ฟังแล้วม่วน
@patricio6647
@patricio6647 Жыл бұрын
รอฟังพี่วิวเล่าเรื่องแดจังกึม และพี่วิวแต่งเป็นแดจังกึมฮะ
@thanawatnoranattrakul2877
@thanawatnoranattrakul2877 Жыл бұрын
เสริมความคิดผมนะครับ จังหวะที่เกิดความบุ๋มหรือบิดโค้งในกาลอวกาศ (spacetime) ทำให้กาลอวกาศเกิดการกระเพื่อม และปล่อยคลื่นความโน้มถ่วงออกไปรอบทิศทาง ซึ่งมีผลกับวัตถุใดๆ ในกาลอวกาศทำให้เกิดการโคจรรอบวัตถุที่มีมวลใหญ่กว่าครับ จากเด็กบัญชี จุฬาฯ คนนึงครับ #จินตนาการสำคัญกว่าความไม่รู้
@Icterman
@Icterman Жыл бұрын
การบิดโค้งของกาลอวกาศอันทำให้เกิดสนามแรงโน้มถ่วง ส่วนคลื่นความโน้มถ่วง คนละอันกันครับ สาเหตุการเกิดก็ไม่เหมือนกัน
@Issara87
@Issara87 Жыл бұрын
งั้นคุณคงเข้าใจผิด กระเพื่อมกับความโค้งเพราะแนวโน้มถ่วง คนละอย่างกัน
@PK-qk3sh
@PK-qk3sh Жыл бұрын
@@Icterman การกระเพื่อมของวัตถุที่มีมวลขนาดใ่หญ่มากๆ จะทำให้เกิดคลื่นความโน้มถ่วง คลื่นความโน้มถ่วงมีความเร็วเท่ากับความเร็วแสงซึ่งเป็นความเร็วสัมบูรณ์
@Icterman
@Icterman Жыл бұрын
@@PK-qk3sh ถูกต้องครับ ซึ่งไม่ใช่สนามแรงโน้มถ่วง (ไม่ใช่แรงโน้มถ่วง)
@thanawatnoranattrakul2877
@thanawatnoranattrakul2877 Жыл бұрын
@@Icterman ถ้าเช่นนั้นคลื่นความโน้มถ่วงเกิดจากอะไรครับ ใช่วัตถุที่มีมวลมหาศาลโคจรรอบกันและกัน (หรือรวมตัวกัน) แล้วปล่อยพลังงานเป็นคลื่นความโน้มถ่วงมั้ยครับ
@PhannaratRojanapipatkul
@PhannaratRojanapipatkul Жыл бұрын
ชอบน้องวิวมากเลยค่ะ อธิบายเก่งมากๆ❤
@pprimlada3988
@pprimlada3988 Жыл бұрын
#วิวเอ๋ยบอกข้าเถิด เราอยากรู้เกี่ยวกับค่าเงินอะค่ะ เพราะสมันก่อนเราเริ่มด้วยการเอาของมาแลกกับของ แล้วอยู่ดีๆมาใช้เงินกันได้ยังไง ใครเป็นคนคิด แล้วค่าเงินแต่ละประเทศทำไมต่างกัน??????
