ช็อค! วงการรถไฟฟ้า มอเตอร์รุ่นใหม่ขุมพลังที่ไม่พึ่งแม่เหล็กถาวร

  Рет қаралды 349,187

เทค สมาร์ท

เทค สมาร์ท

Жыл бұрын

มอเตอร์รถไฟฟ้าที่ไม่ต้องการแม่เหล็กถาวร ที่ต้องพึ่งพาแร่หายาก อีกก้าวแห่งแทคโนโลยีมอเตอร์รถไฟฟ้าที่เป็นขุมพลัง หากสำเร็จตะทำให้ราคารถไฟฟ้าถูกลง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากกว่าเดิม

Пікірлер: 340
@desinggu
@desinggu Жыл бұрын
เมื่อกลางเดือน ม.ค 66 พึ่งได้คุยกับรุ่นพี่ ที่อยู่ในวงการยานยนต์ไฟฟ้า เพราะไปปรึกษาเค้าเพราะเรามีแผนจะซื้อรถยนต์ไฟฟ้า แต่ติดที่พอไปหาข้อมูลเรื่องประกันอุบัติเหตุ มันแพงมาก เช่น Tasla MD3 ค่าประกันต่อปี 9หมื่นกว่าบาท รุ่นพี่ก็ห้ามไว้ เพราะบอกว่าตอนนี้รถยนต์ไฟฟ้าที่วิ่งอยู่ยังเป็นเทคโนโลยีเก่าอยู่ ทั้งเรื่องแบตและมอเตอร์ไฟฟ้า ให้รอแบตและมอเตอร์ gen ใหม่ เพราะแบตและมอเตอร์ gen ใหม่ จะคุณภาพดีขึ้นกว่ามาก และราคาถูกกว่ามาก ทำให้ค่าเบี้ยประกันถูกลงเยอะ เค้าบอกว่าให้ใจเย็นๆ ถ้าไม่ผิดพลาดอะไร เทคโนโลยี gen ใหม่ จะวางประมาณปลายปี 67-68
@4.094
@4.094 Жыл бұрын
ผมก็รอหลายๆอย่างนิ่งๆก่อนครับ ตอนนี้รอไปก่อน
@armauttapron1521
@armauttapron1521 Жыл бұрын
พอไปถึงช่วงปี67-68 ก็จะมี genใหม่รอปล่อยตอน 69-70 แล้วก็มีใหม่เรื่อยๆ เหมือนวงการcpu ถ้ารอซื้อi7 เดี๋ยวก็มี i9 หรือซื้อ i9 เดี๋ยวก็มีi11 ยังไงก็กะจังหวะดีๆนะครับ
@01032505
@01032505 Жыл бұрын
@siwachsantaweesuk6040 ผมว่าจะผ่อนเบนซ์แต่ก็มีปัญหาระบบไฟอีก เลยรอไปก่อน(ไฟแนนซ์ไมผ่าน)
@catglnv
@catglnv Жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@diwjunior
@diwjunior Жыл бұрын
@@armauttapron1521 เจนใหม่กับปรับปรุงให้ดีขึ้นมันคนละอย่างกันนะ อย่างซีพียู i7 i9 มันแค่เพิ่มคอร์และปรับปรุงจากเทคโนโลยีเดิม
@futionman8386
@futionman8386 Жыл бұрын
เครื่องมือช่างทั่วๆไป ที่ใช้มอเตอร์ก็มีมานานแล้วครับ ทั้งใช้แม่เหล็กถาวรและไม่ใช้ แต่ที่ไม่ใช้แม่เหล็กเราจะเสียค่าไฟเพิ่มขึ้นครับ
@santireview7703
@santireview7703 Жыл бұрын
เอาตามความคิดผมนะครับ หลักการคลายๆแบบในสว่านรุ่นใหม่มีมานานแล้ว และอีกประเด่นก็คือหากไม่มีแม่เหล็กเวลารถเบรคหรือลงที่ต่ำ จะมีการเหนียวนำแบบแม่เหล็กชาร์จไฟกลับเข้าแบต ถ้าตัดแม่เหล็กออกก็จะไม่ได้ระบบชาร์จไฟกลับ...แบบไดนาโม ถึงแม้ประสิทภาพจะดีมากกว่าหรือเท่ากัน แต่ถ้าพูดถึงระยะทางการวิ่งก็จะไปได้ไกลกว่า ตรงกันข้ามกลับที่ต้องเอาไฟไปจ่ายขดลวดแทนแม่เหล็กก็จะยิ่งดึงพลังงานมากขึ้นกินกระแสมากกว่า ก็มีผลทำให้แบตหมดไวขึ้นและเสือมไวขึ้น แต่ข้อดีคือมอเตอร์จะทน..อาจไม่ต้องดูแลมอเตอร์ แต่ต้องมาห่วงแบตหมดไวขึ้นเสือมไวขึ้นระยะทางก็วิ่งสั่นลง อย่าลืมว่ารถไฟฟ้าจะซีเรียดระยะทางไปกลับ ยกเว้นว่าแบตจะพัตนาตามมอเตอร์คือไม่ต้องพึ่งระบบชาร์จไฟกลับแบบมอเตอร์ที่มีแม่เหล็ก หรือจากที่ผมอ่านเจอเค้าจะติดมอเตอร์ไดนาโมไว้ที่ล้อแทนแต่สุดท้ายก็ต้องมีแม่เหล็กเพื่อช่วยชาร์จไฟกลับทำให้วิ่งได้ไกลมากขึ้น.สรุปคือถ้าแบตโครตอึดทนชาร์จได้10ปีระยะทางยังวิ่งได้เกิน1000km++ก็คงไม่ต้องสนชาร์จกลับด้วยแม่เหล็ก ต้องทำให้ลงตัวครับ
@qazer4445
@qazer4445 Жыл бұрын
มันก็หลักพื้นๆทั่วๆไปนี่ ทอรคและขนาดคือสิ่งที่เราต้องการ
@user-wk1vb5lf5w
@user-wk1vb5lf5w Жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ไหม่ๆคับแอด
@twinszaaachannel3796
@twinszaaachannel3796 Жыл бұрын
ก่อนจะออกป่าออกดงไปมากกว่านี้ มอเตอร์แบบนี้เปนจำพวก ซิงโคนัสมอเตอร์ เปนได้ทั้งGenและmotor ในตัวเดียวกัน การทำงานคือการจ่ายไฟไปที่ตัวโรเตอร์(Armature)และขดลวด stator จะได้ความเร็วซิงโคนัสมี Efficiency ที่สูงมากแต่ข้อเสียคือราคาแพงเมื่อเทียบกับ Induction motor ที่มี IE 1,IE2,IE3 ที่บอกว่าถูกกว่าเพราะเอาไปเทียบกับแม่เหล็กฐาวร มอเตอร์ที่ยุ่ในคลิปมันมีมาเปน100ปีแล้วแค่ทำให้เหมาะกับรถไฟฟ้า
@alongkornlang8961
@alongkornlang8961 Жыл бұрын
ใช่เลยครับ ข้อเสียของ Induction Motor คือมันเอามาเป็น Gen ไม่ได้
@avalanchefx
@avalanchefx Жыл бұрын
@@alongkornlang8961 ได้แต่มักจะได้น้อยกว่าพลังงงานที่เหนี่ยวนำให้เกิดแรงแม่เหล็กใน rotor
@user-yw1pp1hv8w
@user-yw1pp1hv8w Жыл бұрын
ใช่ครับพี่ ซิงโคนัส มันมีแม่เหล็กถาวร ทำหน้าที่ได้ 2 อย่าง เปลี่ยนพลังงานกลไฟฟ้า เปลี่ยน ไฟฟ้าเป็นพลังงานกล ครับ ถ้าไม่มีแม่เหล็กถาวรก็ผลิตไฟฟ้าไม่ได้ครับ จัดอยู่เครื่องกำเนิดไฟฟ้าครับ
@user-cc4sl9cv6w
@user-cc4sl9cv6w Жыл бұрын
@@user-yw1pp1hv8w ไดนาโม-มอเตอร์
