เรียนรู้จากข่าว : รู้จักโรคอัลไซเมอร์จนถึงระดับ Cell

  Рет қаралды 320,729

หมอเฉพาะทางบาทเดียว

หมอเฉพาะทางบาทเดียว

2 жыл бұрын

เรียนรู้จากข่าว : รู้จักโรคอัลไซเมอร์จนถึงระดับ Cell
โรคอัลไซเมอร์ Alzheimer
ภาวะสมองเสื่อมคืออะไร
สมองเสื่อม เป็นภาวะที่สมรรถภาพการทำงานของสมองถดถอยบกพร่องในด้านการรู้คิด ได้แก่ ความจำ การตัดสินใจ การวางแผน และบริหารจัดการ การรับรู้รูปทรง และการกะระยะ การใช้ภาษา สมาธิ หรือ ความใส่ใจ ความสามารถในการรับรู้เกี่ยวกับสังคมรอบตัว โดยมีผลกระทบต่อความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันและการเข้าสังคม
สมองเสื่อมเกิดได้จากหลายสาเหตุ ทั้งสาเหตุที่แก้ไขได้และแก้ไขไม่ได้ เช่น โรคอัลไซเมอร์ โรคหลอดเลือดสมอง โรคพาร์กินสัน เนื้องอกสมอง โพรงน้ำในสมองขยายตัว โรคขาดฮาร์โมนต่อมไทรอยด์ โรคติดเชื้อบางชนิด เช่น ชิฟิลิสและเอดส์ เป็นต้น ปัจจบันพบโรคอัลไซเมอร์เป็นสาเหตุของภาวะสมองเสื่อมที่พบบ่อยที่สุด
โรคอัลไซเมอร์คืออะไร
โรคอัลไซเมอร์ เป็นสาเหตุหนึ่งของภาวะสมองเสื่อม และเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุด โดยความชุกของโรคจะเพิ่มขึ้นตามช่วงอายุ พบความชุกร้อยละ 10-15 ในประชากรที่อายุมากกว่า 65 ปี และพบร้อยละ 20-30 ในประชากรที่อายุมากว่า 80 ปี
สาเหตุของโรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์เกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างในสมองจนบางส่วนของสมองทำหน้าที่ลดลง เกิดการฝ่อ ทำให้กระทบกับการทำงานของสมองส่วนนั้น และแสดงอาการต่าง ๆ ออกมา เช่น หลงลืม ถามซ้ำ ๆ ฯลฯ อย่างไรก็ตามยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดของโรคอัลไซเมอร์ มีการศึกษาพบว่าในสมองของผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้มีการสะสมของโปรตีนบางชนิด เช่น อะไมลอยด์ (amyloid) และ ทาว (tau) มากกว่าปกติ
อาการของโรคอัลไซเมอร์เป็นอย่างไร
ผู้ป่วยจะมีปัญหาด้านความจำเป็นอาการหลัก ผู้ป่วยจะไม่สามารถจดจำ และเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ได้ จึงมักจะลืมว่าวางของไว้ที่ไหนทั้งที่พยายามจำ ถามซ้ำ ๆ พูดซ้ำ ๆ เป็นต้น
เมื่อโรคดำเนินไปจะทำให้เกิดความบกพร่องของการรู้คิดด้านอื่นร่วมด้วย เช่น หลงทาง คิดเลขไม่ได้ ไม่สามารถจัดการกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐานได้เอง มีปัญหาด้านอารมณ์ ปัญหาพฤติกรรม และความผิดปกติทางจิตตามมา เช่น หงุดหงิด เฉื่อยชาและเฉยเมย ขาดการยับยั้งชั่งใจ มีอาการหลงผิด ประสาทหลอน เป็นต้น
ปัจจัยเสื่องของการเกิดโรคอัลไซเมอร์
อายุที่เพิ่มขึ้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่สุด โดยพบว่าหลังอายุ 65 ปี ผู้ป่วยจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเพิ่มเป็น 2 เท่าในทุก ๆ 5 ปีที่อายุมากขึ้น อย่างไรก็ตามมีผู้ป่วยที่มีอายุต่ำกว่า 65 ปีด้วยเช่นกัน
พันธุกรรม เช่น มีญาติสายตรงในครอบครัวที่ป่วยด้วยโรคนี้หลายคน , มียีนบางอย่างเช่น ApoE4 เป็นต้น
การได้รับอุบัติเหตุที่ศีรษะ มีรายงานการศึกษาทางระบาดวิทยาหลายรายงานพบว่า ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์และภาวะสมองเสื่อมจากสาเหตุอื่น ๆ มีประวัติเคยได้รับอุบัติเหตุที่ศีรษะมากกว่าคนที่ไม่มีสมองเสื่อม อย่างไรก็ตามในบางการศึกษาไม่พบว่าการได้รับอุบัติเหตุที่ศีรษะมาก่อนเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองเสื่อม
พบว่าโรคอัลไซเมอร์มีส่วนที่เกิดจากโรคของหลอดเลือด รวมถึงพบร่วมกับโรคหลอดเลือดในสมองได้บ่อย ดังนั้นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองจึงอาจเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์ด้วย ดังนี้