@user-bh8gm7kz1q
@user-bh8gm7kz1q Жыл бұрын
อีกช่องนึงน่าจะมีนะคะ ส่วนตัวฟังอะไรแบบนี้เยอะแต่จำอะไรไม่ค่อยได้เหมือนกัน แอบโทษตัวเองว่าโง่ หรือแค่เอาอะไรเข้าสมองเยอะเกินไป5555
@johnwe_cube
@johnwe_cube Жыл бұрын
ไว้หาคำตอบได้จะมาเม้นให้นะคับ
@manopveeket8441
@manopveeket8441 Жыл бұрын
มาร์โคโปโล กลับไปยุโรปช่วงที่ถูกจับติดคุกเขียนเล่าเรื่องของเมืองจีนหลายเรื่อง เรื่องที่น่าสนใจเรื่องนึงคือกษัตริย์จีนสามารถใช้กระดาษเขียนข้อความและให้มีผลใช้เป็นเงินตราแลกเปลี่ยนสิ่งของได้ สมัยนั้นยุโรปต้องใช้เงิน ทองคำ โลหะมีค่าใช้เป็นเงินตรา ยังไม่มีการใช้ธนบัตร
@boontanpengpun
@boontanpengpun 7 ай бұрын
คำอธิบาย เหตุผลทำให้เข้าใจได้ง่ายครับ ทั้งๆที่มันยาก
@attaphonkaewsnod7002
@attaphonkaewsnod7002 Жыл бұрын
ขอเสริมนิดนึง ช่วงนั้นคนมีแนวคิดว่า คลื่นก็คือคลื่น อนุภาคก็คืออนุภาค แล้วคลื่นและอนุภาคก็มีคุณสมบัติต่างกันชัดเจน แล้วแสงเนี่ยมีคุณสมบัติตรงกับคลื่นทุกอย่างทำให้คนสมัยนั้นเข้าใจว่าแสงคือคลื่นไม่ใช่อนุภาค หนึ่งในสมบัติของคลื่นที่สำคุัญคือ คลื่นจะสามารถแพร่ไปยังที่ต่าง ๆ ได้ต้องมีตัวกลาง เช่น คลื่นน้ำมันต้องมีน้ำ คลื่นเสียงมันต้องมีอากาศ เป็นต้น เช่นเดียวกับแสงจากดวงอาทิตย์ที่ส่องแสงมายังโลก คนก็คิดว่าแสงคือคลื่นแน่นอน แสดงว่าในอวกาศต้องมีตัวกลางไม่งั้นแสงแพร่มาที่โลกไม่ได้แน่ คนสมัยนั้นเรียกตัวกลางนี้ว่า อีเทอร์ (Ether) ซึ่งโด่งดังในยุคมาก คนพยายามหาไอ้ตัวกลางนี้กันมาตลอด หนึ่งในนักวิจัยที่สำคัญซึ่งเป็นคนจุดประกายความคิดให้ไอน์สไตน์ก็คือ การทดลองของไมเคิลสัน-มอร์เลย์ (Michelson-Morley experiment) โดยเป็นการทดลองวัดความเร็วแสง 2 แบบ 1. ตอนความเร็วสัมผัสตัวเราวิ่งเข้าหาดวงอาทิตย์ กับ 2. ตอนความเร็วสัมผัสของตัวเราตอนวิ่งหนีออกจากดวงอาทิตย์ ซึ่งตามแนวคิดเดิม ถ้าเชื่อว่าอีเทอร์มีจริง แสดงว่าแสงด้วยมีความเร็วตอนเข้าหาและความเร็วตอนหนีออกจากดวงอาทิตย์ต้องไม่เท่ากัน ปรากฎว่าใช้เวลากว่า 20 ปีก็ไม่พบว่าความเร็วแสงจะเปลี่ยนไป ทั่วโลกงงกับผลลัพธ์นี้มาก มีไอน์สไตน์ที่ริเริ่มคิดว่าแสงไม่มันไม่เปลี่ยนความเร็วนะ (ความเร็วแสงไม่สัมพัทธ์) แต่ความเร็วแสงมันมีค่าคงที่ตลอดเวลา (ความเร็วแสงสัมบูรณ์) พูดง่าย ๆ คือมันไม่มีอีเทอร์ เพราะแสงคือทำตัวเป็นอนุภาคอนุภาค (อนุภาคมีคุณสมบัติไม่ต้องการตัวกลางในการเคลื่อนที่ไป) ทำให้ไอน์สไตน์เชื่อว่าแสงที่สะท้อนบนกระจกขึ้นลง (ในคลิปวีดีโอ) ระหว่างคลื่นที่มีความเร็วเท่ากัน