แก้ไขไตวายเรื้อรังอย่างไร จะตัดสินใจอย่างไรถ้าหมอบอกว่าต้องล้างไต

  Рет қаралды 38,762

Doctor Tany

Doctor Tany

Жыл бұрын

สามารถเข้าร่วม Membership ได้ตามลิงค์นี้ครับ / @drtany
ถ้าสมัครทางมือถือ ต้องทำผ่าน Browser ครับ ทำทาง App มันจะไม่ได้ ถ้าทำในคอมทำได้ปกติครับ

Пікірлер: 269
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
แก้ไขไตวายเรื้อรังอย่างไร จะตัดสินใจอย่างไรถ้าหมอบอกว่าต้องล้างไต สวัสดีครับ วันนี้ผมจะมาพูดเกี่ยวข้องกับโรคไตวายเรื้อรังนะครับว่าเมื่อไหร่เราจึงจำเป็นจะต้องทำการปลูกถ่ายไต ล้างไตนะครับ หรือถ้าเราเป็นไตวายเรื้อรังอยู่แล้วเราไม่ต้องการที่จะล้างไตเนี่ยมันมีวิธีอะไรที่เราจะป้องกันไม่ให้โรคไตของเรามันแย่ไปกว่านี้ได้นะครับ รวมทั้งถ้าเกิดคนไหนล้างไปแล้วมันจะมีผลข้างเคียงอะไรอย่างไรบ้างวันนี้ก็จะเล่าให้ฟังกันเลยนะครับ พบกับผมนะครับ นายแพทย์ธนีย์ ธนียวันนะครับ เป็นอาจารย์แพทย์อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เชี่ยวชาญโรคปอด การปลูกถ่ายปอด และวิกฤตบำบัดนะครับ
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
2️⃣ ในกรณีที่ไตวายเฉียบพลันเนี่ยบางครั้งเนี่ยอาจจะเป็นจะต้องล้างไตนะครับ แล้วไตวายเฉียบพลันมันจะมีส่วนหนึ่ง จริงๆก็ส่วนใหญ่เลยนะครับที่สามารถกลับมาไม่ต้องล้างไตได้นะครับ ก็คือช่วงแรกล้างไปก่อนพออาการดีขึ้นเนี่ยไตมันจะกลับมาทำหน้าที่ได้นะครับก็ไม่ล้างไตนะครับ แต่วันนี้เนี่ยเราจะเน้นกันในแง่ของเรื่องของไตวายเรื้อรังนะครับ ทีนี้ไตวายเรื้อรังเนี่ยนะครับ ต้องบอกก่อนว่ามันมี 5 ขั้นด้วยกันนะครับ และเมื่อเราเป็นไตวายตั้งแต่ขั้นที่ 3 เป็นต้นไป อันเนี้ยเราถึงจะต้องเริ่มมาดูแลตัวเองจริงจังละนะครับ บางคนเห็นเขียนมาถามผมตั้งแต่ไตวายขั้นที่ 2 นะครับ ก็รู้สึกกังวลว่าจะทำยังไงดี ตรงนั้นเนี่ยไม่ค่อยต้องกังวลมากนะครับแต่ว่าถ้าเป็นขั้นที่ 3 ขึ้นไปเนี่ยนะครับคือค่า GFR หรือ Glomerular Filtration Rate เนี่ยต่ำกว่า 60 อันนี้น่าจะต้องกังวลแล้วเพราะว่ามีโอกาสที่โรคไตของเรามันจะเป็นมากได้นะครับ
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
3️⃣ แน่นอนถ้าโรคไตของเราเนี่ยอยู่ขั้นท้ายๆ เช่นขั้น 4 ขั้น 5 เนี่ยนะครับ หรือเรามีผลจากไตที่มันทำหน้าที่ไม่ดีนะครับตรงนั้นเนี่ยหมอเขาจะเริ่มคุยกับเราแล้วว่า “เราอาจจะต้องพิจารณาล้างไตแล้วนะ” นะครับ หรืออาจจะต้องพิจารณาปลูกถ่ายไตในบางกรณีนะครับ แล้วตรงนี้เนี่ยมันเป็นสัญญาณเตือนเราแล้วครับว่าถ้าเราไม่รีบดูแลตัวเองเนี่ยโอกาสที่เราจะต้องล้างไตมันจะสูงมากนะครับ แล้วบางกรณีก็อาจจะดูแลเต็มที่แล้วมันทำอะไรไม่ได้ก็ต้องล้างไตอยู่ดีนะครับ มิฉะนั้นท่านก็อาจจะแย่ได้นะครับ ตอนนี้พอเรารู้แล้วว่าหมอเขาเริ่มคุยกับเรื่องพวกนี้โดยเฉพาะคนที่มีไตวายระยะหลังๆนะครับ วิธีในการคิดเนี่ยเราจะต้องคิดอะไรบ้างนะครับ?