@alongkornlang8961
@alongkornlang8961 Жыл бұрын
@@avalanchefx ปกติจะกำเนิดไฟต้องใช้แม่เหล็กถาวรตัดกับขดลวดไม่ใช่หรอครับ Induction Motor ไม่มีแม่เหล็กถาวร จะทำได้ไง ขออธิบายหน่อยครับ
@user-hy2ox8qz7n
@user-hy2ox8qz7n 9 ай бұрын
ยอด สุด.ๆ เลย.ครับ พัฒนาได้มากขึ้น ต่วมเตี้ยม ชอบ ลดการทำลายธรรมชาติได้ด้วย สาธุ.ๆ
@user-gl6mb5xg7o
@user-gl6mb5xg7o Жыл бұрын
ได้ความรุ้มากครับ
@user-ly6ji9wn8b
@user-ly6ji9wn8b Жыл бұрын
เขาทำกันมานานแล้ว ปัญหามันคือประสิทธิภาพที่ทำได้ต่ำกว่านั่นแหละครับ
@user-cw2pz5nv8t
@user-cw2pz5nv8t Жыл бұрын
สุดยอดขอบคุนผู้ค้นคว้าครับ
@vakowee7253
@vakowee7253 Жыл бұрын
ขอบคุณที่ให้ความรู้ใหม่ๆคั
@user-zm6yj5jt9u
@user-zm6yj5jt9u Жыл бұрын
เป็นความรู้ใหม่ เยี่ยมมากๆครับ
@mhd.zainunmuhammad6034
@mhd.zainunmuhammad6034 Жыл бұрын
อันที่จริง ในชีวิตประจำวัน เราใช้มอเตอร์ที่ไม่มีแม่เหล็กถาวรอยู่นานแล้วนะครับ เช่น เครื่องมือช่างหลาย ๆ ชนิด มอเตอร์ไซค์เครื่องซักผ้าบางรุ่น อีกเยอะแยะครับ
@acimtt229
@acimtt229 8 ай бұрын
ครับ นั่นคืออินดักชันมอเตอร์ ที่ถูกจำกัดประสิทธิภาพด้วยความต้านทานโรเตอร์ เทสล่าก็ใช้อยู่บางรุ่น แต่ใช้โรเตอร์ทองแดงเพิ่อให้มีความต้านทานสูญเสียน้อยที่สุด
@piyananpiyananto
@piyananpiyananto Жыл бұрын
ติดตามช่องนี้..รู้แต่สิ่งที่ดีมีสาระมากๆ..มีแต่เรื่องน่ารู้จริงๆครับ...👉👍👈
@thepnakorn007
@thepnakorn007 Жыл бұрын
ถ้าจำไม่ผิด induction motor(ไม่มีแม่เหล็กถาวร) ของ tesla รุ่นแรกๆ ประสิทธิภาพอยู่ที่ 94-95% ส่วนแบบมีแม่เหล็กที่ใช้กับ tesla รุ่นใหม่ๆ ประสิทธิภาพอยู่ที่ 97% ซึ่งจะแรงบิดสูงกว่า แต่อายุการใช้งานต่ำกว่า(แม่เหล็กจะเสื่อมเรื่อยๆตามอายุการใช้งานและความร้อน) ส่วน motor ตามในคลิปจะมีประสิทธิภาพดีกว่า tesla ขึ้นมาหน่อยคือ 95-96% และน่าจะทนทานและบำรุงรักษาน้อยกว่าด้วย นั่นคือประสิทธิภาพดีกว่าเดิมและใกล้เคียงแบบมีแม่เหล็กแต่ทนทานกว่าเยอะ
@Runalohar
@Runalohar Жыл бұрын
ขอความรู้เพิ่มหน่อยครับ ผมสงสัยว่า แม่เหล็กไฟฟ้ามีข้อเสียตรงที่ต้องมีไฟจ่ายตลอดเวลา แต่แบบแม่เหล็กถาวร ถึงไม่มีตัวจ่ายไฟมันก็หมุน ใช่รึเปล่า เพียงแต่แรงขับของมันยังไม่เพียงพอ จึงต้องพลังไฟจากแบตมาเพิ่มแรงขับ กล่าวคือ แบบแม่เหล็กไฟฟ้ากินไฟเยอะกว่า แต่มีต้นทุนในการผลิตต่ำกว่า
@endonol4408
@endonol4408 Жыл бұрын
@@Runalohar ไม่ใช่ครับ ไม่ว่าจะมีหรือไม่มีแม่เหล็กถาวร ก็ต้องรับการจ่ายไฟถึงจะหมุนได้ครับ เพียงแต่แบบแม่เหล็กถาวรเป็นแบบที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับมอเตอร์ไฟตรง คือมีแรงบิดต่อน้ำหนักที่สูง แต่ไม่ต้องจ่ายไฟไปยังตัวทุ่น rotor ผ่านแปรงถ่านแบบมอเตอร์ไฟตรงแบบเดิม ๆซึ่งสูญเสียจากความเสียดทานสูงและอายุสั้นเพื่อสร้างสนามแม่เหล็กที่ Rotor เพราะตัวทุ่นเป็นแม่เหล็กในตัวเอง จ่ายไฟที่สเตเตอร์ให้ตามจังหวะหมุนก็พอ ส่วนแบบแม่เหล็กไฟฟ้า ถ้าไม่ใช้แปรงถ่านให้สูญเสียกำลัง ก็ต้องใช้การเหนี่ยวนำเพื่อให้ทุ่น rotor เกิดไฟฟ้าเองเพื่อให้สร้างสนามแม่เหล็กที่ตัว rotor ซึ่งใช้สนามแม่เหล็กหมุนจากจังหวะเฟสที่สเตเตอร์เคลื่อนตัดตัวนำที่ฝังโรเตอร์ หรืออีกแบบใช้แรง Reluctance เส้นแรงแม่เหล็ก ซึ่งมอเตอร์แบบนี้ดีเรื่องทนทานสญเสียกำลังน้อย ข้อด้อยที่แรงบิดต่อน้ำหนักน้อยกว่า และหมุนเร็วมากไม่ค่อยได้
@user-du7pw6mj6t
@user-du7pw6mj6t Жыл бұрын
@@Runalohar ใช่ครับ ถ้าเทียบกันแล้ว แม่เหล็กถาวรประหยัดไฟ ไม่ต้องใช้ไฟเข้าไปเลี้ยง ส่วนแม่เห็ลกไฟฟ้านั้นต้องใช้ไฟไปเลี้ยงขดลวดตลอดเวลา แกนกลางมอเตอร์ก็ต้องใช้ไฟเลี้ยง แม่เหล็กไฟฟ้าก็ต้องใช้ไฟเลี้ยง สรุปแม่เหล็กไฟฟ้ากินไฟมากกว่า แม่เหล็กถาวร
@manutpunpook9197
@manutpunpook9197 Жыл бұрын
ใช่ครับ induction motor ไม่มีแม่เหล็ก ตั้งนานแล้ว
@user-cx9vx1wo9g
@user-cx9vx1wo9g Жыл бұрын
@@endonol4408 แต่เดียวนี้ก็มีมอเตอร์ไร้เเปลงถ่านออกมาใช่เยอะเเล้วนะครับ
@win4598
@win4598 Жыл бұрын
เก่งครับ ต้องยอมรับสมองคนคิดค้น
@user-su4wz6hz6c
@user-su4wz6hz6c Жыл бұрын
ชอบคลิปนี้มากครับ ได้รับความรู้ ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีมากมาย
@ONE-DHAMMA
@ONE-DHAMMA Жыл бұрын
สุดยอดครับ สำหรับข่าวไอที ที่ คนส่วนใหญ่ยังไม่รู้
@TheThaiStreet
@TheThaiStreet Жыл бұрын
ยอดเยี่ยม!! การอ่านข่าวสารคดีเทคโนโลยีที่คมคายด้วยแก้วเสียงที่ใสสะอาด และปล่อยสำนวนได้เป็นธรรมชาติเข้ากับthemeของเรื่อง น่าฟังน่าติดตามมากครับ kudos to the Tech Smart.