แน่นอนว่าเราเห็นความยาวแสงของทั้ง 2 เหตุการณ์ไม่เท่ากันแน่ (อันนึงขึ้นลง จะสั้นกว่าอันที่ขึ้นลงเฉียง ๆ เป็นรูปพันปลา) จาก ความเร็ว= ระยะทาง / เวลา เนื่องจากความเร็วแสงมีความเร็วไม่เปลี่ยนแปลงทั้ง 2 เหตุการณ์ แต่ความยาวที่แสงเคลื่นที่ยาวไม่เท่ากัน แสดงว่าเวลาของทั้ง 2 เหตุการณ์ไม่เท่ากัน (ระยะทางมาก เวลาก็ต้องมาก ระยะทางน้อย เวลาก็ต้องน้อย เพื่อให้ ระยะทาง หารด้วยเวลาแล้วได้เท่าเดิม) เพิ่มเติมอีกนิด เรื่องแนวคิดที่ไอนไตน์มองแสงเป็นอนุภาคแล้วเอามาอธิบายเรื่องโฟโตอิเล็กตริกจึงปังกับคนยุคนั้นมาก เพิ่มเติมอีกนิด 2 ส่วนตัวไอน์สไตน์ไม่เชื่อในควอนตัมสักเท่าไรเพราะควอนตัมใช้ความน่าจะเป็นในการอธิบาย (เช่น เรื่องแมวของชเรอดิงเงอ ที่แมวตาย 50% รอด 50% หรือที่ไอน์สไตน์บอกว่าพระเจ้าไม่ทอยลูกเต๋าหรอก) และมีหลักความไม่แน่นอนไฮนเซนเบิร์ก ยังไงก็แล้วแต่ ปัจจุบันมีหลายปรากฎการณ์ที่ใช้ควอนตัมอธิบายได้แม่นยำ และโลกก็ใช้เทคโนโลยีควอนตัมขึ้นเรื่อย ๆ เพิ่มเติม 3 หากเจอทฤษฎีสนามควอนตัมแนะนำให้ หนีไป!!!!! เขียนไปเขียนมาไม่นิดนึงแฮะ
@kkbbbkkk1978
@kkbbbkkk1978 Жыл бұрын
อ่านแล้วเข้าใจและเห็นภาพมากขึ้นมากเลยค่ะ ขอบคุณนะคะ
@นพชอุ่ม
@นพชอุ่ม Жыл бұрын
หนีไปไหนดีล่ะ
@dragonlion1272
@dragonlion1272 Жыл бұрын
จากช่อง Podcast ม้้ยครับเนี่ย เหมือนเป๊ะ
@NewbiePhysicist
@NewbiePhysicist Жыл бұрын
เพิ่มเติมด้วยนะครับ คนที่คิดว่าแสงเป็นอนุภาคคนแรกคือ นิวตัน ครับและนอกจาก Michelson-Morley แล้วอีกหนึ่งแรงบันดาลใจของไอสไตน์ที่คิดว่าแสงเป็นอนุภาคแน่ๆ คือ Max plank ที่ค้นพบว่า วัตถุที่เอาไปเผาไฟให้ร้อนมากๆ มันจะปล่อยพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาเป็นค่าที่ไม่ต่อเนื่อง ค่าที่ไม่ต่อเนื่องของพลังงานนี้ ไอสไตน์ก็จินตนาการว่ามันก็คือ ก้อนพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั่นเอง และแสงก็เป็นหนึ่งในคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเช่นกัน เรื่องของก้อนพลังงานตรงนี้ก็เป็นจุดเริ่มต้นของ กลศาสตร์ควอนตัม ครับ
@นพชอุ่ม
@นพชอุ่ม Жыл бұрын
หนีไปจริงๆด้วยแฮะ กะจะถามว่าสนามควอนตัมนี่สนามของอะไรสักหน่อย 😏
@ljgod8736
@ljgod8736 Жыл бұрын
รักช่องนี้มากๆ❤
@อู๊ดนครฯ
@อู๊ดนครฯ Жыл бұрын
เชื่อว่ามีหลายคนที่จำ คำว่า สัมพันธภาพ แทนที่จะเป็น สัมพัทธภาพ ซึ่งเป็นเพราะ ไม่เข้าใจความหมายของคำแปลกๆในภาษาไทย ผมเองก็งงอยู่หลายปี พอไปดูภาษาอังกฤษถึงรู้ว่า เข้าใจผิดมาตลอด
@จิรศักดิ์วัธนวิสูตร-พ8ธ