น้ำหนักเกินมาตรฐาน การขาดการออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวานการป้องกันโรคอัลไซเมอร์
เนื่องจากยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของการเกิดโรคอัลไซเมอร์ การป้องกันโรคจึงเป็นการลดปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดโรคดังนี้
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว และโคเลสเตอรอลสูง
การดูแลรักษาผู้ป่วยสมองเสื่อมอัลไซเมอร์
ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานการรักษาโรคให้หายขาด จึงมุ่งเน้นการดูแลรักษาเพื่อช่วยลดความพกพร่องทางการรู้คิด และสนับสนุนให้ผู้ป่วยสามารถประกอบกิจวัตรประจำวันและเข้าสังคมได้มากที่สุด โดยแบ่งเป็น
การรักษาโดยไม่ใช้ยา (Non-Pharmacological Management)
การรักษาด้วยวิธีนี้มีอยู่หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับภาวะความรุนแรงของโรคและขีดความสามารถในการเรียนรู้ของผู้ป่วยแต่ละราย โดยมุ่งเน้นให้ผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมตามระยะของโรค ดังนี้
1.1การดูแลเรื่องกิจวัตรประจำวันและการฝึกทักษะการเข้าสังคม
ให้ผู้ป่วยได้ร่วมดูแลเรื่องกิจวัตรประจำวันของตนเองโดยมีผู้ดูแลคอยสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือตามขีดความสามารถของผู้ป่วย
สนับสนุนให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมที่มีส่วนร่วมในสังคมครอบครัวและสังคมภายนอกตามความเหมาะสม
1.2การดูแลปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
ลดสิ่งกระตุ้นที่ทำให้อาการแย่ลง เช่น เสียงรบกวน รวมถึงการปรับสภาพที่อยู่อาศัยให้ปลอดภัยง่ายต่อการใช้งาน เช่น ให้พื้นเรียบ ไม่มีของเกะกะทางเดินและแสงสว่างเพียงพอ เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุ
1.3การให้ความรู้กับผู้ดูแลผู้ป่วย
เนื่องจากผู้ป่วยจะเข้าสู่สภาวะที่ต้องพึ่งพา ผู้ดูแลเป็นบุคคลสำคัญที่สุดที่ต้องเข้าใจการดำเนินของโรค และความรู้เกี่ยวการดูแลผู้ป่วยในแต่ละระยะของโรค รวมไปถึงสนับสนุนการดูแลตนเองของผู้ดูแลผู้ป่วย
1.4การฟื้นฟูผู้ป่วยสมองเสื่อมด้านกายภาพ
เนื่องจากผู้ป่วยที่มีอาการสมองเสื่อมอาจมีขีดความสามารถในการใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ลดลง การปรับอุปกรณ์ให้ง่ายต่อการใช้งานหรือปรับกิจกรรมให้เรียบง่ายและปลอดภัย รวมไปถึงการฝึกการกระตุ้นระบบประสาทสัมผัสโดยการบีบ จัด นวด การกระตุ้นกิจกรรมการเคลื่อนไหวจะทำให้ผู้ป่วยได้ฝึกสมรรถภาพทางกายภาพได้ดียิ่งขึ้น
1.5การดูแลด้านพฤติกรรมและจิตบำบัด
ปัญหาเรื่องพฤติกรรมและอารมณ์เป็นความผิดปกติที่พบได้บ่อย อาจต้องใช้การรักษาควบคู่ทั้งการรักษาด้วยยาและพฤติกรรมและจิตบำบัด อาจใช้การให้ความรู้แก่ผู้ดูแลเพื่อให้เข้าใจผู้ป่วยและมีวิธีการดูแลได้อย่างเหมาะสม เช่น การเบี่ยงเบนความสนในผู้ป่วยออกจากเรื่องที่กำลังหงุดหงิดหรือโมโห การเสริมสร้างด้านอารมณ์ด้วยดนตรีบำบัด เป็นต้น
"

Пікірлер: 437
@MOM-ob6ek
@MOM-ob6ek 2 жыл бұрын
จะบอกให้นะแถวบ้านมีคนเป็นอัลไซเมอร์ทุกบ้านรวมทั้งคนในครอบครัวฉัน......คนที่เป็นนะ...ตอนที่เติบโตมามีครอบครัวชอบบ่นด่าว่า...บางคนหยาบคายตั้งแต่ยังไม่แก่....ขี้อิจฉา...พอแก่อาการเริ่มมากขึ้นๆๆๆๆบางคนแก้ผ้าในบ้านผ้าผ่อนไม่นุ่ง....จำลูกไม่ได้...ลืมกินน้ำ.....ลืมกลืน...ลืมว่าเดินยัง...ลุกยังไง...ต้องใจเย็นๆค่อยๆพูดให้กำลังใจ.....เขาจะค่อยเลวลงอย่างช้าๆ....ไม่งั้นจะเป็นทรุดเร็วมาก.....น่ากลุ้มใจไปไหนต้องพาไปดูแลใกล้ชิด....ปล่อยไปเองไม่ได้....ความรักความเคารพต้องมีให้เขาเสมอ....อย่าพูดเหมือนเขาเป็นคนบ้าไปแล้ว..และคิดว่าเขาไม่รู้....เขารู้ๆหายๆ...ใจไม่เย็นพอไม่ต้องทำเพราะจะทำทุเรศกะคนไข้..จะเป็นบาปนะ...อย่าคิดว่าคนที่จ้างมาจะะทำดีกะคนไข้...คนที่จ้างมาแค่ต้องการเงินลับหลับเรามันต่ำทรามมาก... .ติดกล้องไว้ดูด้วย