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
5️⃣ 🔶อันที่ 2 คือมันมีหน้าที่ในการควบคุมความเป็นกรดด่างของร่างกายนะครับ ถ้าไตเสียมากเนี่ยร่างกายก็จะมีความเป็นกรดค่อนข้างที่จะสูงนะครับ มันมีหน้าที่ในการควบคุมระดับเกลือแร่ในร่างกายโดยเฉพาะโพแทสเซียม (Potassium) แล้วก็ฟอสฟอรัส (Phosphorous) นะครับ ถ้าเราได้สารพวกนี้มากจนเกินไป แล้วไตของเราเนี่ยขับไม่ออกมันก็จะเกิดอันตรายนะครับ โพแทสเซียมสูงๆในร่างกายเราก็จะมีอันตรายต่อหัวใจได้นะครับ ฟอสฟอรัสสูงๆเนี่ยในร่างกายเนี่ยมันก็จะไปรวมกับแคลเซียมในร่างกายเกิดเป็นตะกอนขึ้นมาตามบริเวณต่างๆของร่างกายตามเส้นเอ็น ตามผิวหนัง ตามกล้ามเนื้อต่างๆพวกนี้ในระยะยาวก็จะเกิดปัญหาได้ แล้วกระดูกของเราก็จะมีปัญหาได้เช่นกันนะครับ
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
6️⃣ 🔶นอกเหนือจากนี้ไตเราเนี่ยมันยังเป็นที่ผลิตฮอร์โมนสำคัญอยู่ 2 อย่างนะครับ 🔸อย่างแรกเนี่ยเป็นฮอร์โมนในการเพิ่มเม็ดเลือดแดงหรือที่เราเรียกว่า อีริโทรโพอิติน (Erythropoietin) นะครับ ตั้งแต่ไตวายขั้นที่ 3 เป็นต้นไป ไตของเราเนี่ยจะมีปัญหาในการสร้างฮอร์โมนตัวนี้นะครับ แล้วบางคนเนี่ยจะต้องฉีดฮอร์โมนเสริมมิฉะนั้นเนี่ยจะมีปัญหานะครับ ไม่สามารถสร้างเม็ดเลือดได้ก็จะมีโรคโลหิตจางตามมาทำให้มีอาการเหนื่อยเพลียง่ายนะครับ
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
8️⃣ ขาดวิตามินดีเกิดอะไรขึ้น? ➡️กระดูกพรุนครับ เกลือแร่มีปัญหานะครับ เกลือแร่อะไรบ้างที่มีปัญหา? ➡️หลักๆก็คือเรื่องของแคลเซียม (Calcium) นั่นเองนะครับ เราจะมีปัญหาในกรณีแบบนี้นะฮะ นี่คือเรื่องของระบบกระดูก กล้ามเนื้อต่างๆนะครับที่มีความเกี่ยวข้อง เรื่องกรดด่าง เรื่องของน้ำในร่างกายนะครับ เรื่องของเกลือแร่ต่างๆนี่คือหน้าที่ของไตนะครับ
@thanawutruksapol4398
@thanawutruksapol4398 Жыл бұрын
คนไทยเป็นโรคไตกันประมาณ 8 ล้านคน หนึ่งในนั้นคือพ่อผมที่กำลังล้างไตอยู่ด้วย คลิปนี้เคลียร์แทบจะทุกอย่างของการปฏิบัติตัวเพื่อไม่ทำให้คนไทยมีสุขภาพไตที่แย่ลงไปกว่านี้ ถือว่าช่วยเหลือสังคมได้ดีมากๆเลยครับผม ขอบคุณมากๆครับ 😊😊😊 🙏🙏🙏
@user-ot9dj3pg5t
@user-ot9dj3pg5t Жыл бұрын
มีคนปลูกถ่ายไต รับอวัยวะจากผู้บริจาคอายุ 16ปี สามารถใช้ไตที่ปลูกถ่ายมาได้ 12-13ปีจนถึงปัจจุบัน ยังบอกพี่เขาไปว่าเราอาจใช้อวัยวะปลูกถ่ายได้ถึง 20ปีเลยนะคะ คุยด้วยแล้วพี่เขาน่าจะอายุยืน เพราะเขามองโลกในแง่ดีมาก
@boomsong5729
@boomsong5729 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอธนีย์ โรคไตวายเรื้อรัง หากเป็นแล้วจะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่ถ้าตรวจพบในระยะแรกๆ ก็สามารถรับการรักษา เพื่อชะลอความเสื่อมของไตให้ผู้ป่วยเข้าสู่ระยะที่ต้องฟอกไต หรือปลูกถ่ายไตให้ช้าที่สุด หากผู้ป่วยดูแลตัวเองอย่างเหมาะสม ก็จะยืดให้ไตเสื่อมช้าลง 1) ควบคุมโรคประจำตัว เช่นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ให้อยู่ในภาวะปกติ 2) หลีกเลี่ยงการทานยาเอง อาหารเสริม สมุนไพร ควรปรึกษาแพทย์ 3) การทานอาหารจะต้องมีการควบคุมโปรตีนให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย รักษาสมดุลเกลือแร่ โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม 4) ดื่มน้ำในปริมาณที่เหมาะสม ตามคำแนะนำของแพทย์ ควรชั่งน้ำหนักทุกวัน น้ำหนักเพิ่มขึ้นมากกว่า 1 ก.ก ต่อวัน จะมีอาการบวมน้ำ 5) การออกกำลังกายแบบ Moderate intensive exercise ขอบคุณมากค่ะคุณหมอแทน 🌻🧡🌻