@wich3563
@wich3563 10 ай бұрын
ใช่ครับเสียงน่าฟังครับ แต่ออกเสียงไม่ชัดหลายคำ เลยทำให้มีเสน่าไปอีกแบบ
@user-so5ik6up8x
@user-so5ik6up8x 10 ай бұрын
ขอบคุณครับ
@user-cl6nv7eq2n
@user-cl6nv7eq2n Жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@apicharta6629
@apicharta6629 Жыл бұрын
เยี่ยมมากครับ
@chatchawal1954
@chatchawal1954 Жыл бұрын
บรรยายเนื้อหาได้ดีมาก
@Am-Chaya_2525.
@Am-Chaya_2525. Жыл бұрын
สุดยอดมากครับ
@hirunrun3357
@hirunrun3357 10 ай бұрын
ดีมากครับและหวังว่าในอนาคตอันใกล้ ไม่ต้องใช้แม่เหล็กาวรซึ่งมีข้อเสียมากๆกว่าดี
@kasem5271
@kasem5271 Жыл бұрын
มอเตอร์ในอดีตไม่ใช้แม่เหล็กถาวรกัน เพิ่งมีรุ่นใหม่ๆเท่านั้นที่ใช้แม่เหล็กถาวร แม้แต่เทสลาก็ใช้มอเตอร์ไม่ใช้แม่เหล็กถาวรตั้งแต่รุ่นแรก
@kasem5271
@kasem5271 Жыл бұрын
@@NutSure ใช่ครับ
@chanjitniyom1187
@chanjitniyom1187 Жыл бұрын
​@@NutSure มันใช้เครื่องยนต์ชาตกลับได้มันจึงไม่จำเปนต้องจำกัดไฟฟ้าใช้เทาาไหร่แบตก้อไม่หมด
@codefree2040
@codefree2040 Жыл бұрын
ตอนแรกผมก็จะเถียงคุณแหละ หาข้อมูลมาแล้ว มันมีมาตั้งแต่ พศ.1885 แล้วครับ
@user-ss3cf8uo3d
@user-ss3cf8uo3d Жыл бұрын
@@codefree2040 นั่นมันก่อนคการค้นพบไฟฟ้าเลยนะนั่น 55555
@codefree2040
@codefree2040 Жыл бұрын
@@user-ss3cf8uo3d ไปค้นหา กูเกิ้ลดูครับ
@veechum5677
@veechum5677 Жыл бұрын
ผมก็ได้คิดแบบนี้ครับ แต่ยังไม่เคยลองทำครับ มีหลายอย่างที่คิดได้ แต่ยังไม่ได้ลงมือทำครับ
@user-hz2kw8tp2d
@user-hz2kw8tp2d 11 ай бұрын
เห็นด้วยดีมากๆเลยจ้า
@user-ke5uu6nv7x
@user-ke5uu6nv7x Жыл бұрын
เยี่ยมครับที่ให้ความรู้
@user-et9vb4ht1z
@user-et9vb4ht1z Жыл бұрын
เยอรมันสุดยอดมาก👍
@phat-cy6lv
@phat-cy6lv Жыл бұрын
เยี่ยมมาก
@user-gu4ib2ns8k
@user-gu4ib2ns8k Жыл бұрын
สุดยอดครับ
@ake500
@ake500 Жыл бұрын
เอิ่ม...ช๊อควงการตรงไหนเนี่ย อินดัคชั่นมอเตอร์ หรืออะซิงโครนัส มอเตอร์ เขาใช้กันมานานแล้ว เทสล่าก็ใช้มาตั้งแต่แรก
@chaiwichitsuraprechakul9003
@chaiwichitsuraprechakul9003 Жыл бұрын
ใช่ครับ โดยพื้นฐานแล้วมันคือ synchronous motor ซึ่งมีมานานแล้ว แล้วก็ใช้กันมานานแล้วเช่นกัน แต่ synchronous motor ที่ slip ring ไม่มี mechanical contact และ ไม่ใช้แม่เหล็กถาวรในตัว rotor พึ่งจะมีนะครับ ตัวในคลิป ผมเข้าใจว่าเป็น synchronous motor ที่ใช้ wireless power transfer เพื่อที่จะจ่ายไฟให้กับขนลวดใน rotor เพื่อสร้างเป็นขั้วสนามแม่เหล็กขึ้นมา
@sunthonkanokvilawan8153
@sunthonkanokvilawan8153 Жыл бұрын
ถ้าใครทำงานด้านไฟฟ้า มาดูคลิปนี้คงขำก๊าก induction motor เนี่ยนะ มันเรื่องปกติของมอเตอร์ทั่วไปที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเลย บรรยายซะยังกับเป็นมอเตอร์เทพมาจากการวิจัยชั้นสูง ลองไปดูมอเตอร์ในโรงงานดู มันมอเตอร์แบบนี้ทุกตัวละ
@user-og3tg9uy4k
@user-og3tg9uy4k Жыл бұрын
แล้วกานหมุน ของ motor มันต้องใช้ Bearing หรือเปล่า bearing จะมีอายุการใช้งาน.....ปี ...ต้องเปลี่ยน หรือไม่
@poppan7408
@poppan7408 Жыл бұрын
ดีมาก
@sarutino
@sarutino Жыл бұрын
Induction motor นี้ถือว่าช็อกวงการเลยเหรอครับ? ก็เห็นมีใช้กันมาเป็นร้อยปีแล้วนะครับ
@ouickn2153
@ouickn2153 2 ай бұрын
ขอขอบคุณ
@techsmartthailand
@techsmartthailand 2 ай бұрын
ขอบคุณมากเลยค่ะ 🙏 ที่สนับสนุนทางช่อง
@user-tm9uw8bz2f
@user-tm9uw8bz2f Жыл бұрын
จะรอดูพากย์ต่อไป 👈🏽🤗
@user-eu6iz5pm9u
@user-eu6iz5pm9u Жыл бұрын
โรงงานแบริ่ง​(ตลับ​ลูกปืน)​ก็ยังคงมีต่อไป​ ขอบคุณ​ครับ​
@acimtt229
@acimtt229 8 ай бұрын
มันเปลี่ยนไม่ยากและใช้ได้นานครับ
@paulleklek7468
@paulleklek7468 10 ай бұрын
ฟังไม่ค่อยรู้เรื่องครับ แล้วมอเตอร์ไฟฟ้าในbyd ใช้ได้ยาวถึง3แสนโลมั้ยครับ กำลังคิดจะเปลี่ยนไปใช้EV
@pephanuwat
@pephanuwat 10 ай бұрын
ข้อเสียคือกินไฟมากกว่าเพราะต้องจ่ายไฟเข้าขดลวด 2 ชุด ข้อดีความร้อนไม่ทำให้กำลังตก รถTasla ใช้ แบนอื่นไม่แน่ใจ
@korn1683
@korn1683 Жыл бұрын
ดีครับ
@user-vn2zb9uo3x
@user-vn2zb9uo3x Жыл бұрын
สุดยอด
@alexlo7708
@alexlo7708 Жыл бұрын
ในคลิป มันมี slip ring ไว้ส่งไฟฟ้าจากภายนอกไปให้โรเตอร์ แบบนี้เค้าเรียก synchronous motor ครับ การมี slip ring ทำให้ต้องเพิ่มการดูแลรักษา