@จิรศักดิ์วัธนวิสูตร-พ8ธ Жыл бұрын
แอบชอบคอสเพลย์แต่ละคลิป ❤
@nattychannel222
@nattychannel222 3 ай бұрын
เจ้าของช่องเก่งมาก กล้าเล่าเรื่องประวัติ หรือ เรื่องที่คนยังถกเถียงกัน และในยุคนี้ที่คนเก่งคีย์บอร์ดล้นโลก เป็นกำลังใจให้เจ้าของช่องค่ะ ❤ ส่วนตัวเราชอบฟัง ตอนทำงาน ได้ความรู้ใหม่ๆ บางครั้งก็คิดดีใจว่าไม่ใช่คนรู้เยอะ มีความสุขมากกับการรับรู้เรื่องราวใหม่ๆ เปิดกว้าง ชอบเรียนรู้ บางทีไปอ่านคอมเม้นท์ เพื่อนๆบางคนที่ ด่าไว้ก่อน ก็นึกสงสารเค้า ชีวิตเค้าเคยมีความสุขบางไหมนะ 😂❤
@NukookaiSomrutai
@NukookaiSomrutai Жыл бұрын
#วิวเอ๋ยบอกข้าเถิด อยู่ให้เล่าตำนานแม่นาคพนะโขนงค่ะ
@วันพรุ้งนี้ต้องก้าวต่อไป
@วันพรุ้งนี้ต้องก้าวต่อไป 9 ай бұрын
อธิบายก็เก่งแต่งคอสเพลชุดนี้คือได้เลย น่ารักเลย
@santijariyavichai
@santijariyavichai Жыл бұрын
อยากให้น้องเล่าเรื่อง หลุมดำบ้าง ค่ะใครไปมาหรือแค่ส่องกล้องแล้วพูดเดาเอาเอง
@Thilaphong_Sisouphane
@Thilaphong_Sisouphane Жыл бұрын
ปัจจุบันข้อมูลเกี่ยวกับ "หลุมดำ" ยังเป็นแค่จินตนาการของนักวิทยาศาสตร์อยู่น่ะ..!!
@MinaKinomoto
@MinaKinomoto Жыл бұрын
@@Thilaphong_Sisouphane ถึงขั้น ถ่ายภาพได้แล้ว ไม่น่าเป็นแค่จินตนาการนะครับ ถ้าจะพูดให้ถูกต้องเป็น รายละเอียดของหลุมดำ ยังเป็นแค่ทฤษฎี ต่างหาก ไม่ใช่จินตนาการ
@NormalVillager
@NormalVillager Жыл бұрын
ตามช่องพุทโธเลี่ยน จะบอกว่าพระพุทธเจ้าเคยไปมาแล้วครับ
@pianonakub
@pianonakub Жыл бұрын
สิ่งต่างๆที่เรารู้ในเอกภพนี้ไม่ได้เกิดจากการไปมาครับ ด้วยวิทยาการปัจจุบันยังส่งคนไปได้ไม่ถึงดาวอังคารเลยครับ ส่วนใหญ่แล้วใช้การคำนวณตามทฤษฎีว่ามันควรจะมีควรจะเป็นและอยู่ตรงไหน แต่เทคโนโลยีที่ใช้ในการตรวจจับ ไปจนถึงการถ่ายภาพก็พัฒนาไปเรื่อยๆจนเราค้นพบอะไรหลายๆอย่างมากมายแม้มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าจากบนโลก อย่างหลุมดำนี่ก็พิสูจน์กันมานานมากแล้วครับว่ามีอยู่จริง ล่าสุดพึ่งมีการถ่ายภาพ(เกือบ)จริง ของหลุมดำได้แล้วในปี 2019
@nedstark9238
@nedstark9238 5 ай бұрын
@@Thilaphong_Sisouphane หลุมดำมีจริง แต่ที่เราไม่รู้คือข้างในหลุมดำมีอะไร แนะนำช่อง ช่างสงสัย ครับ ข้อมูลแน่น ฟังสนุกครับ
@thanakornkoraneesak6024
@thanakornkoraneesak6024 8 ай бұрын
ดีมากเลย ทำคลิปแบบย่อแบบ ไฮไลท์ซึ่ง เหมื่นเราเคย ดู หรือฟัง จากหลาย ๆช่อง ทาง
@silchaia.700
@silchaia.700 Жыл бұрын