@khuanchitsaichan4576
@khuanchitsaichan4576 Жыл бұрын
คนที่ยังไม่ปัญหาโรคไตก็ทานอาหารให้หลากหลาย ไม่ทานซ้ำ ๆ นะคะ #ควรทานอาหารที่มีโพแทสเซียม เช่น มันฝรั่ง กล้วย นม ฟอสฟอรัส เช่น ถั่ว น้ำอัดลม อาหารแปรรูป พวกไส้กรอก โซเดียม จำพวกเครื่องปรุง ในปริมาณที่ไม่เยอะจนเกินไป ดื่มน้ำให้เพียงพอ มีน้องชาย ลูกคุณน้า ปลูกถ่ายไตมาประมาณ 1 ปี สังเกตว่าเค้าท้องใหญ่มาก บวมไปถึงคอ เหมือนคนป่วยค่ะ ซึ่งก่อนปลูกถ่ายไม่อ้วนแบบนี้ แต่ก็ไม่เคยถามอาการโดยละเอียดค่ะ #ฟังอาจารย์หมอว่าคนที่จะปลูกถ่ายไตได้ ต้องได้รับการตรวจเช็คแล้วว่าเข้ากันได้ 🌼อาจารย์หมอคะ อาการท้องใหญ่มาก บวมไปถึงช่วงคอ เกิดจากอะไรได้บ้างคะ #ขอบคุณอาจารย์หมอมากค่ะ🥰
@Chaweewan8769
@Chaweewan8769 Жыл бұрын
เป็นคลิปที่มีประโยชน์มากค่ะอาจารย์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไตวายเรี้อรังได้ละเอียดทุกเรื่องตั้งแต่การดูแลตนเอง วิธีป้องกันรักษา โดยการออกกำลังกาย ควบคุมเรื่องอาหาร และยา วิธีการรักษาโดยล้างไต และปลูกถ่ายไต น่ากลัวมากเลยทำให้ผู้ที่ยังไม่เป็นโรคไตต้องระมัดระวังดูแลตนเองมากขึ้น ขอบพระคุณอาจารย์มากค่ะ
@paraneeplanantakuntorn
@paraneeplanantakuntorn Жыл бұрын
กราบขอบพระคุณคุณหมอค่ะ สำหรับคำแนะนำที่เริ่มตั้งแต่เบื้องต้นจนกระทั่งระดับที่ต้องบำบัดหรือปลูกถ่ายไต โรคไตนี้ถ้าไม่ดูแลตัวเองหรือไม่ยอมรับที่จะปรับตัวในการดำเนินชีวิตตั้งแต่แรก จะทำให้เกิดความสูญเสียในเรื่องสำคัญหลายอย่าง แน่นอนเรื่องสุขภาพอ่อนแอ ตามมาด้วยความทุกข์ในการดำเนินชีวิต การสูญเสียบทบาทในครอบครัวและการประกอบอาชีพ ขาดรายได้ในขณะที่รายจ่ายเพิ่มขึ้นในการรักษา นำมาสู่ผลกระทบต่อจิตใจของทั้งผู้ป่วยและครอบครัว ดังนั้นใครที่ยังไม่ไปถึงระดับวิกฤติ การป้องกันด้วยการปรับพฤติกรรม ปรับตัวในการดำเนินชีวิตจึงเป็นสิ่งสำคัญมาก ทั้งคนที่เป็นโรคไตแล้วและยังไม่เป็น เพื่อให้เรายังคงมีคุณภาพชีวิตที่ดีมาดูแลครอบครัวของเราต่อไป
@warongratratanawarang3057
@warongratratanawarang3057 Жыл бұрын
น่ากลัวจังค่ะ ไตวาย ต้องล้างไต มันทรมาน ยืดเยื้อ ถ้าเลือกตายได้ เลือก " หัวใจวาย" ตายซะดีกว่า ค่ะ ไม่ยืดเยื้อออออ อิ อิ😂😂😢😢😮😮😊❤❤ 6/6/66 😊😊
@sujindathevoice6238
@sujindathevoice6238 Жыл бұрын
สิ่งที่คุณหมอทำนี้ ช่วยคนไข้ให้ได้รับความรู้ความเข้าใจ ตั้งแต่การป้องกัน และผลของความเจ็บป่วย และช่วยให้คุณหมอที่ไม่สามารถมีเวลาจะมานั่งอธิบายให้คนไข้ทุกคนได้เข้าใจแบบนี้เพราะเนื่องด้วยปริมาณผู้ป่วยต่อวันที่ท่านต้องรักษา คุณหมอได้สร้างกุศลอันดีงามมากๆค่ะ กราบขอบพระคุณมากๆนะคะ เคารพ รัก และนับถืออย่างยิ่งค่ะ❤❤❤
@kanyamuay3748
@kanyamuay3748 Жыл бұрын
หลักการที่สำคัญของการรักษาโรคไตเรื้อรัง คือ การปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงร่วมกับการรักษาเพื่อชะลอความเสื่อมของไตไม่ทำให้ไตเสื่อมลงเร็วกว่าปกติ และยืดระยะเวลาที่จะเข้าสู่ภาวะโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายให้นานที่สุด ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังทุกระยะล้วนได้ประโยชน์จากการรักษาเพื่อชะลอความเสื่อมไต ไม่ว่าจะเป็นระยะแรกซึ่งเนื้อเยื่อไตยังไม่ได้รับความเสียหายมากนักและการทำงานไตโดยรวมยังผิดปกติไม่มาก จนถึงระยะ 3-4 ขึ้นไปซึ่งการทำงานไตเสื่อมไปมากแล้วก็ตาม การรักษาเพื่อชะลอการเสื่อมของไต มีดังนี้ 1.