@sunantakumchai3317
@sunantakumchai3317 Жыл бұрын
ในคลิ๊ปถ้าดูจนจบไม่มีส่วนสัมผัสเป็น slip ring ที่จะทำให้เกิดlose เลยนะครับ
@Nid-Lanam
@Nid-Lanam Жыл бұрын
ใช่ครับ ต้องคอยดูแลแปรงถ่านและสลิปริง วัตถุประสงค์ของบริษัทผู้ผลิตคงวางแผนหลีกเลี่ยงการใช้แม่เหล็กถาวรเพราะ เมื่อรถไฟฟ้าได้รับความนิยมวัตถุดิบราคาแพงขึ้น สุดท้ายค่าใช้จ่ายก็จะไปโผล่ที่ราคาแบตต์เตอร์รี่ เพราะต้องความจุมากขึ้นเนื่องจากต้องใช้กระแสไฟมากขึ้นนั่นเอง
@alexlo7708
@alexlo7708 Жыл бұрын
@@sunantakumchai3317 4.38 ครับ ขดโรเตอร์มีไฟเลี้ยงเพื่อให้เกิดสนามแม่เหล็ก ส่วน 5.01 ใช้แผ่นวงจรเขียวๆ เป็นคอมมิวเตเตอร์
@lifehasnolimit5559
@lifehasnolimit5559 Жыл бұрын
@@alexlo7708 แผ่นสีเขียวมันหมุนแต่มันไม่ได้สัมผัสกันครับ หลักการคล้ายเครื่องชาร์จโทรศัพท์ไร้สายเปรียบโทรศัพท์เป็นโรเตอร์ถึงแม้จะหมุนก็ยังชาร์จได้โดยไม่สัมผัสกับแท่นชาร์จ
@vc-nc4rj
@vc-nc4rj Жыл бұрын
@@lifehasnolimit5559 ชใจคน
@shihhuiliu4340
@shihhuiliu4340 Жыл бұрын
เยี่ยม
@music-roomhit
@music-roomhit Жыл бұрын
ดีจ้า
@artitssnsk4399
@artitssnsk4399 Жыл бұрын
หลักการมอเตอร์คือใช้แม่เหล็ก2ชุด ดูดและผลักกันต่อเนื่องไปรอบๆ ปัจจุบันมอเตอร์มันต้องมีแม่เหล็ก2ชุด ชุดหนึ่งติดกับแกนอีกชุดติดกับเปลือก การทำแม่เหล็กคือพันขดลวดแล้วต่อไฟเข้า ทำให้เกิดเป็นแม่เหล็กถ้าตัดไฟแม่เหล็กหาย ถ้าใช้ขดลวด2ชุดก็ต้องต่อไฟเข้า2ชุด ถ้าใช้ขดลวด1ชุดและแม่เหล็ก1ชุด ก็จะช่วยประหยัดไฟลดลง1ชุด แต่ปัญหาคือแม่เหล็กมันแพงกว่ามาก ก็ต้องเลือกเองว่าจะเอามอเตอร์แบบไหน
@pungpondthailand5532
@pungpondthailand5532 Жыл бұрын
อธิบายเข้าใจง่ายและตรงจุดครับ
@citizenlovedevelopment
@citizenlovedevelopment Жыл бұрын
จดบันทึกและค้นคว้ามาเจ็ด 10 ปี คือมันเป็นการเอาแม่เหล็กถาวร ทั้ง 2 คู่ขนาน สองด้าน เป็นค่า N หันชนกันแนวเอียงพลักกันเป็นวงกลม หมุนเวียนจนไม่มีวันหยุด 🙏🙏🙏🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭
@kasem5271
@kasem5271 Жыл бұрын
น่าสนใจครับ.... ตอนเดินเครื่องตัวเปล่าแม่เหล็กผลักกันยังไม่มีโหลด กับตอนมีโหลด (ไดชาร์จ)​ ประสิทธิภาพมันต่างกันมากมั้ยครับ
@jimeclub
@jimeclub Жыл бұрын
ผิดกฏอนุรักพลังงานครับ เมื่อมีเกิดพลังงาน ต้องมีการศูนย์เสีย อีกตัวไปครับ ผมทดลองแล้วครับไม่สามารถทำได้ มันจะเกิดแรงผลัก กลับ ไปมา ไม่มีทางที่จะหมุนได้เลย
@kasem5271
@kasem5271 Жыл бұрын
@@jimeclub ต่างประเทศในยุโรปทำได้แล้ว ด้วยการวางตำแหน่งแม่เหล็กให้ได้ระยะและมุมให้ถูกต้อง มีคลิปเขาเอาไปโชว์ในมหาลัย และงานนิทรรศการแล้ว แต่เครื่องค่อนข้างใหญ่ แต่ไม่รู้ประสิทธิภาพหากเทียบกับต้นทุนและขนาด ซึ่งจุดนี้เป็นจุดชี้เป็นหรืิอตายของสิ่งประดิษฐ์
@jimeclub
@jimeclub Жыл бұрын
@@kasem5271 ผมก็เคยเห็นอยู่ครับ มันอาจจะหมุน แต่ มันหมุนได้ไม่ต่อเนื้องครับ มีหลายคนทดสอบเหมือนกันแต่ก็ล้มเหลว
@kasem5271
@kasem5271 Жыл бұрын
@@jimeclub คลิปสุดท้ายที่เห็นเครื่องนั้นทำงานได้ดีมากต่อเนื่องไม่หยุด แต่ใช้แม่เหล็กเยอะมากๆ แต่สุดท้ายเครื่องแคร็กแตกภายจากภายใน จากนั้นก็เงียบไปเลยไม่ได้ติดตามอีก
@thiptaraorganicfarm8764
@thiptaraorganicfarm8764 Жыл бұрын
มอร์เตอร์ปั้มน้ำเครื่องละ 800กว่าก็ไม่ได้ใช้แม่เหล็กถาวรนิครับ มีแต่ขดลวดทองแดงสร้างสนามแม่เหล็ก มันจะแหลกใหม่ตรงไหนครับ
@user-qp1vh4dr5x
@user-qp1vh4dr5x Жыл бұрын
ชอบเสียง คล้ายเสียงอ่านข่าวต่างประเทศสมัยเรายังเป็นเด็กอยู่เลย ช่อง7❤️
@hipstestyle6506
@hipstestyle6506 Жыл бұрын
ชื่อกู๊ดรึเปล่าถ้าผมจำไม่ผิด
@bankgok1
@bankgok1 Жыл бұрын
นึกถึงประธานโตโยดะพูดถึงเรื่องมลพิษของอุตสาหกรรมรถไฟฟ้า มาดูวิดีโออันนี้ก็เป็นเรื่องจริงแต่ปัจจุบันกากของการสกัดโลหะธาตุต่างๆก็นำมารีไซเคิ้ลแล้วนำกลับมาเข้ากระบวนการอุตสาหกรรมแปรรูปใช้ในหลายๆวัสดุหรือในรูปแบบใช้พลังงาน
@vijitthaiusah766
@vijitthaiusah766 Жыл бұрын
เข้าใจว่าประหยัดค่าก่อสร้าง แต่พลังงานมันน่าจะมากกว่าเดิมเพราะต้องเอาไฟฟ้าส่วนหนึ่งมาสร้างสนามแม่เหล็กแทนแม่เหล็กถาวร แล้วรวมๆกันมันประหยัดกว่ากันจริงไหม
@user-cw4hj4do4s
@user-cw4hj4do4s Жыл бұрын
คนไทยก็ทำได้ครับ แต่รัฐไม่ส่งเสริมบุลคลที่ทำได้ ต้องไปเอาตัวมา😂😂😂
@vanhelsing3405
@vanhelsing3405 5 ай бұрын
ไม่ส่งเสริมยังไงครับ หน่วยงานรัฐเอง ก็ทำอยู่นะ.....