ตอนเรียน Quantum physics ยากจริง จำได้ว่านั่งงงกันอยู่ครึ่งห้อง ต้องให้คนเก่งๆช่วยอธิบายอีกหลายรอบกว่าจะเข้าใจ อ. อธิบายโคตรงง 😂😂
@gaviel5750
@gaviel5750 Жыл бұрын
เรียนสายไรครับ
@silchaia.700
@silchaia.700 Жыл бұрын
@@gaviel5750 วิศวกรรมครับ
@เทพพยากรณ์-อ8ฟ
@เทพพยากรณ์-อ8ฟ Жыл бұрын
เรียนควอมตั้มก็อย่าใช้สามัญสำนึก คิดซะว่ามันคือกฎมั่วและต้องวิ่งตามกฏมั่วให้ได้
@faleona6869
@faleona6869 Жыл бұрын
เป็นคลิปที่ ต้องตั้งใจฟังให้ดีมาก บอกได้เลยว่า เข้าใจเพียงแค่ 50% XD แต่สรุปได้ดีมากคะ
@ThaTo3739
@ThaTo3739 Жыл бұрын
จะมีวลีหนึ่งที่คนชอบใช้กันคือ "จินตนาการสำคัญกว่าความรู้" แต่ที่สำคัญกว่าที่ว่านั่นคือการเริ่มต้นทำบางสิ่ง ไม่ได้หมายถึงในแง่ของการใช้งาน จากคลิปนี้จะเห็นได้ว่าผลงานทั้ง 4 เริ่มต้นจากว่าถ้าปรากฏการณ์นั้นเป็นจริงมันเป็นจริงจากอะไร และเราก็ลองจินตนาการว่าเกิดจากสิ่งหนึ่งแล้วเราก็จะใช้ความรู้และตรรกะต่างๆ นำพาเราจากจุดนั้นให้มาสู่ผลลัพธ์เกิดเป็นทฤษฎีและถูกพิสูจน์จนกลายเป็นความรู้ในเวลาต่อมา ดังนั้นเราอาจจะพูดใหม่ได้ว่า "จินตนาการสามารถพาคุณไปได้ทุกที่ แต่ความรู้จะพาคุณไปถึงจินตนาการนั้นได้ในโลกของความเป็นจริง หรือก็คือความรู้จะช่วยให้จินตนาการของคุณสมบูรณ์มากขึ้น" นั่นเองครับ
@Pang_30
@Pang_30 4 ай бұрын
พี่ทำให้หนูมีแรงบันดาลใจ ในการเรียน ❤❤
@santijariyavichai
@santijariyavichai Жыл бұрын
เพราะ ไอน์สไตน์ คิดไม่เหมือนชาวบ้านคิดสิางที่ผู้คนยุคนั้นไม่คิด
@linmemygrenn
@linmemygrenn Жыл бұрын
ผมไม่คิดว่าเขาจะรักผม
@NatthapatSutthachayanon
@NatthapatSutthachayanon Жыл бұрын
เรียนอักษรแต่สามารถอธิบายสิ่งนี่แบบในคลิปได้ ถือว่าสุดยอดมากครับพี่วิว
@Official-KinneGroup
@Official-KinneGroup Жыл бұрын
Eคือ energy M คือ milk ส่วน C คือcoffee และยกกําลัง2คือสองแก้ว ดังนั้นคือ Energy = Milk+Coffee2😂😂😂
@freshdrummer9869
@freshdrummer9869 Жыл бұрын
ผิด mc = มิลช๊อค ยกกำลัง2 = 2ลุง ลุงป้อม ลุงตุ่
@Hala-t6e
@Hala-t6e Жыл бұрын
= Latte ☕🗿
@ptcirakh
@ptcirakh Жыл бұрын
สงสัยไอน์สไตน์ ทำงานพาสไทม์เป็น บาริสตา
@dragonlion1272
@dragonlion1272 Жыл бұрын
ก๊อปมาจากที่อื่น
@NO_EPIX
@NO_EPIX Жыл бұрын
​@@dragonlion1272 ทำไม... มันติดลิขสิทธิ์หรอ?🤔
@behum1776
@behum1776 Жыл бұрын
ทำซีรี่ย์ชีวประวัติศิลปินนักร้องได้ไหมค่ะคุณวิวเอ๋ยบอกข้าเถิด😊
@behum1776
@behum1776 Жыл бұрын
ทำเลยๆ
@behum1776
@behum1776 Жыл бұрын
แนะนำ
@Patchanan21239