การควบคุมโรคร่วมต่างๆ ให้อยู่ในภาวะปกติ และควรรับประทานยาตามที่แพทย์แนะนำอย่างเคร่งครัด เช่น ความดันโลหิตสูง ต้องควบคุมความดันโลหิตไม่เกิน 130/80 mmHg (หรืออาจให้ความดันตัวบนน้อยกว่า 120 mmHg ถ้าไม่มีอาการผิดปกติ) หรือ โรคเบาหวาน คุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในช่วง 70-110 mg/dL หรือน้ำตาลเฉลี่ยสะสม (HBA1c) น้อยกว่า 6.5-7.0 ถ้าเป็นโรคเก๊าท์ พยายามอย่าให้โรคกำเริบ รักษาระดับกรดยูริกในเลือดให้ปกติ เป็นต้น 2.การควบคุมอาหาร ซึ่งการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคไตจะไม่เหมือนกับคนทั่วไป จะต้องมีการควบคุมปริมาณโปรตีนให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย และป้องกันสภาวะขาดสารอาหาร แต่ก็ไม่มากจนเกินไปจนทำให้ไตทำงานหนักจากการขับของเสียจากการเผาผลาญโปรตีนที่มากเกินไป ส่วนใหญ่มักต้องเริ่มมีการจำกัดโปรตีนเมื่อไตเสื่อมเรื้อรังระยะที่ 4 ขึ้นไป นอกจากนี้ยังต้องควบคุมให้ปริมาณโซเดียมและโพแทสเซียมอยู่ในระดับปกติ เพื่อควบคุมอาการบวม ความดันโลหิตสูง ป้องกันอาการแทรกซ้อนต่างๆ ที่เกิดขึ้น หลีกเลี่ยงอาหารไขมันที่มีกรดไขมันอิ่มตัวสูง เช่น ไขมันจากสัตว์ ไขมันจากกะทิ เนย น้ำมันมะพร้าว ผลิตภัณฑ์นมเนยมาการีน และไข่แดง เป็นต้น รวมทั้งอาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง ได้แก่ ถั่วเมล็ดแห้ง ธัญพืชต่างๆ ปูม้า ปลาซาดีน ปลาไส้ตัน น้ำอัดลม โยเกิร์ต ช็อคโกแลต ชา กาแฟ เครื่องในสัตว์ ไข่แดง เนยแข็ง และนม นอกจากนี้ควรดื่มน้ำในปริมาณที่เหมาะสมตามคำแนะนำของแพทย์ 3.การใช้ยาและสมุนไพรบางชนิด ยาบางชนิดหากใช้ในปริมาณที่มากเกินไป อาจทำให้เกิดผลเสียต่อไตได้ โดยเฉพาะผู้ที่ไตทำงานเสื่อมมากแล้ว และควรใช้ยาอย่างระมัดระวัง เช่น 🍎ยาน้ำแก้ไอ ยาน้ำแก้ปวดท้อง ส่วนใหญ่มักมีส่วนผสมของสมุนไพร หากรับประทานต่อเนื่องเป็นเวลานานอาจเกิดการสะสมของโพแทสเซียม ซึ่งจะมีปัญหาได้ในผู้ป่วยโรคไตที่มีโอกาสเกิดการคั่งของเกลือแร่โพแทสเซียมง่าย 🍎ยาแก้ปวดลดอักเสบ โดยเฉพาะกลุ่มยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ หรือที่เรียกกันว่า NSAIDs มีผลทำให้ไตเสื่อมทั้งระยะสั้นและระยะยาว ทำให้เกิดภาวะบวมน้ำ ความดันโลหิตสูง และเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจได้ 🍎ยาระบายหรือยาลดกรดที่มีอะลูมิเนียมและแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดการสะสมของเกลือแร่เหล่านี้จนเป็นพิษต่อร่างกาย 🍎ยาที่มีส่วนประกอบของโซเดียม ยาที่ต้องละลายน้ำ หรือวิตามินอื่นๆ เช่น ยาแอสไพรินชนิดเม็ดฟู่ วิตามินที่แพทย์ไม่ได้สั่งให้รับประทาน อาจทำให้ร่างกายมีภาวะโซเดียม น้ำ และเกลือแร่เกินในร่างกาย 🍎อาหารเสริมต่างๆ ยาจีน ยาแผนโบราณ และสมุนไพรต่างๆ อาจมีส่วนประกอบของเกลือแร่บางชนิด หรือสารเคมีซึ่งทำให้เกิดการสะสมในร่างกายได้จนเกิดอันตรายต่อไต 4.การงดสูบบุหรี่ เนื่องจากจะทำให้ความดันโลหิตสูงมากขึ้น ส่งผลต่อระบบหลอดเลือดทั้งร่างกายรวมทั้งที่ไต ผู้ป่วยโรคไตจึงควรงดการสูบบุหรี่ 5.การออกกำลังกาย ผู้เป็นโรคไตสามารถออกกำลังกายได้ ตามความเหมาะสมแต่ต้องไม่รุนแรง และไม่เหนื่อยจนเกินไป เช่น การออกกำลังกายในร่ม การเดิน ว่ายน้ำ หรือปั่นจักรยาน
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับข้อมูลค่ะพี่หมวย...