@TXTH4321
@TXTH4321 2 жыл бұрын
อยู่เมกาเคยทำเนริสซิ่งโฮม แผนกอัลไซเมอร แต่เป็นระยะเริ่มต้น เค้าเรียกแผนกเรา younger คนไข้ พูดๆซ้ำๆ หลงลืม แต่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง แต่อายุบางคนที่เสียร่วม 100 พอเริ่มเปลี่ยนระยะต้น เป็นมากขึ้น เริ่ม นั่งดูอาหาร ไม่ริุวิธีการกิน ต้องป้อน ถ้าป้อน แล้วบอกว่า เคี้ยว เค้าเคี้ยวได้ okay บอกให้กลืนแล้ว ยังกลืน okay แต่กลุ่มที่ ป้อน แล้วไม่เคี้ยว ไม่กลืน พยาบาลจะโทรแจ้งครอบครัว เตรียมสั่งลาได้ เตรียมงานได้ พยาบาลจะให้ยา ทำให้พวกคนไข้ค่อย ผ่อนคลาย หลับนานมากขึ้นแล้วค่อยๆ ไปเอง
@DoctorNearU
@DoctorNearU 2 жыл бұрын
ขอบคุณที่มาเล่าประสบการณ์ให้ฟังครับ
@TXTH4321
@TXTH4321 2 жыл бұрын
ขอบพระคุณคุณหมอเช่นกันค่ะที่แชร์ข้อมูลค่ะ
@mythaichannel9082
@mythaichannel9082 2 жыл бұрын
เคสคนไข้ ของเรา ตอนนี้ ทำ hospice home care เลย ค่ะ
@oilovetaam
@oilovetaam 2 ай бұрын
ตอนนี้เรา 51 จำไม่ได้ว่าจะเดินไปหยิบอะไร แล้วนึกออก พูดใช้คำผิด แล้วก็เข้าใจอะไรซับซ้อนไม่ไว แถมลืมจะเก็บครีมทาหน้าดันไปเปิดตู้เย็น แต่ฉุดนึกได้อยู่ แล้วก็จะพูดไรลืม แล้วจะเล่าสิ่งที่ฟังมานึกไม่ออก เรากำลังจะสมองเสื่อมไหมคะ เราเป็นไบโพล่าร์ 16 ปี ไม่รู้เราเริ่มสมองเสื่อมไหมคะ เป็นอาการเริ่มต้นไหม
@user-vd9nn9zf7y
@user-vd9nn9zf7y 2 ай бұрын
พันธุกรรม ก็สำคัญ ในทุกๆโรค
@wanhawkins3513
@wanhawkins3513 8 ай бұрын
อธิบายสุดชัดเจนค่ะ..ตัวเอง อ่านข้อมูลจาก เมโย คลืนิคใด้..สิ่งที่ใด้เพิ่มเติมจากคำ อธิบายของคุณหมอคือ..ข้อมูล..ความเอื้ออาทร. และกำลังใจ.. อายุ 67. เรื่มสังเกตุอาการด่นชัด..จำ locking in computer code ซี่งใช้มา สามปีไม่ใด้..ใช้เวลานืกเกือบ ช.มไม่ใด้ผล..พอหา code เจอก็ไม่ใกล้เคียงกับที่จำใด้เลย..ความจำเสื่อมแน่ไม่สงสัยค่ะ..ก็จะเริ่มที่ Mind Diet ตามที่หมอแนะนำค่ะ❤❤❤❤ แ
@DoctorNearU
@DoctorNearU 8 ай бұрын
ขอบคุณครับ🙏😊❤️
@user-qs1eq9xe9b
@user-qs1eq9xe9b 2 жыл бұрын
ชอบคุณหมอมากๆคะ ชอบตรงที่ไม่ต้องทำตามฝรั่ง ถูกคะ กินผักเยอะๆช่วงหนูกินผักเยอะ ลดโปรตีน ดีขึ้นมากคะ หนูน่าจะเป็นระยะที่ 2 คะ เพราะหนูเป็นโรคทางจิตเวชมานาน
@luckyruethairat5842
@luckyruethairat5842 Жыл бұрын
กินผักเยอะ กินเนื้อสัตว์น้อยลง กินอาหารรสจืดเกลือน้อย ขอบคุณมากนะคะ คุณหมอ
@prasertaraya3249
@prasertaraya3249 6 ай бұрын
คุณหมอเตรียม ข้อมูล และ การ presentation ได้ดีมากๆค่ะ
@PingpongSarunnat
@PingpongSarunnat 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะคุณหมอ ที่ช่วยให้ความกระจ่าง เกี่ยวกับ โรค Alzheimer จะรีบปรับเรื่องอาหารให้เหมาะสมโดยด่วนค่ะ 🙏
@WLee-rx9cl
@WLee-rx9cl 2 жыл бұрын
คุณหมออธิบายดีมากๆค่ะ เคยอ่านหนังสือที่ภรรยาดูแลสามีตั้งแต่เริ่มมีอาการของโรคจนเสียชีวิต เป็นโรคที่น่ากลัว วันนี้ฟังคุณหมอแล้วทำให้รู้ถึงสาเหตุและแนวทางการป้องกัน เป็นประโยชน์จะได้นำไปปฏิบัติ ขอบคุณค่ะ
@yupakaw9216
@yupakaw9216 2 жыл бұрын
ชื่อหนังสืออะไรคะ อยากอ่าน
@tofaanshinwari6431
@tofaanshinwari6431 2 жыл бұрын
⏰😱⏰😱👧👜⤵ kzbin.info/www/bejne/jZTOqaapnqp1bKc👈