@Patchanan21239 Жыл бұрын
ดันค่ะ 🎉
@pattamayaemkong
@pattamayaemkong Жыл бұрын
คุณวิวเจ๋งมากอ่ะ เข้าใจง่ายสุดยอด
@kevinv.6222
@kevinv.6222 Жыл бұрын
เป็นคลิปแรกของช่อง ที่เราฟังไม่จบ… เด็กสายศิลป์อย่างเรานั้น จอดตั้งแต่10นาทีแรก 🥹
@Leviathan.Astrea
@Leviathan.Astrea Жыл бұрын
แค่อิตัวเลขที่มีวงเล็บมียกกำลังก็จอดละนะ ยิ่งมีตัว i ตัว e ตัยยึกๆยือๆนี่จบเลย😂😂
@จักรพันธ์ไชยสุระ
@จักรพันธ์ไชยสุระ Жыл бұрын
เป็นกำลังใจให้นะครับ5555
@jablotronsecuritybymdf9203
@jablotronsecuritybymdf9203 Жыл бұрын
น้องวิวนี่สไตล์การเล่า น่าสนใจมาก เก่งจริง ๆ
@Issara87
@Issara87 Жыл бұрын
เรื่องphoto electric คือไอสไตล์ว่าแสงมีสถานะทั้งอนุภาคและคลื่น ในเวลาเดียวกัน ไม่มีมวลแต่มีผลกับอนุภาคอื่นได้ ที่ว่าทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกไป ส่วนเรื่องกาลอวกาศ คือแรงโน้มถ่วง แสง เวลาคือสิ่งเดียวกัน ยิ่งเราไปได้เร็วใกล้แสง เวลาเราจะยิ่งช้าลง หรืออยู่กับวัตถุที่่มวลมหาศาลก็ทำให้เวลาช้าลง และแสงโค้งงอได้ คนปกติจะคิดออกไหมเรื่องแบบนี้
@walkafterworkwaw7641
@walkafterworkwaw7641 Жыл бұрын
เอาคำว่าแสงออกดีกว่า เปลี่ยนเป็นค่าความเร็วแสง เพราะตัวแสง ไม่ได้บ่งบอกถึงความเร็วช้าของเวลา
@Issara87
@Issara87 Жыл бұрын
@@walkafterworkwaw7641 ไม่รู้นะ เอาออกได้มั้ย ใครๆเขาก็ใช้กันแบบนี้ มันคงแล้วแต่การตีความของคำ เหมือแรงดึงดูดกับแรงโน้มถ่วง หรือบอกว่าสิ่งเหล่านี้คืออันเดียวกัน หรือแค่มันสัมพัทธ์กัน แต่ละสิ่งส่งผลกับอีกสิ่งหนึ่งเสมอ สรุปคือเราทึ่งกับคนที่นั่งคิดยังไง จนเอาสิ่งพวกนี้มารวมกันได้ มันเกินสมองของเราจะคิดตามได้ในการได้ยินครั้งแรก
@walkafterworkwaw7641
@walkafterworkwaw7641 Жыл бұрын
@@Issara87 จริงๆ สองคำนี้ต่างกันเยอะมากเลยครับ ค่าความเร็วแสง คือ ค่าที่คงที่ที่ไม่ว่ากรอบอ้างอิงไหน มันจะเท่ากัน ค่าความเร็วของแสง คือ ความเร็วของตัวแสงเอง ซึ่งความเร็วตัวแสงนั้นเปลี่ยนตามตัวกลางที่มันเคลื่อนที่ผ่าน อย่างแสงลงน้ำ แสงมันก็จะช้าลงนิดนึง แต่เวลาก็ไม่ได้ช้าตาม เพราะฉนั้น แสงไม่ได้มีผลต่อเวลา
@nicksocold7396
@nicksocold7396 10 ай бұрын
สุดยอด นักอักษรฯ อธิบายฟิสิกส์ได้แจ่มแจ้งมาก
@mrtarn55
@mrtarn55 8 ай бұрын
รู้เรื่องกว่าครูฟิสิกส์สมัยเรียนแบบหาที่เปรียบมิได้ 55555
@RachaBun-t9c
@RachaBun-t9c Жыл бұрын
สุดยอดครับ ฟังคลิปจบ กลับไปดู interstellar อีกรอบ อินเพิ่มเข้าไปอีก
@another_z
@another_z Жыл бұрын