@kanyamuay3748
@kanyamuay3748 Жыл бұрын
@@FragranzaTrippa ยินดีค่ะน้องทริป
@ampaivannametee6700
@ampaivannametee6700 Жыл бұрын
ได้ความรู้เรื่องของไตและข้อมูลต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อการบำรุงรักษาไต ทั่วไปแม้มิได้เป็นโรคไต ได้อย่างละเอียดเข้าใจง่าย ขอบพระคุณ คุณหมอเป็นอย่างยิ่งค่ะ
@sattawatsuntisurat6237
@sattawatsuntisurat6237 Жыл бұрын
ผมแพ้ยากลุ่ม nsaid ทั้งหมดเลยครับ Ponstan พอกินแล้ว ตาบวม หายใจไม่ออกเลย ตอนนี้ถ้าปวด ก็กินแต่พาราอย่างเดียว ผมกินยาน้อยมากๆ นานๆจะกินซักที
@penjitteng7704
@penjitteng7704 Жыл бұрын
คุณหมอคะลูกชายอายุ17 ฉี่เป็นฟองมาระยะหนึ่งแล้วคะ หลังๆวัดความดันได้155บางครั้งลงเหลือ140 ออกกำลังกายทุกวันเล่นยิม เค้าเน้นกินโปรตีนอกไก่ เนื้อหมู บางทีมีเสริมเวย์โปรตีนด้วยกรณีนี้ควรไปตรวจเลือดด้วยไม๊คะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ควรครับ
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
คลิปใหม่มาแล้วค่ะ... วันนี้เรื่อง... แก้ไขไตวายเรื้อรังอย่างไร จะตัดสินใจอย่างไรถ้าหมอบอกว่าต้องล้างไต ◾ก่อนอื่นเลย ระยะของโรคไตมี 5 ระยะ ระยะที่ 3 เป็นระยะเริ่มเสี่ยง ◾ไตมีหน้าที่หลายอย่าง เช่น ควบคุมปริมาณน้ำในร่างกาย ควบคุมระดับเกลือแร่ในร่างกาย เช่น ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม ถ้าขับไม่ออก ในระยะยาวจะมีปัญหาได้... ไตทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมน ไตช่วยปรับวิตามินดีให้ทำงานดียิ่งขึ้น ถ้าไตทำงานไม่ดี ทำให้ขาดวิตามินดี แคลเซียมมีปัญหา ถ้าไตวายระยะที่ 3 จะไม่สามารถสร้างเม็ดเลือดได้... ไตมีหน้าที่ขับของเสียจากร่างกาย ถ้าขับไม่ได้อาจจะเกิดเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ มึนงง อ่อนเพลีย หลับลึกไม่ตื่น อาการชัก ซึ่งจะนำไปสู่การล้างไต 🟣ถ้าอาการที่เป็นอยู่ยังไม่รุนแรง จะดูแลตัวเองอย่างไรเพื่อจะได้ไม่ต้องล้างไต 1. ถ้ามีโรคประจำตัวอยู่ต้องรักษาให้ดีก่อน เช่น โรคความดันต้องคุมให้ได้ ต้องต่ำกว่า 130/80 ควบคุมเบาหวานให้ดี 2. ห้ามหายามาทานเอง โดยเฉพาะยาแก้ปวดต่างๆในกลุ่ม NSAIDs ยาแก้ปวดที่เหมาะคือ พาราเซตามอล หลีกเลี่ยงการใช้สมุนไพร 3. รักษาความสมดุลของเกลือแร่ เช่น โปแตสเซียม ซึ่งมีมากในกล้วย อะโวคะโด มันฝรั่ง ผักต่างๆ ฟอสฟอรัส ซึ่งมีมากในนม ถั่ว น้ำอัดลม ไส้กรอก ลูกชิ้น กุนเชียง เนื้อสัตว์แปรรูป... โปรตีนอย่าทานมากเกินไป แต่! ไม่ใช่ว่าจะงดโปรตีนไปเลย แต่ทานให้พอเหมาะไม่มากไม่น้อยไป 4. ควบคุมเรื่องความเค็ม ถ้าทานเกลือ รวมทั้งเครื่องปรุงรสต่างๆในปริมาณมาก แนะนำทำอาหารทานเอง ใช้เครื่องปรุงให้น้อยที่สุด ปรุงได้แต่เติมพริก กับมะนาว ย้ำว่า ที่เคยมีคนกล่าวว่า ต้องทานโซเดียมให้มากขึ้นวันละ 5 กรัมเป็นข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ในคนที่เป็นโรคไตแนะนำที่ 2 กรัมต่อวันเท่านั้น เกลือที่ต้องหลีกเลี่ยงอีกอย่างก็คือ เกลือโปแตสเซียม เพราะอันตรายเช่นกัน 5. ดื่มน้ำให้เพียงพอ ซึ่งต้องเหมาะสมตามสภาพไตของเรา บางคนต้องจำกัดน้ำ บางคนต้องทานยาขับปัสสาวะ 6. ออกกำลังกายแบบเหนื่อยปานกลาง 30 นาทีต่อวัน 5 วันต่อสัปดาห์ พักผ่อนให้เพียงพอ ไม่เครียด 🟣วิธีล้างไตมี 3 ประเภท 1. ล้างทางเส้นเลือด โดยใส่สายเข้าไปในเส้นเลือดใหญ่ที่คอ หรือ ทำเส้นพิเศษที่แขน 2. ล้างทางหน้าท้อง เจาะรูทางหน้าท้อง เพื่อใส่น้ำล้างไตเข้าไปทำความสะอาด เหมาะกับคนที่อาการไม่มาก แต่ข้อเสียคือ ติดเชื้อได้ง่าย และอาจจะมีอาการไส้เลื่อน 3. การปลูกถ่ายไต ซึ่งได้ผลดีมาก แต่ต้องหาไตที่เข้ากับเรา แต่ต้องรอนาน และคนที่จะปลูกถ่ายไต ก็ต้องแข็งแรงพอ ไม่มีปัญหาเรื่องไตเยอะ คนที่ไม่เหมาะกับการปลูกถ่ายไต เช่น อ้วนเกินไป เป็นมะเร็งหรือเพิ่งหายจากมะเร็งมาภายใน 5 ปี เป็นโรคจิตเวชที่คุมไม่ได้ ยังใช้ยาเสพติดอยู่ มีปัญหาเรื่องการทานยา คนที่มีสภาพความเป็นอยู่ไม่ดี มีโรคหัวใจ โรคหลอดเลือด และเมื่อปลูกถ่ายไตแล้วต้องทานยากดภูมิต้านทานไปตลอดชีวิต
@kanyamuay3748
@kanyamuay3748 Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะน้องทริป
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
@@kanyamuay3748 ด้วยความยินดีค่ะพี่หมวย...