@angelkae2001
@angelkae2001 2 жыл бұрын
ชื่อหนังสืออะไรคะพี่
@kingkarnlaohathai4601
@kingkarnlaohathai4601 16 күн бұрын
ตามหา paper นี้มานาน เป็นพระคุณอย่างยิ่ง ขอบคุณมากๆ ขอให้อาจารย์เจริญยิ่งๆขึ้น
@DoctorNearU
@DoctorNearU 16 күн бұрын
ยินดีครับ
@user-lx4pu1ig3m
@user-lx4pu1ig3m Жыл бұрын
เคยบอกหมอไปแล้วครั้งนึงคะ คนญี่ปุ่นเป็นโรคความจำเสื่อมอายุต้องบอกว่าโคตรอายุยืนเลยค่ะที่พี่ดูแลอยู่อายุน้อยสุด49อายุสูงสุด104ปีค่ะตอนนี้ก็ยังอยู่ค่ะ
@patpatchannel4019
@patpatchannel4019 5 ай бұрын
ขอบคุณมากค่ะ...คุณแม่ดิฉันป่วยโรคนี้ ท่านเสียชีวิตแล้ว...วีดีโอนี้เป็นประโยชน์มากค่ะ แชร์แล้ว..คุณหมอช่วยทำวีดีโอ เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยด้วยค่ะ...เพราะมีปัญหามากๆ ถ้าคนดูแลไม่เข้าใจ อาการโรค..ดิฉันเจอปัญหานี้มาแล้ว...ขอบคุณค่ะ🙏🏻👍👍❤️
@DoctorNearU
@DoctorNearU 5 ай бұрын
ได้ครับ
@user-ss8ng3nl5e
@user-ss8ng3nl5e 15 күн бұрын
ความรู้ฟังแล้วดีมากคะรู้ลึกและกลไกการเกิดอัลไซเมอร์ทำให้รู้วิธีป้องกันก่อนเป็นได้ จะนำความรู้นี้มาใช้กับตัวเองและบอกต่อให้คนรอบตัวและคนอื่นได้รู้ด้วย ขอบคุณมากๆคะคุณหมอ
@thailandfinland1973
@thailandfinland1973 2 жыл бұрын
หลงๆลืมๆความจำสั้น ตั้งแต่เด็ก จนตอนนี้อายุ49 หนักขึ้น จำได้ทีละอย่างสองอย่าง กลุ้มใจมากเลย อนาคตไม่ต้องห่วง
@user-tv3hc6uc2p
@user-tv3hc6uc2p 3 ай бұрын
อืม
@pimansukjai5432
@pimansukjai5432 Жыл бұрын
เพิ่งฟัง clip ของคุณหมอ นี่คือ clipที่ 3 เป็นอีกครั้งที่ชอบมาก คิดว่าเลือก content มาดี มีศิลป การนำเสนอ กดติดตามตั้งแต่หลังฟัง clip ที่ 2 ต่อจากเรื่อง stroke ( the first clip that I have listened to from your channel. In my view, this is for lucky listeners including myself.) คือพอเจอ clip ที่ 2 ที่ว่าด้วยเรื่อง aftershock ของ stroke ก็ กด follow เลย คุณหมอบอกและเสมือนเป็นเพื่อนคอยเตือนภัย ขอบพระคุณอย่างยิ่ง ไหนๆ มีบุญได้มาฟังก็จะคอยติดตามต่อไป 👍👍👍👍👍
@amphornsaraphorn8780
@amphornsaraphorn8780 10 ай бұрын
กราบขอบคุณ คุณหมอมากค่ะ ดิฉันกลัวเช่นกันค่ะ ก็ระวังกินผักเยอมากทุกวัน กินเนื้อสัตว์น้อยมากค่ะ เพราะคุณพ่อของดิฉันท้ายอัลไซเมอร์ค่ะ ต่อไปนี้จะทำตามคุณหมอแนะนำค่ะ ขอให้คุณหมอมีแต่ความสุขและเจริญรุ่งเรืองยิ่งๆขึ้นในหน้าการงาน ดูแลคนไข้แต่อย่าลืมดูและตัวเองนะคะ คุณหมอน่ารักค่ะ ขอบคุณอีกครั้งค่ะ❤❤❤
@DoctorNearU
@DoctorNearU 10 ай бұрын
ขอบคุณมากเช่นกันครับ ขอให้สุขภาพแข็งแรง โรคไม่กล้ำกราย
@jeab072
@jeab072 2 жыл бұрын
คุณหมออธิบายเป็นขั้นเป็นตอน ที่มาที่ไป ไม่เร็ว และสรุปได้ดีมากค่ะ ยอดเยี่ยมไปเลยค่ะ
@krongkaewarunsiri8866
@krongkaewarunsiri8866 2 жыл бұрын
ขอบพระคุณค่ะคุณหมออธิบายฟังสบายค่ะเข้าใจง่าย อนุโมทนาสาธุค่ะ🙏❤️
@madeeum5300
@madeeum5300 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ
@luckyeuro2222
@luckyeuro2222 2 жыл бұрын
👍🌹ขอบคุณค่ะ🙏
@newnew9392
@newnew9392 2 жыл бұрын
ชอบมากครับ
@aradagood2013
@aradagood2013 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะหมอ
@user-dq2kc4vm5w
@user-dq2kc4vm5w 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ คุณหมอ
@mauraasdp2927
@mauraasdp2927 2 жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากนะค่ะ
@t.busabongboon3892
@t.busabongboon3892 Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะคุณหมอ
@TheSarapan