@user-it1vb4kx9h
@user-it1vb4kx9h Жыл бұрын
แจ๋ว
@jarunplastq.ltd.158
@jarunplastq.ltd.158 Жыл бұрын
เยี่ยมไปเลยครับ
@sun_golden_bananabit
@sun_golden_bananabit Жыл бұрын
ไม่ใช่อินดักชั่น ไม่ใช่บัชเลส ไม่ใช้แม่เหล็กไม่ใช้แปลงถ่าน น่าจะใช้หลักการเตาแม่เหล็กมาถ่ายทอดพลังงาน
@bozzalnw5357
@bozzalnw5357 Жыл бұрын
มอเตอร์ไร้แม่เหล็กมันมีมานานละครับ ก็มอเตอร์ชนิด induction ไง อยู่ในพัดลมตั้งโต๊ะ เครื่องซักผ้า แอร์ สารพัด ใช้ๆกันมากี่ปีละครับคุณพี่ ไปอยู่ในรูที่ไหนมา ชื่อคลิปทำให้คนออกทะเลได้มากนะ ที่รถไฟฟ้ายังคงใช้มอเตอร์ที่มีแม่เหล็กถาวรเพราะมันดีกว่ามอเตอร์ induction ตรงที่ช่วงแรงบิดที่รอบต่ำของมอเตอร์ประเภทที่มีแม่เหล็กยังคงทำได้ดีกว่า จริงๆรถไฟฟ้าที่รุ่นเก่ามากๆ จะใช้เป็นมอเตอร์ไร้แม่เหล็กถาวรอยู่แล้วนะ (induction) แต่มอเตอร์ไร้แม่เหล็กถาวรรุ่นใหม่นี้จะมีแรงบิดดีที่รอบต่ำด้วย นี้สิที่ชื่อคลิปควรจะสื่อสาร
@9pracha620
@9pracha620 10 ай бұрын
โลกต้องการคนแบบคุณ😊
@acimtt229
@acimtt229 8 ай бұрын
คืองี้ครับ นั่นมันอินดักชันมอเตอร์ แต่นี่คือซิงโครนัสมอเตอร์ที่ไม่ใช้แม่เหล็กถาวรและไม่ใช้แปรงถ่าน
@bozzalnw5357
@bozzalnw5357 8 ай бұрын
@@acimtt229 เออผมรู้ครับ ผมเรียนวิศวกรรมไฟฟ้า รู้ยันว่ามอเตอร์ทั้ง 2 มันทำงานต่างกันยังไง แต่คลิปก็ไม่ควรพูดแค่คำว่า “ไม่มีแม่เหล็ก” เพราะถ้าพูดถึงไม่มีแม่เหล็กมันก็หว่านล้อมไปถึง Induction motor ที่ใช้กันมาในบ้านเรือนตั้งนานแล้ว
@acimtt229
@acimtt229 8 ай бұрын
@@bozzalnw5357 ก็มันคนละชนิดไงจะไปหว่านล้อมถึงได้ไง ยังมีแบบ synchronous reluctance อีกที่ไม่มีแม่เหล็กถาวร
@NAN2504
@NAN2504 Жыл бұрын
ที่จริงเรามีใช้อยู่แล้ว สว่าน
@SunLine-U-4t2i9W
@SunLine-U-4t2i9W Жыл бұрын
เหตุแผ่นดินไหว แล้วyou ไหวมั้ย....ทำม่ะ
@wanchai6405
@wanchai6405 Жыл бұрын
น่าจะมีการนำเสนอหลักการทำงานของมอเตอร์ชนิดนี้ด้วย ว่ามันมีโครงสร้างและหลักการทำงานต่างจาก Basic Induction motor และ Basic Synchronous motor อย่างไร เพราะผมเห็นแว๊บๆ ว่า โครงสร้างของ Rotor มีลักษณะแปลกตากว่า Machine ที่ใช้กันอยู่ทั่วไปน่ะครับ
@jirayootch4286
@jirayootch4286 Жыл бұрын
4:25 ครับ
@acimtt229
@acimtt229 8 ай бұрын
ที่แปลกกว่า คือการใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้า แทนแม่เหล็กถาวรที่โรเตอร์ครับ โดยการส่งผ่านกำลังไปยังโรเตอร์แบบไม่ใช้แปรงถ่าน แต่ใช้การเหนี่ยวนำเหมือนไวเลสชาร์จเจอร์
@user-yw1pp1hv8w
@user-yw1pp1hv8w Жыл бұрын
ผิดครับ ถ้าเราเลิกใช้แม่เหล็กถาวรทั้งหมด ก็จะไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ เพราะว่าเจนเนเรเตอร์ หรือ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าใช้แม่เหล็กถาวรเป็นองประกอบในการผลิตไฟฟ้า น่ะครับ ไม่รวมโซ่ลาเชลล์ตัวนี้ไม่ต้องเอามาคิดเลยไม่เกี่ยวครับ มอเตอร์ไม่ใช้แม่ถาวรในการขับเคลื่อน ใช้แม่เหล็กไฟฟ้าแบบนี้ก็ได้ครับ แต่อย่าลืมน่ะครับเอาไฟฟ้าที่ไหนไปเก็บในแบตเตอรี่ ก็เครื่องปั่นไฟที่ยังใช้แม่เหล็กถาวรอยู่ครับ
@MASKED682
@MASKED682 Жыл бұрын
มอเตอร์ชนิดนี้รู้แค่ว่ามันจะกินพลังงานเยอะกว่า แล้วจะเสียง่ายกว่าเพราะความร้อน แต่ถ้าอนาคตทำให้ราคาถูกกว่ามาก เรียกได้ว่าต่ำกว่าครึ่งของอีกชนิด ถึงเวลาเปลี่ยนก็คงไม่ติดใจอะไรล่ะมั้ง ภายหน้าเทคโนโลยีระบายความร้อน การยืดอายุการใช้งาน แบตเตอรี่ที่ให้พลังมากกว่าปัจจุบัน อาจจะตอบโจทย์การใช้งานมอเตอร์แบบนี้พอดี
@acimtt229
@acimtt229 8 ай бұрын
ไม่ใช่อย่างนั้นครับ เขาก็บอกอยู่ประสิทธิภาพไม่ต่างจากแม่เหล็กถาวร
@peerapanchanpen6152
@peerapanchanpen6152 Жыл бұрын
จริงๆมันมีมานานแล้วครับ ซึ่งมันมีข้อดีข้อเสียคนละแบบ อันนี้จอพูดถึงแต่มอเตอร์บลัสเลท(ไร้แปรงถ่าน)นะครับ - รถที่ใช้แม่เหล็กถาวรจะประหยัดไฟ(จ่ายไฟให้ขดลวดเพียงด้านเดียว แต่แม่เหล็กจะสามารถเสื่อมลงได้ขึ้นอยู่กับความร้อนที่ได้รับ และการประกอบกลับจะยากกว่า(สำหรับช่างแบบผมเพราะต้องสู้กับแรงแม่เหล็กแรงสูง) - รถที่ใช้แม่เหล็กไฟฟ้า จะกินไฟมากกว่าเพราะต้องจ่ายไฟให้ 2 ด้าน การเสื่อมจะน้อยมากแม้ความร้อนจะสูง ดารประกอบกลับง่าย