@user-nc1cs8ip6z
@user-nc1cs8ip6z Жыл бұрын
ขอบคุณมากเลยค่ะ ฟังคลิปจบ มาอ่านสรุปอีกรอบนึง รู้สึกช่วยจัดระเบียบสิ่งที่ฟังไปได้ดีมากๆเลยค่ะ 🙏🏻❤
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
@@user-nc1cs8ip6z ด้วยความยินดีค่ะ...
@kanokpornmartinez6155
@kanokpornmartinez6155 Жыл бұрын
แฮบปี้สดใสกับการงาน รักในสิ่งที่ทำ เก่งมากๆจ้า
@rinkorinrinrin
@rinkorinrinrin Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ สามีของป้าล้างไตทางเส้นเลือดค่ะอาทิตย์ละสามครั้ง เป็นอย่างคุณหมอหมอเล่ามาแล้วทั้งหมดเลยค่ะ ไม่ว่าไส้เลื่อย นํ้าลงปอด ตะคริว ทุกวันกินยาเยอะค่ะเช้า กลางวัน เย็น ป้าได้แต่ทำใจเพราะเค้าเป็นคนชอบกินค่ะ😁
@user-ot9dj3pg5t
@user-ot9dj3pg5t Жыл бұрын
ช่วงที่ญาติเป็นมะเร็งลำไส้ ก่อนผ่าตัดต้องทำCT Scan ค่าไตสูง จนท.ต้องปรึกษาว่าทำอย่างไรคือให้ดื่มน้ำเยอะๆ หลังจากผ่าตัดค่าไตกลับมาปกติ(ตามคำบอกเล่าของผู้ป่วย) ล่าสุดไปCT Scan หลังจากครบ 2ปี เหมือนง่ายและก็สะดวกเลยคิดว่าน่าจะดีขึ้นแล้วจริงๆ ค่ะ
@fastaccesscompanylimited4838
@fastaccesscompanylimited4838 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ คุณแม่ของดิฉันเพิ่งออกจากรพ.เนื่องจากไตวายเฉียบพลัน คุณหมอให้งดนม ได้มาเห็นคลิปนี้ เครียทุกคำถามที่มีในใจเลยค่ะ ว่า เกิดจากอะไร ทำไมต้องงดอะไร ขอบคุณคุณหมอสำหรับความรู้นี้มากค่ะ
@krongkaewarunsiri8866
@krongkaewarunsiri8866 Жыл бұрын
ขอบพระคุณค่ะอนุโมทนาสาธุค่ะ🙏❤️
@user-ju4gt3lm1e
@user-ju4gt3lm1e Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ
@varapornsudsopa171
@varapornsudsopa171 Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะคุณหมอ
@yupinintaya3081
@yupinintaya3081 Жыл бұрын
❤ขอบคุณค่ะ
@nung-noppapat
@nung-noppapat Жыл бұрын
ขอบคุณ​ค่ะ​อาจารย์​🙏🥰
@user-jl7bw9xe2c
@user-jl7bw9xe2c Жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากคะ ขอให้คุณหมอและครอบครัว สุขภาพแข็งแรง เจริญรุ่งเรือง🙏🏼
@panupatswangareeruk3578
@panupatswangareeruk3578 Жыл бұрын
ขอบคุณมากๆครับ
@wanpenleohirun8153
@wanpenleohirun8153 Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ🙏
@Lllll7462
@Lllll7462 Жыл бұрын
คุณหมอคะ พรุ่งนี้ฉันไปสัมภาษณ์วีซ่ามอเมริกาค่ะ ถ้าไม่ได้ก็ไม่เป็นไรเพราะเอกสารนี้ยื่นออนไลน์ก่อนแฟนเสียค่ะ พึ่งถึงคิวสัมภาษณ์พรุ่งนี้ ไปสัมภาษณ์พอเป็นพิธีค่ะ ถ้าได้วีซ่าพ่อแฟนจะซื้อตั๋วให้ไปเที่ยวแคลิฟอร์เนียและไปเอาแลปท็อปของแฟนที่แคลิฟอร์เนียบ้านพ่อแฟนค่ะ ถ้าวีซ่าไม่ผ่านก็ไม่เป็นไรไม่ได้เสียใจค่ะ
@user-gv7mc7qe2q
@user-gv7mc7qe2q Жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ😍
@ltbsupply
@ltbsupply Жыл бұрын
ขอบคุณมากครับอาจารย์หมอ❤
@dttd6340
@dttd6340 Жыл бұрын
ขอขอบคุณ อ. มากครับ
@sousou2231
@sousou2231 Жыл бұрын
ขอบคุณมากๆค่ะคุณหมอ🙏❤😊
@atiphasangsuwan9097
@atiphasangsuwan9097 Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะคุณหมอ เป็นประโยชน์มากค่ะ
@user-sz6mj1gr7s
@user-sz6mj1gr7s Жыл бұрын
เยี่ยมจริงๆ ละเอียดยิบเข้าใจง่าย ขอบคุณค่ะ
@Zhinouhze
@Zhinouhze Жыл бұрын
ขอบคุณมากครับคุณหมอ
@leo-jx2mh
@leo-jx2mh Жыл бұрын
ขอบคุณครับพี่หมอ🙏♥️♥️♥️♥️
@suleedechsungsookh5024
@suleedechsungsookh5024 6 ай бұрын
กราบขอบพระคุณครับ
@user-wf5tq4qz7z