@TheSarapan Жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@kanokpornmartinez9609
@kanokpornmartinez9609 Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ ที่ให้คำแนะนำ
@user-sv9by7vf5g
@user-sv9by7vf5g 10 ай бұрын
อธิบายได้เข้าใจง่ายครับ ❤
@user-qp3fi1bk5s
@user-qp3fi1bk5s Жыл бұрын
ขอบคูณคะที่มาแบ่งปันคะ
@sitthikornh.7304
@sitthikornh.7304 Жыл бұрын
ขอบคุณครับคุณหมอ
@2gether4ever247
@2gether4ever247 2 жыл бұрын
ถ้าอายุขึ้นเลข 6 ให้ลดการกินโปรตีนลง ควรกินโปรตีนกี่กรัมคะ กินโปรตีนน้อย ร่างกายจะขาดแล้วไปสลายมวลกล้ามเนื้อไหมคะ
@benjamasassadanukul1248
@benjamasassadanukul1248 2 жыл бұрын
ติดตามคุณหมอค่ะ
@huiprettyful
@huiprettyful Жыл бұрын
ขอบคุณ คุณหมอมากๆเลยค่ะ ที่อธิบายอย่างละเอียด ทำให้เข้าใจง่ายค่ะ อนุโมทนากับคุณหมอด้วยค่ะ
@navapon5996
@navapon5996 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ
@chuthamatklangmueang6408
@chuthamatklangmueang6408 2 жыл бұрын
ขอบคุณ คุณหมอมากค่ะ
@user-eu3xg8tc1s
@user-eu3xg8tc1s 2 жыл бұрын
ขอบพระคุณคุณหมอค่ะ
@w7575
@w7575 Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ🙏
@user-xi3pk2ux7l
@user-xi3pk2ux7l 2 жыл бұрын
ขอบคุณคะมีประโยชน์ทุกคลิปเลยคะ
@naradragsnes6049
@naradragsnes6049 Жыл бұрын
ขอบคุณมากคะ
@soonnie6194
@soonnie6194 2 жыл бұрын
เป็นประโยชน์มากเลยค่ะ
@user-qp3fi1bk5s
@user-qp3fi1bk5s Жыл бұрын
ขอบคูณหมอมากๆๆๆคะ
@user-ou1ip2ej6y
@user-ou1ip2ej6y 2 жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณข้อมูลดีๆๆนะคะ
@gunngamesteam3029
@gunngamesteam3029 Жыл бұрын
ขอบคุณครับ ได้ความรู้มากครับ
@user-pk2iz7wo6p
@user-pk2iz7wo6p 10 ай бұрын
❤❤❤ขอบคุณมากคะ❤❤❤❤❤❤
@pongsukthanaboonchai3545
@pongsukthanaboonchai3545 2 жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอ ที่เสียสละเวลามาให้ความรู้ค่ะ ติดตามทุกคลิปค่ะ
@user-ic1xn6ph9w
@user-ic1xn6ph9w 10 ай бұрын
ขอบคุณ สาระดีๆ ค่ะ คุณหมอ😊😊
@25455475
@25455475 3 ай бұрын
ขอบคุณครับ
@user-qc8bw8js3s
@user-qc8bw8js3s 2 жыл бұрын
ขอบคุณมาก ได้ความรู้เยอะเลย
@user-tw4yq3wu6k
@user-tw4yq3wu6k Жыл бұрын
สวัสดี​ค่ะ​ คุณ​หมอ​ ขอบพระคุณ​นะคะ​ที่สละเวลา​ ให้ความรู้​ ขอให้ท่านและ​ครอบครัว​มี​แต่​ความสุข​ และ​สุขภาพ​แข็งแรง​นะ​คะ​
@user-js6pp1yp5d
@user-js6pp1yp5d 10 ай бұрын
ขอบคุณมากๆค่ะ
@tipwaleenaiyanate280
@tipwaleenaiyanate280 Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ คุณหมอ คุณหมออธิบายได้ละเอียดดีมากค่ะ
@pannylife
@pannylife Жыл бұрын
คุณหมออธิบายได้ชัดเจนคะ ขอบคุณสำหรับคลิปดีๆ ความรู้ใหม่ๆคะ 🙏😍
@mwch553
@mwch553 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะคุณหมอกับคลิปที่ดีๆค่ะ🙏
@user-if7ex8gw6t
@user-if7ex8gw6t 10 ай бұрын
ด้วยเคารพยิ่ง ให้ความรู้ทางหมอพอรัก ษาร่าง เป็นหนทางดูแลใจไม่ให้ เหงาหงอย คนเกิดมามีโรคมีภัยใหญ่ ไม่น้อย คอยผู้รู้ชีทางบอกออกทาง แก้ไม่ แพ้ทาง ด้วยรักและเคารพ สาธุ เจริญพร
@DoctorNearU
@DoctorNearU 10 ай бұрын
ขอบพระคุณมากครับ ,❤️😊🙏
@user-mogul
@user-mogul 2 жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากครับ วิทยาทาน ได้ความรู้มีประโยชน์มากเลยครับ
@raksaswallow2563
@raksaswallow2563 2 жыл бұрын
สวัสดีคะคุณหมอ
@PunisherBrutalHeadHunter
@PunisherBrutalHeadHunter 2 жыл бұрын
Thank you so much .