@acimtt229
@acimtt229 8 ай бұрын
ไม่ใช่อย่างนั้นครับ เขาก็บอกอยู่ประสิทธิภาพไม่ต่างจากแม่เหล็กถาวร
@peerapanchanpen6152
@peerapanchanpen6152 8 ай бұрын
@@acimtt229 ไม่ต่างกันด้านไหนครับ แม่เหล็กจะเสื่อมเมื่อโดนความร้อน ยิ่งร้อนมาก โดนนานยิ่งเสื่อมเร็วอันนี้ความรู้พื้นฐานเลยนะ ส่วนแม่เหล็กไฟฟ้าคือการปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าขดลวดเพื่อสร้างสนามแม่เหล็กถ้าไม่โดนความร้อนจนทองแดงละลายก็แทบไม่เสื่อม อันนี้ก็ความรู้พื้นฐาน ม.3 ส่วนการกินไฟ ปล่อยไฟฟ้าให้ขดลวด 1 ขด(ใช้แม่เหล็กถาวร) กับการปล่อยไฟฟ้าให้แม่เหล็ก 2 ขด(แม่เหล็กไฟฟ้า) คุณว่าอันไหนใช้ไฟมากกว่ากัน
@acimtt229
@acimtt229 8 ай бұрын
@@peerapanchanpen6152 ก็บอกว่าประสิทธิภาพไม่ต่างกันมาก "ประสิทธิภาพ" มันรวมคำตอบในนั้นหมดแล้วที่ถามมา
@acimtt229
@acimtt229 8 ай бұрын
@@peerapanchanpen6152โรเตอร์กับสเตเตอร์คนละส่วนทำงานคนละอย่างไม่ใช้ป้อนทั้ง 2 ส่วนแล้วกินไฟ 2 เท่าอันนี้ไร้สาระขัดหลักความจริง ถ้ากินไฟ 2 เท่า ต้องได้กำลัง 2 เท่าไม่งั้นก็เสียเป็นความร้อนจนมอเตอร์ไหม้ในไม่ถึงนาที
@peerapanchanpen6152
@peerapanchanpen6152 8 ай бұрын
@@acimtt229 ถ้าพูดถึงประสิทธิภาพ แม่เหล็กไฟฟ้าประสิทธิภาพดีกว่าครับ เพราะสามารถควบคุมความเข้มข้นของสนามแม่เหล็กได้ทั้ง 2 ด้าน แต่ถ้าใช้แม่เหล็กถาวรจะสามารถควบคุมความเข้มข้นของสนามแม่เหล๋กได้แค่ด้านเดียว การควบคุมความเข้มข้นของสนามแม่เหล็ก มีส่วนมากเลยในการใช้งาน หรือเรียกว่าแฟลค(เรียกถูกป่าวไม่รู้ตอนผมจูนมอไซด์ไฟฟ้าเรียกงี้) ออกตัวต้องการกำลังสนามแม่เหล็กเข้มข้นมาก นอบปลายเน้นรอบต้องลดความเข้มของสนามแม่เหล็กลงรอบเพิ่มแต่แรงบิดลด แม่เหล็กไฟฟ้าจะช่วยทำให้สนามแม่เหล็กที่กระทพต่อกันเข้มข้นได้มากกว่าแม่เหล็ถาวรครับ ลองมาเล่นและศึกษามอไซค์ไฟฟ้าดูก่อน
@acimtt229
@acimtt229 10 ай бұрын
อ่อ ใช้หลักการส่งแรงดัน Dc ไปเลี้ยงโรเตอร์สร้างสนามแทนแม่เหล็กถาวร โดยหลักการส่งพลังงานเหมือนไวเลสชาร์จเจอร์นั่นเอง
@diy2630
@diy2630 Жыл бұрын
รถโฟล์คลิฟท์ไฟฟ้าเขาใช้กันมานานจะ20 ปีแล้วมั้ง ใช้ฟีลคอยทองแดง
@Thai-Amulets
@Thai-Amulets Жыл бұрын
เจ๋ง🎉
@user-fu3lg8vi3f
@user-fu3lg8vi3f Жыл бұрын
เป็นประโยชน์มาก เอาอีกๆๆ
@user-nj1mb4vm5d
@user-nj1mb4vm5d Жыл бұрын
เทคโนโลยีเยอรมันสุดยอดจริง👍
@NV-bw4jh
@NV-bw4jh 9 ай бұрын
แล้วเวลามช้ mode kers ลงเขา จะชาร์จกลับยังไงในเมื่อไม่มีแม่เหล็กถาวรให้ขดลวดตัดสนามแม่เหล็ก
@XYZ-rx9lz
@XYZ-rx9lz Жыл бұрын
ข้ามมานาทีที่4เลยครับ เนื้อหาจริงๆอยู่ช่วงเกือบท้าย
@phumachira
@phumachira Жыл бұрын
ใหม่ยังไง รถที่ขายตอนนี้ก็ใช้อยู่แล้วหลาบรุ่น
@Faruox
@Faruox Жыл бұрын
บรัชเลสมอเตอร์ ใช้ในสว่าน
@paramethpangawongnaayuttay5009
@paramethpangawongnaayuttay5009 Жыл бұрын
กินพลังงานขึ้นมากขึ้น 2เท่า
@sarayuthtip
@sarayuthtip Жыл бұрын
มอเตอร์ไฟฟ้า INDUCTION MOTOR AC มี STATOR เป็นลวด จ่ายไฟ ส่วน มอเตอร์ DC มี STATOR มี 2 แบบ คือ แบบลวดจ่ายไฟ และ แบบแม่เหล็ก ถาวร. และ แบ่งแยกย่อย ไปตาม ชนิด ของมัน
@user-ic5bq8kq3v
@user-ic5bq8kq3v Жыл бұрын
การเผยแพร่เทคโนโลยีของบริษัทเป็นเรื่องดีต่อโลกครับ
@home4276
@home4276 Жыл бұрын
มอเตอร์แบบไม่ใช้แม่เหล็กถาวรมีมานานแล้วไม่เห็นแปลก แถมมีแรงบิดสูงด้วย
@user-bj5rw7bd6i
@user-bj5rw7bd6i Жыл бұрын
ก็เหมือนหินเจียร แต่ปัญหาคือ มันกินไฟเป็น2เท่า
@pilotcatze-0158
@pilotcatze-0158 Жыл бұрын
นวัตกรรมนี้ไม่ใช่แปรงถ่านนะครับ
@InThailand-ne5sl
@InThailand-ne5sl Жыл бұрын
เนื้อหาสำคัญน้อยนิดแต่ผักบุ้งเยอะ ..ยังงัยก็สู้ หลักการของเดิมๆไม่ได้.ของเดิมไม่มีหน้าสัมผัสให้กระแสไฟวิ่งผ่าน ต้องมีการสึกหรอและบำรุงรักษาชิ้นส่วน อยู่มากกว่าเดิม มันไม่ใช่บทสุรุปว่าทำได้.แล้วดี.