จากเรื่อง interstella ที่ลงไปดาวที่เป็นน้ำ เวลาไม่เท่ากันเพราะแบบนี้เอง บทความที่ 3 ของไอน์สไตน์ ความเร็วขอบหลุมดำตามทฤษฎีคงจะเร็วมากเลย ผมเข้าใจถูกมั้ย😂
@NewbiePhysicist
@NewbiePhysicist Жыл бұрын
ไม่ใช่นะครับ กลัวเข้าใจผิด เวลาที่ไม่เท่ากันบนดาวน้ำในเรื่อง interstella ไม่ได้มาบทความที่3 ของไอสไตน์นะครับ แต่มาจากทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป อย่างนี้ครับ การยืดออกของเวลามี 2 วิธีที่ทำได้ คือ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงๆ และไปอยู่ในที่ความโน้มถ่วงสูงๆ โดย เวลาที่ไม่เท่ากันบนดาวน้ำหรือบนหลุมดำ มาจาก อย่างหลังครับ คือความโน้มถ่วงมันสูงกว่าบนโลก ทำให้เวลาบนดาวนั้นช้ากว่าบนโลกครับ
@mo3-cy8pp
@mo3-cy8pp Жыл бұрын
ในฐานะเด็กศิลป์เช่นกันเข้าใจเลย 😂ขอบคุณที่พยายามทำออกมาจนสำเร็จนะคะ ค่อยข้างหายากเลยเรื่องวิทย์ที่อธิบายให้เข้าใจได้ในภาษาคนที่ไม่ได้เรียนมาทางนี้ รัวมือๆ 🎉🎉🎉
@สมคิดหัตทะรักษ์
@สมคิดหัตทะรักษ์ Жыл бұрын
นักวิทกับนักปราช นักไหนฉลาดสุด🤔🤔😅😅🤣(อยากรู้🤣🤣🤣)
@Puudzey
@Puudzey Жыл бұрын
แล้วแต่ละบุคคล
@lcezy7935
@lcezy7935 Жыл бұрын
นักวิทย์ชุบแป้งทอด
@Issara87
@Issara87 Жыл бұрын
แสดงว่าคุณ แยกแยะวิทย์ฯกับปรัชญาไม่ออกนะสิ วิทย์ฯคือสิ่งที่พิสูจน์ได้แน่นอน ผ่านกระบวนกันแบบนี้ จะต้องได้ผลแบบนี้ ส่วนปรัชญาคือรูปแบบแนวคิดวิธีการ แต่ผลไม่ต้องเหมือนกันก็ได้ เช่นการเมืองการปกครอง การบริหารงาน หรือศาสนา แล้วคนแบบไหนฉลาด ก็คงเป็นคนที่พาไปดวงจันทร์ได้มั้ง
@พนมพรกิติคํา
@พนมพรกิติคํา 3 ай бұрын
คลิปนี้ให้ MVP เลยจ้า
@topone8699
@topone8699 5 ай бұрын
ใช่ครับเป็นคำตอบที่ถูกต้อง
@jmgachannel4952
@jmgachannel4952 Жыл бұрын
กำลังสนุกเลย อยากฟังต่ออะ 🤧🤧🤧
@001นีรชาจิ๋วแหยม
@001นีรชาจิ๋วแหยม Жыл бұрын
ชอบฟังพี่เล่า สนุกค่ะ
@thipmalakhamsythala4538
@thipmalakhamsythala4538 Ай бұрын
เรารักคุณมาก คงที่เท่ากับความไวแสงเลย
@vipadapantura8111
@vipadapantura8111 Жыл бұрын
ชื่นชมค่ะ เก่งมากๆเลยค่ะ👏
JISOO - ‘꽃(FLOWER)’ M/V
3:05
BLACKPINK
Рет қаралды 137 МЛН
Their Boat Engine Fell Off
0:13
Newsflare
Рет қаралды 15 МЛН
Who is More Stupid? #tiktok #sigmagirl #funny
0:27
CRAZY GREAPA
Рет қаралды 10 МЛН
5000 Year History of Harry Potter Magical World | Point of View
29:50
Point of View
Рет қаралды 2,2 МЛН
JISOO - ‘꽃(FLOWER)’ M/V
3:05
BLACKPINK
Рет қаралды 137 МЛН