@woraphotofficial_LimaSite20A
@woraphotofficial_LimaSite20A 6 ай бұрын
ดีมากเลยครับ
@suthonlimchawalit9257
@suthonlimchawalit9257 10 ай бұрын
มีประโยชน์มากครับ ขอบคุณครับ
@panther5603
@panther5603 2 жыл бұрын
คุณหมออธิบายเก่งจังค่ะ เข้าใจง่าย
@th.ru.7887
@th.ru.7887 2 жыл бұрын
ถึงจะเป็นคลิปที่ออกจะใช้เวลาหน่อย แต่เป็นคลิปที่เข้าใจง่าย ได้ใจความ รู้แบบแตกฉาน...ขอบคุณ คุณหมอมากๆค่ะ
@user-mu1uq3um2v
@user-mu1uq3um2v 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะคุณหมอ ขออนุญาตแชร์นะคะ ขอให้คุณหมอ สุขภาพดีสมหวังในสิ่งดีๆนะคะ
@mossimoj8663
@mossimoj8663 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับคุณหมอ ได้ความรู้เยอะมากเลย จะได้ไปปรับตัวได้ถูกฮะ
@user-tv3hc6uc2p
@user-tv3hc6uc2p 10 ай бұрын
ชอบ
@user-vh1nm4di6b
@user-vh1nm4di6b 7 ай бұрын
ขอบคุณครับ ,สุดยอดของการอธิบายครับ
@user-qp3fi1bk5s
@user-qp3fi1bk5s Жыл бұрын
คูณหมอคะดีมากๆๆที่แบ่งปันคะ
@chaaimmocha2000
@chaaimmocha2000 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ 😅กลัวเป็นอยู่เหมือนกันค่ะ
@user-qp3fi1bk5s
@user-qp3fi1bk5s Жыл бұрын
ไห้รายละเอียดมากๆๆๆคะ
@MoMo-zl2ql
@MoMo-zl2ql Жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากค่ะ คลิปดีมีประโยชน์มากค่ะ
@thanittha04
@thanittha04 Жыл бұрын
ขอบพระคุณค่ะอจ.ได้ความรู้เยอะเลยค่ะ❤
@vsupport6294
@vsupport6294 3 ай бұрын
ขอบคุณข้อมูลดีๆครับคุณหมอ
@ilovefood2485
@ilovefood2485 2 жыл бұрын
เข้ามาวนดูอ.หลายรอบแล้ว เริ่มสงสัยตัวเองแล้วละซิ😋☺
@RJ-ki2kh
@RJ-ki2kh Жыл бұрын
ขอขอบคุณสำหรับ ข้อมูลความรู้ค่ะ
@moomookwan8671
@moomookwan8671 7 ай бұрын
ขอบคุณคุณหมอค่ะ มีประโยชน์มากมาก
@atchara-kasira8360
@atchara-kasira8360 2 жыл бұрын
ขอบคุณข้อมูลดีๆมีประโยชน์ค่ะ และเสียงคุณหมอเพราะมากกก😄
@aompimsawang4421
@aompimsawang4421 11 ай бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากๆค่ะ..ได้คว่มรู้ทุกคลิปเลยค่ะ❤😂❤❤❤❤❤
@user-en6gy1ke4k
@user-en6gy1ke4k 8 ай бұрын
ขอขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆค่ะ❤
@kompassorn9451
@kompassorn9451 2 жыл бұрын
อัลไซเมอร์สามารถเรียกได้ว่าเป็นเบาหวานประเภทที่ 3 หรือ type 3 diabetes การป้องกันและรักษาก็เช่นเดียวกันกับเบาหวานประเภทที่ 2 คือให้ลดการดื้ออินซูลิน (Insulin resistance) ของร่างกายให้ได้ ด้วยการกินอาหารที่กระตุ้นอินซูลินน้อยร่วมกับการอย่ากินบ่อยเพราะทุกครั้งที่กินจะเป็นการกระตุ้นให้ร่างกายหลั่งอินซูลินออกมา สรุปคือให้กินโปรตีนให้พอดีและเสริมด้วยไขมันธรรมชาติ สำหรับผู้ที่ป่วยแล้วห้ามกินคาร์โบไฮเดรตโดยเฉพาะคาร์โบไฮเดรตแปรรูป (ถ้ายังไม่ป่วยก็กินคาร์บธรรมชาติได้ พวกข้าว พวกผลไม้) ห้ามดื่มแอลกอฮอล์ ร่วมกับการไม่กินบ่อยหรือทำ IF ถ้าทำได้ทั้งเบาหวานประเภท 2 และ 3 หายแน่นอน รวมถึงโรคอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการดื้ออินซูลินด้วย เช่น อ้วน ความดันสูง โรคหลอดเลือดอุดตัน ไขมันพอกตับ ไต ฯลฯ
@OHsLifeVlog
@OHsLifeVlog 2 жыл бұрын
+1 เห็น​ด้วยค่ะ​
@aorpharm9973