@sematoghem
@sematoghem Жыл бұрын
ส่งพลังงาน​แบบที่ชาร์จ​ไร้สายสินะ... ถ้าใช้ๆไปลูกปืนสึก​ เพลาเบี้ยวนิดเดียว​ประสิทธิภาพ​จะตกฮวบรึเปล่า...
@apiwat_kid
@apiwat_kid Жыл бұрын
งง ช็อควงการยังไง การไม่ใช้แม่เหล็กถามวรมีมานานมากแล้ว ซ้ำยังมีจำนวนผมว่า99%ในทุกอุตสหกรรม
@pairpairjung
@pairpairjung Жыл бұрын
ลองดูให้ดีครับ ภายในมอเตอร์มีขดลวดอยู่ด้วยกัน 4 ชุด 1.ขดสเตเตอร์ 2.ขดโรเตอร์ 3.ขดinduction ฝั่งที่เคลื่นที่พร้อมกันและจ่ายไฟให้กับ โรเตอร์ 4.ขดinduction ที่ยึดติดกับมอเตอร์ มอเตอร์เกรดอุตสาหกรรมคงไม่มีใครทำแบบนี้หรอกครับ เพราะต้นทุนแพง ไม่จำเป็นต้องลดขนาดและลดการบำรุงรักษาส่วนใหญ่จะใช้เป็นแบบแผ่นกรงกระรอก เรียกว่า Induction Motor จึงมีขาดใหญ่ว่าเมื่อเทียบกำลังเท่ากันถ้าอีกแบบ Synchronous Motor จะจ่ายไฟ DC ให้กับขดลวดโรเตอร์จะเป็นแบบ slip ring ครับ คือมีจุดหน้าสัมผัสคล้ายแปรงถ่าน มีการอาร์ค การสูญเสีย และการสึกหลอที่มากกว่า ไม่ใช่แบบขดลวด induction แบบนี้ กำลังและขนาดก็ต่างกัน ราคาก็ต่างกันด้วย
@user-pv9rc5ch5e
@user-pv9rc5ch5e Жыл бұрын
ถ้ามันดีก็ใช้เลย
@user-yw1pp1hv8w
@user-yw1pp1hv8w Жыл бұрын
เดียวก่อนน่ะครับ ขอถามทุกคนก่อนได้มั้ยครับมอเตอร์ เจนเนเรเตอร์ หรือไดนาโมปั่นไฟ ต้องใช้แม่เหล็กถาวร แต่ถ้าเป็นมอเตอร์แม่เหล็กไฟฟ้าตัวนี้จะสามารถผลิตไฟฟ้าออกมาได้มั้ยครับ ทุกคน หรือเปลี่ยนไฟฟ้า เป็นพลังงานกลอย่างเดียวทำให้มอเตอร์หมุนนำไปขับเคลื่อนอย่างเดียวแต่ไม่สามารถผลิตไฟฟ้าออกมาได้รึเปล่าครับ ทุกคน
@yuppanunodthondee5328
@yuppanunodthondee5328 Жыл бұрын
กินไฟมากขึ้น เพราะเอาไฟฟ้า ส่วนหนึ่ง ไปทำแม่เหล็กชั่วคราว ระยะทางที่วิ่งได้ต่อการชาต ก็จะน้อยลงรึป่าว
@acimtt229
@acimtt229 8 ай бұрын
อาจกินไฟเพิ่มเล็กน้อยจากความสํูญเสียทองแดงในโรเตอร์ แต่ถือว่าน้อยมาก ถ้าสามารถทำให้มอเตอร์มีขนาดเล็กกว่าและแรงกว่าแบบแม่เหล็กก็คงสามารถทดแทนประสิทธิภาพกันได้ เพราะแม่เหล็กก็ถูกจำกัดความเข้มสนามไว้
@thetwo5559
@thetwo5559 Жыл бұрын
หาทองแดงแทน
@boon6708
@boon6708 Жыл бұрын
มันใช่ synchrounous motor ป่าว
@bookbook8415
@bookbook8415 Жыл бұрын
แฟนหนูบอกว่าคล้ายไดชาร์จในรถยนต์ ที่ไม่มีแม่เหล็กถาวรแต่ยุ่งยากต้องมีแปร งถ่านแถมต้องเปลี่ยนแปรงถ่านบ่อย ค่า บำรุงรักษาน่าจะแพงขึ้นอีกแฟนหนูบอก ว่าซื้อยาริสตัวใหม่ ประหยัดน้ำมันขั้นเท พมาขับดีกว่ารถไฟฟ้าที่หมดไฟกลางป่า เพราะหนูนั่งรถไปเที่ยวกรุงเทพบ้านแฟ นบ่อยเหมือนกันจากพัทลุง-กรุงเทพค่ะ
@jimeclub
@jimeclub Жыл бұрын
แบบนี้ไม่มีแปลงถ่านครับ คือการยิงกระแสไฟฟ้าแบบไร้สายผ่านตัวคตล้วดครับ มันไม่มีอะไรที่จะต้องแตะกันเลย คล้ายๆ ยิงไฟฟ้า จากจุดนึงไปยังอิกจุดนึง โดยที่ไม่ต้องใช้สายไฟครับ
@t-cellparamotor7501
@t-cellparamotor7501 Жыл бұрын
ทำงานคล้ายๆ wireless charge ของโทรศัพท์มือถือรุ่นใหม่ๆนะครับ แต่อันนี้มันชาร์จเข้าไปในขดลวดแกนในที่หมุนเป็น router ทำให้ไม่ต้องมีสายอะไรต่อเข้าไป
@jimmyslilo6318
@jimmyslilo6318 10 ай бұрын
ถ้ามทีไดโอดกับcเก็บปรจุด้วยกระแสกับแรงดันจะคงอยู่ได้ประมาณ หนึ่งแบบนี้โรเตอร์จะหมุนต่อได้อีก
@user-ve2js3ne3n
@user-ve2js3ne3n 4 ай бұрын
เหมือนมอเตอร์แปรงถ่านป่าวครับ
@sookAllday
@sookAllday Жыл бұрын
ถ้าเป็น AC ก็น่าจะเป็น Synchronous Motor ถ้าเป็น DC ก็น่าจะเป็น Serie Motor
@acimtt229
@acimtt229 8 ай бұрын
ac เป็นอินดักชันก็ได้ครับ ซึ่งไม่หมุนซิงโครงนัสกับสเตเตอร์แต่จะช้ากว่าเล็กน้อยเนื่องจากความต้านทานโรเตอร์ ถ้าความต้านทานเป็น 0 ก็จะหมุนซิงโครนัสได้ครับ แต่การทำให้โรเตอร์มีความต้านทานเป็น 0 ยากกว่าการจ่ายไฟเข้าโรเตอร์เพื่อสร้างสนามแม่เหล็กซิงค์กับสเตเตอร์ครับ
@juice19289
@juice19289 Жыл бұрын
ถ้าจะให้พูด เรื่องมันยาวแต่อยากจะบอกว่า มอเตอร์หรือเจนเนอเรเตอร์ที่มีโรเตอร์แบบใช้ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าในการสร้างสนามแม่เหล็ก เพื่่อใช้สนามแม่เหล็กที่โรเตอร์เหนียวตามสนามแม่เหล็กหมุนที่สเตเตอร์สร้างจนโรเตอร์หมุนตาม มันมีมานานมากๆแล้วและการส่งผ่านพลังงานไฟฟ้าไปที่โรเตอร์โดยไม่ใช้แปลงถ่านก็มีมานานมากด้วยแค่ในคริปเปลียนวิธีนิดเดียว แต่จากที่คนทำวิดิโอสือ ดูเหมือนจะบอกว่ามันเป็นเรื่องที่ไม่เคยมีมาก่อนเลย หรือไม่ คนที่จะสือก็ไม่ได้รู้เรื่องที่พูดจริงๆ