@user-wf5tq4qz7z Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ มีประโยชน์มากค่ะในคลิปนี้
@subaruyo2251
@subaruyo2251 Жыл бұрын
สวัสดีครับคุณหมอ❤❤❤
@user-ts7jx1es6e
@user-ts7jx1es6e 3 ай бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากค่ะ
@kanjanaanyrukratchada2719
@kanjanaanyrukratchada2719 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ
@phanasphanPhan
@phanasphanPhan Ай бұрын
ขอบพระคุณครับ
@user-oo9ox1ly7r
@user-oo9ox1ly7r 2 ай бұрын
ขอบคุณมากๆคะคุณหมอ
@SFung-hv2ov
@SFung-hv2ov Жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ในวันนี้ค่ะ คุณหมอแทน
@raksaswallow2563
@raksaswallow2563 Жыл бұрын
สวัสดีคะคุณหมอ
@jim.chintana5790
@jim.chintana5790 Жыл бұрын
กราบขอบพระคุณ คุณหมอมากค่ะ ทุกคลิปขอคุณหมอมีประโยชน์มากค่ะ
@user-eb9hz3nk9c
@user-eb9hz3nk9c Жыл бұрын
ชอบฟังความรู้..จากคุณหมอ...มากคะ...ฟังแล้วมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน..ขอบคุณคะ
@banyatmr.srisom4644
@banyatmr.srisom4644 8 ай бұрын
ขอบพระคุณ Dr. Tany ขอรับ / ผมอายุ 74 ค่า eGfr 60 มาตลอด 3 ปี และเฝ้าระวังยี่ง . ยังไม่ภาม แต่ติดตามคลิป ❤
@user-nl3do1vr2n
@user-nl3do1vr2n Жыл бұрын
สวัสดีวันอังคาร🌺 ค่ะอาจารย์หมอ ขอให้มีสุขภาพแข็งแรง ขอบพระคุณอ.หมอมากๆค่ะ🙏
@Thanikul1976
@Thanikul1976 Жыл бұрын
ชอบคลิปนี้มากๆครับ ได้ความรู้ใหม่ๆจากในคลิปมากมาย ขอบคุณคุณหมอมากๆครับ
@Hoshi1451
@Hoshi1451 Жыл бұрын
💓☄️💓☄️เย้ๆๆ4.49K🎉🌺💓☄️💓☄️💓☄️💓☄️💓☄️💓☄️💓☄️💓☄️💓☄️ ☺️ขอบคุณอจ.หมอมากค่ะ
@tarungtiwa2710
@tarungtiwa2710 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณมากๆคะวันนี้มาให้ความรู้เรื่องแก้ไขไตวายเรื้อรังอย่างไร จะตัดสินใจอย่างไรถ้าหมอบอกว่าต้องล้างไต ได้ความรู้ดีดีมีประโยขน์มากคะ👍 ตาขอให้คุณหมอมีความสุข สุขภาพแข็งแรงและปลอดภัยนะคะ.🙏🇹🇭😷🌹❤️
@suriyawong75
@suriyawong75 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณนะคะ ให้คุณหมอมีสุขภาพแข็งแรงตลอดไปคร๊😊😍😍
@kanoky7076
@kanoky7076 Жыл бұрын
ขอบคุณนะคะ คุณหมออธิบายละเอียดมากๆ เข้าใจมากขึ้นคะ เพื่อนที่เป็นพยาบาลก้ล้างไตที่หน้าท้องให้แม่ตัวเองที่บ้านอยู่หลายปีคะ แต่ตอนนี้เปลี่ยนมาเป็นผ่าตัดเส้นเลือดเพื่อล้างไตทางเส้นเลือดคะ 🙏
@nanthipornkantha944
@nanthipornkantha944 Жыл бұрын
ได้รับความรู้ดีๆจากช่องนี้เสมอขอบคุณอาจารย์หมอมากค่ะ
@EedWatcharapornTubrutn
@EedWatcharapornTubrutn Жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะ เนื้อหามีประโยชน์มากๆ ค่ะ ในการใช้ชีวิตประจำวัน มีความรู้ ก่อนที่จะเกิดโรค ป้องกัน ปฏิบัติตัว เพื่อหลีกเลี่ยง โรค ต่าง ๆ ที่จะเกิดตามมา ไตวาย คนเป็นกันเยอะเลยค่ะ ส่วนใหญ่ที่เห็น ร่างกาย คนเป็นโรคไต ระยะ ที่ต้องล้างไต แขน จะมีรอย เส้นเลือด ที่ล้างไต ฟูๆ ลายๆ ทุกคนเลย หรือระยะ 3 ขึ้นไป ร่างกาย อ่อนแอ ไวมากๆ ค่ะ คนไทย จะคุ้นเคยกับสมุนไพร มากๆ ควรศึกษาข้อมูลการใช้ สมุนไพรดีๆ เลยค่ะ หรือคนมีโรคประจำตัว ควรศึกษาเรื่องไตวาย และดูแล ตัวเอง ดีๆ จะได้ไม่ต้องเพิ่มปริมาณยา
@EedWatcharapornTubrutn
@EedWatcharapornTubrutn Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ Tany สำหรับ 💙💙💙💙💙💙💙💙💚💚💚💚💜💜 Have a wonderful & happiness moment time together with an adorable Rosy ค่ะ 🐶🐶😴😴 🩺👨‍⚕️💻🎄🎄🌲🌲🌳🌳
@siamgirly_9529
@siamgirly_9529 Жыл бұрын
I love your health care advice - knowledge_🌍 Big thanks.