@aorpharm9973 2 жыл бұрын
พอแนะนำเมนูอาหารได้ไหมคะ
@2929twentynine
@2929twentynine 2 жыл бұрын
@@aorpharm9973 ลองศึกษาช่อง Loy Academy ดูครับ
@kompassorn9451
@kompassorn9451 2 жыл бұрын
​@@aorpharm9973 เมนูก็เช่น เสต็กต่างๆที่ปรุงด้วยเกลือหรือพริกไทเท่านั้น ไม่เอาเฟรนช์ฟราย ไม่เอาขนมปัง ปลานึ่ง ไข่ต้ม/ตุ๋น/ดาวด้วยน้ำมันหมู หลีกเลี่ยงน้ำมันพืช(ทำให้ต้องงดของทอดน้ำมันท่วมๆ ดีพฟราย ไปโดยปริยาย) สำหรับคนป่วยให้งดผลไม้ด้วย(ยกเว้นอะโวคาโด้) สำหรับคนที่ยังไม่ป่วยก็ให้กินผลไม้ อย่าดื่มน้ำผลไม้ พวกถั่วตระกูลนัทกินได้ เช่น พิธาชิโอ้ แมคาดิเมีย ฯลฯ แต่อย่าเผลอกินเยอะ เมนูมันจะไม่หลากหลายแบบอาหารทั่วไปที่เรากินหรอก สุดท้ายมันจะวนซ้ำ ลองหาดูหลายๆช่องทั้งไทยทั้งตปท.จะได้เมนูเพิ่มขึ้นครับ
@wiwbib
@wiwbib 2 жыл бұрын
จริงๆเราเข้าใจสิ่งที่คุณพูดนะเพราะเป็นสิ่งที่เราเคยทำมาแต่สิ่งที่คุณพูดทั้งหมดขัดแย้งกับสิ่งที่คุณหมอพยามอธิบายเลยเพราะคุณหมอให้ลดโปรตีนให้ทานเน้นผักสี่สี่เป็นหลักแต่การที่จะดับอินซูลินให้มันเกิดการกระตุ้นน้อยก็ต้องไม่ทานคาร์โบไฮเดรตและถ้าจะให้ผลอย่างที่คุณพูดแม้แต่ผักก็กินไม่ได้ด้วยซ้ำ
@amponsunthonwat9441
@amponsunthonwat9441 10 ай бұрын
ขอบคุณสาระดีมีประโยชน์ครับคุณหมอ
@brightsathorn2525
@brightsathorn2525 Жыл бұрын
ฟังแล้วดีมากได้ความรู้ค่ะ
@user-bt7ih5uj4u
@user-bt7ih5uj4u 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับคุณหมอจากชาวนา.ภูเขียวจัหวัดชัยภูมิ
@miram.9567
@miram.9567 10 ай бұрын
มีเพื่อนฝรั่งเป็นผู้หญิงเธอเราเคยทำงานด้วยกัน แต่เธอเริ่มเป็นโรคนี้เมื่ออายุเริ่ม 40 ปีเพราะคุณพ่อของเธอก็เป็นโรคนี้ (ผู้ชายอาจจะมีอายุอยู่ได้ไม่นานเท่าผู้หญิง)เพราะตอนนั้นเธอลาออกจากงาน และได้กลับไปประเทศของเธอ ไม่มีใครทราบว่าทำไม แต่ทุกคนคาดว่าสัญญาการทำงานสิ้นสุดลง แต่ดิฉันได้ติดต่อเธอกลับไป หลังจากนั้นก็ติดต่อมาเรื่อยๆจนเมื่อ แปดปีที่ผ่านมาการสื่อสารลำบากมาก เลยขาดการติดต่อตั้งแต่นั่นมา เธอเคยเล่าให้ฟังว่าเธอมีอาการแปลกๆ ตั้งแต่เป็นวัยรุ่น และจะเริ่มเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ ตอนนี้เธออายุ ห้าสิบกว่า เท่าที่สังเกตุผู้หญิงฝรั่งที่เป็นโรคนี้จะมีอายุยืนมากๆเลย บางคนอยู่ถึงแปดสิบปีได้สบายๆถ้ามีการดูแลดีๆ
@suchadaneelapat5055
@suchadaneelapat5055 Жыл бұрын
อธิยายต้นเหตุอัลไซเมอร์ได้ดีมาก ทำให้เข้าใจสาเหตุของโรคมากขึ้นเลยค่ะ
@wanlapa-dz2ok
@wanlapa-dz2ok 11 ай бұрын
🙏😊สวัสดีคะคุนหมอ
@phatinawin2830
@phatinawin2830 2 жыл бұрын
ขอบพระคุณคุณหมอมากๆค่ะ เพิ่งดูคุณหมอครั้งแรก ได้ความรู้และมีประโยชน์มากๆค่ะ ขอเป็นกำลังใจให้คุณหมอในการทำคลิปต่อๆไปนะคะ
@sawarotungkrathoke3406
@sawarotungkrathoke3406 2 жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากๆค่ะ คลิปนี้ทำให้ได้ความรู้มากมายจริงๆ🙏💞
@user-nl2ri1us7l
@user-nl2ri1us7l 5 ай бұрын
ขอบคุณสำหรับข้อมูลเป็นประโยชน์ค่ะ
@SarisaNakkaew
@SarisaNakkaew Ай бұрын
ขอบคุณมากคะคุณหมอ
@thitachan3440
@thitachan3440 Жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอที่สละเวลามาสอน
@kannikakriengyakul1382