@user-uw8cr2ei4w
@user-uw8cr2ei4w Жыл бұрын
กินไฟกว่าแม่เหล็กถาวร เพราะต้องจ่ายไฟทั้งสองฝั่ง นี่คือสาเหตุที่ใช้แม่เหล็กถาวรเข้ามาแทนมอเตอร์แบบไม่มีแม่เหล็ก
@RV_kidtech
@RV_kidtech Жыл бұрын
ถ้าเทียบประสิทธิภาพ มอเตอร์แบบเหนี่ยวนำ กับตัวใหม่นี้ต่างกันยังไง เพราะสองตัวนี้ก็ไม่มีแม่เหล็กถาวรเหมือนกัน
@user-bm7yt2ub5g
@user-bm7yt2ub5g Жыл бұрын
ขวดลวดที่พันยึดติดกับโรเตอร์ ไม่ใช้แปรงถ่าน ใช้การเหนี่ยวนำกระเเสเอา คล้ายๆหลักการส่งถ่ายของหม้อแปลง AC to DC ( อันนี้ผมเดาเอาน่ะ)
@RV_kidtech
@RV_kidtech Жыл бұрын
@@user-bm7yt2ub5g อยากเทียบประสิทธิภาพมากกว่า ดีกว่าเดิมตรงไหน ให้เดาน่าจะได้กำลังมากกว่า และ ออกตัวได้เร็วกว่า
@user-bm7yt2ub5g
@user-bm7yt2ub5g Жыл бұрын
@@RV_kidtech อันนี้ไม่เเน่ใจ เเต่ที่เเน่ๆต้องเสียพลังงานไปจ่ายให้กับขวดลวดโรเตอร์เเละสเตเตอร์ กินไฟ x2 เเต่เเรงขึ้นเเน่นอนเเรงขึ้น×2
@uppergroundedition
@uppergroundedition Жыл бұрын
หลักๆที่มอเตอร์เหนี่ยวนำมันมีแรงบิดน้อยกว่ามอเตอร์ที่มีแม่เหล็ก มอเตอร์แบบใหม่ในคลิปคือการแก้ปัญหาของมอเตเตอร์ที่มีแปรงถ่าน เปลี่ยนจากการใช้แปรงถ่านเป็นการ เป็นการส่งสนามแม่เหล็กผ่านแกนแทน เหมือนหม้อแปลงไฟ​ฟ้าที่ทั้ง2ขดไม่ได้ต่อถึงกันโดนตรง แต่ส่งพลังงานเป็นสนามแม่เหล็กผ่านแกน ไม่รู้แกนเป็นเหล็กอ่อนหรือ เฟอร์ไรท์
@RV_kidtech
@RV_kidtech Жыл бұрын
@@uppergroundedition มอเตอร์เหนี่ยวนำแบบกรงกระรอกก็ไม่มีแปรงถ่านนะครับ มีใช้มานานมากแล้ว
@dashic2431
@dashic2431 Жыл бұрын
ใช่หลักการคล้ายๆกับ พัดลม ไฟฟ้าตามบ้านทั่วไป รึป่าว? นั่นก็ไม่มีแม่เหล็กถาวรเหมือนกัน
@pingonepong5594
@pingonepong5594 Жыл бұрын
น่าจะเหมือนมอเตอร์แบบแปรงถ่าน แต่แทนที่จะใช้แปรงถ่านส่งไฟเข้าโรเตอร์ คงใช้ขดลวดเหนี่ยวนำส่งผ่านโดยไม่สัมผัสโรเตอร์ จึงไม่มีการสึกหรอ แบบชาร์จมือถือไร้สาย ประมาณนั้นมั้งครับ ส่วนแม่เล็กก็ใช้คอยล์ทองแดงทำเป็นสนามแม่เหล็กแทนการใช้แม่เหล็กอีกทีนึง เดาเอานะครับ
@Amataaaa
@Amataaaa Жыл бұрын
ร่างกายต้องการ..... หมูกระทะ
@anakininnaka6887
@anakininnaka6887 Жыл бұрын
มันสะดวกและทนกว่าแต่มันก็ใช้พลังงานมากกว่าเพราะจากที่ใช้ขดลวดฝั่งเดียวก็กลายเป็น2ฝั่งจึงต้องใช้ไฟฟ้าทั้ง2ฝั่ง และแนวคิดการทำมอเตอร์ตัวนี้ก็มีแนวทางมาจากไดร์ชาร์จ
@jimmyslilo6318
@jimmyslilo6318 9 ай бұрын
มีใครมีความคคิดเหมือนผมบ้างว่า แกนขดลวดที่หมุนถ้าเรามีไดโอดและcต่อเป็นไฟตรงให้กับขดลวดต่อๆไปมันจะเพิ่มแรงบิดให้แกนเหมือนมีแม่เหล็กถาวรในตัวไหม อยากลองทำดูบ้าง ต่อสลับกันไปเหมือนมีแม่เหล็กขั้วN และS
@acimtt229
@acimtt229 8 ай бұрын
มันจะไม่เกิดการเหนี่ยวนำนะครับ เพราะโรเตอร์หมุนด้วยความเร็วเท่ากันกับสนามสเตเอร์
@user-bb4np7kn7y
@user-bb4np7kn7y 10 ай бұрын
ถ้าแม่เหล็กถาวรถูกขุดขค้นมาใช้มากเกินไป จะทำให้สนามแม่เหล็กเกิดกาเปลีเยนแปลงหรือไม่ครับ
@sawatnethong188
@sawatnethong188 Жыл бұрын
ความคิดเก่าๆก็ยังนำมาเสนอ
@ARTcomGG
@ARTcomGG Жыл бұрын
มอเตอร์กับแบตเตอร์รีนี้และ
@gogonavy19
@gogonavy19 Жыл бұрын
เดี๋ยวนะ เดี๋ยวนี้ใช้หลักการเหนี่ยวนำเหล็กธรรมดาให้เป็นแม่เหล็กได้นานแล้วนะ โดยใช้ไฟฟ้ากำลังสูงให้อนุภาคของเหล็กเกิดการเรียงตัวอย่าตกยุคสิ
Happy 4th of July 😂
00:12
Pink Shirt Girl
Рет қаралды 13 МЛН
When You Get Ran Over By A Car...
00:15
Jojo Sim
Рет қаралды 15 МЛН
Khó thế mà cũng làm được || How did the police do that? #shorts
01:00
Why Is Hydroelectric Power Plant Underground ? - TGC Field Trip
37:16
tigercrychannel
Рет қаралды 1,1 МЛН
Замена тормозных колодок на Мерседес
0:27
Автосервис Мерседес MBSEMENOV
Рет қаралды 2,5 МЛН
Опять в кузовной
0:40
SMASHCAR
Рет қаралды 642 М.
расход топлива грузовиков СССР часть 2
0:34
Сергей Шаров
Рет қаралды 367 М.
расход топлива грузовиков СССР часть 2
0:34
Сергей Шаров
Рет қаралды 367 М.