@kannikakriengyakul1382 2 жыл бұрын
ขอบคุณสาระความรู้ดีๆที่คุณหมอสละเวลามาให้ความรู้ค่ะ เป็นประโยชน์มากๆค่ะ
@MustKnowStory
@MustKnowStory 2 жыл бұрын
เยี่ยมเลยค่ะ งั้นที่เขามีเล่นเกมส์กระตุ้นสมองกันสมองเสื่อม คงใช้ไม่ได้กับกรณีอัลไซเม่อร์
@mudsohiran9601
@mudsohiran9601 2 жыл бұрын
ขอบคุนนะคะคุนหมอ อธิบายได้เข้าใจง่ายภาษาชาวบ้านดีคะ ติดตามอยู่นะึะ
@PSKBell
@PSKBell 2 жыл бұрын
เข้ามาดูเพราะกลัวปู่ย่าเป็นเลยค่ะ ขอบคุณคุณหมอมากๆนะคะ อธิบายดีมากๆเลยค่ะ
@sununtasanongdech653
@sununtasanongdech653 2 жыл бұрын
คุณหมออธิบายชัดเจนเข้าใจง่ายกระชับไม่เยิ่นเย้อเกินไปspeechดีฟังง่าย ขอบคุณสำหรับข้อมูลค่ะ
@user-nu5sz9vu6c
@user-nu5sz9vu6c Жыл бұрын
ได้ความรู้ดีมากๆ เข้าใจง่าย ขอให้เจริญรุ่งเรืองสุขภาพแข็งแรงค่ะ
@chantrathaifood7438
@chantrathaifood7438 2 жыл бұрын
ติดตามมาตลอดค่ะ ชอบมากกกกค่ะอธิบายได้ดีและหน่ารักล้วนแล้วสาระสำคัญมากมายควรรู้และนำมาปัทติบัตรค่ะ
@user-hb3es9ry7k
@user-hb3es9ry7k 2 жыл бұрын
คุณหมอ อธิบายได้ชัดเจนมาก ค่ะ..ตอนนี้คุณพ่อเป็นอัลไซเมอร์อยู่ค่ะ แอบเสียดายถ้าได้ดูคลิปคุณหมอก่อนหน้านี้ คงเข้าใจโรคอัลไซเมอร์ได้ดีกว่านี้ ตอนนี้คุณพ่อเป็นระยะที่ 3 แล้วค่ะ ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้แล้วค่ะ..ทางครอบครัวก็คอยช่วยกันดูแล ตอนคุณพ่อเป็นระยะแรกท่านพูดซ้ำๆ ทางครอบครัวก็คิดว่าท่านอายุเยอะ เลยไม่ทันสังเกตว่าเป็นอาการของโรคอัลไซเมอร์ พอได้ฟังคุณหมอแล้วจนเข้าใจมากขึ้น ขอบคุณคุณหมอมากค่ะ🙇‍♀️
@DoctorNearU
@DoctorNearU 2 жыл бұрын
ขอบพระคุณมากครับ...ขอให้อาการของคุณพ่อทุเลาทุเลานะครับ
@user-hb3es9ry7k
@user-hb3es9ry7k 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ🙇‍♀️❤
@souwakonsouwakon8773
@souwakonsouwakon8773 24 күн бұрын
คุณแม่เราก็เป็นเหมือนกันเป็นกำลังใจให้นะคะ❤❤❤❤❤
@user-hb3es9ry7k
@user-hb3es9ry7k 24 күн бұрын
@@souwakonsouwakon8773 เป็นกำลังใจให้เช่นกันนะคะ✌❤❤❤❤
@yupacnx085
@yupacnx085 6 ай бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากๆสำหรับความรู้เรื่อง อัลไซเมอร์ ค่ะ เข้าใจง่ายมากเลยค่ะ
@benjisangouthai2187
@benjisangouthai2187 10 ай бұрын
Ty so much ka
@wiphaphatflinton1780
@wiphaphatflinton1780 2 жыл бұрын
ขอบคุณ​ ค่ะ​ คุณหมอ.. ข้อมูล​สาระ​ความรู้​ โรคอัลไซเมอร์​
Low Sodium and How to Prevent Osmotic Demyelination Syndrome
17:18
MedCram - Medical Lectures Explained CLEARLY
Рет қаралды 31 М.
🤔Какой Орган самый длинный ? #shorts
00:42
A clash of kindness and indifference #shorts
00:17
Fabiosa Best Lifehacks
Рет қаралды 27 МЛН
Did you believe it was real? #tiktok
00:25
Анастасия Тарасова
Рет қаралды 51 МЛН
MEGA BOXES ARE BACK!!!
08:53
Brawl Stars
Рет қаралды 36 МЛН
ทำไมค่าไขมันขึ้น และ สมุนไพรอะไรช่วยได้ - หมอนัท Live
1:18:29
NosickHandup ใครไม่ป่วยยกมือขึ้น
Рет қаралды 69 М.
[PODCAST] Well-Being | EP.6 - อาหารบำรุงสมองเสริมความจำ | Mahidol Channel
25:01
🤔Какой Орган самый длинный ? #shorts
00:42