@jaym9905
@jaym9905 9 ай бұрын
ขอบคุณ คุณหมอ มากๆๆ เลยค่า สำหรับความรู้ดีๆแบบนี้คะ ตอบคำถาม ที่สงสัยได้หมดเลย อยากให้คุณหมอทำวีดีโอ แบบนี้ เป็นภาษาอังกฤษ บ้างจังเลยค่า ❤❤😊
@yingjiphunny1072
@yingjiphunny1072 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะอ.หมอ ขอบคุณข้อมูลให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพค่ะ👍
@AvecBella
@AvecBella Жыл бұрын
Cheery New Week ka Doctor Tany. Wishing you a blessed and superb week full of high spirits, smiles, and happiness 🌤️🌈🍄 … Thank you in advance for the talk on Chronic Kidney Disease and Decision-making around Commencing Dialysis. Be back to listen later. … Have a Happy Mondayyy! 🙃 ☘️🌸🍀🌸☘️
@Jin_789
@Jin_789 Жыл бұрын
ขอบคุณ​คุณ​หมอ​ค่ะ​🪻🌸​🪻​เป็น​มูล​ที่​อยาก​รู้​มาก​ขอบคุณ​ค่ะ​🌻
@sumaleechaikhaeng2725
@sumaleechaikhaeng2725 3 ай бұрын
พอดีเพิ่งเข้ามาดูค่ะขอบคุณ คุณหมอมากเลยที่ให้ความรู้ บางทีคุณหมอช่วยทำวิทยาธาร เกี่ยวกับการติดเชื้อไวรัส BK Virus ในผู้ป่วย ปลูกถ่ายไตใหม่ๆ จะเป็นพระคุณมากเลยค่ะ 🙏🙏
@chaloeypornchansin9892
@chaloeypornchansin9892 Жыл бұрын
สวัสดี​ค่ะ​ อาจารย์​หมอ​ ฟังอาจารย์​พูด​เรื่องโรคไตวายวันนี้มีประโยชน์​มาก​ๆเ​ลยค่ะ สามีดิฉัดเป็นโรคไตเรื้อรัง​ระยะ​4​ถึง​5​แล้วค่ะ คุณหมอที่รักษาอยู่บอกว่าถ้าคุมไม่ดี ก็ต้องมาเตรียมทำเส้นเลือด​ไว้​ก่อน​แล้ว​นะ พูดเหมือนกันเลยค่ะ พอฟังอาจารย์​พูด​รายละเอียด​แล้ว​ต้องคุมอย่างจริงจังแล้วค่ะ เค้ามีหลายโรคแบบที่อาจารย์​บอกเลยค่ะ ขอบคุณมากๆนะคะ
@user-bh4cu4mb1l
@user-bh4cu4mb1l 2 ай бұрын
ตอนนี้สามีคุณเป็นยังไงบ้างคะได้พวกหรือยังมีอาการคลื่นไส้เบื่ออาหารบ้างไหมคะฉันก็เป็นอยู่ระยะที่ 3 มีอาการคลื่นไส้เบื่ออาหารค่ะ
@gaewaleegaewalee7941
@gaewaleegaewalee7941 Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะคุณหมอ
@pannko8888
@pannko8888 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอวันนี้ได้อ่านข่าวมีคุณหมอท่านหนึ่งขอลาออกจากเป็นราชการที่คุณหมอเคยพูดว่างานล้นมือวันนี้คุณหมอออกมาโพสต์ว่างานราชการล้นมือทำไม่ไหวเลยขอลาออกคิดถึงคุณหมอทุกวันนะคะ💏💏💏
@kumpanatkrueaphue2369
@kumpanatkrueaphue2369 Жыл бұрын
คุณหมอครับ เราจะเลือกทานแคลเซียมอย่างไรไม่ให้กระทบกับไตและเป็นประโยชน์ต่อร่างกายครับ
@witteronsmusk
@witteronsmusk Жыл бұрын
❤🎧😊
@Mr.P1009
@Mr.P1009 Жыл бұрын
อยากให้อาจารย์แทนวิจารณ์และแนะนำระบบสาธารณสุขของประเทศไทย เรื่องภาระงานแพทย์พยาบาลที่เกินกำลังครับ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ตามนี้ครับ 1) kzbin.info/www/bejne/pZOyaaOkp9qkq5Y 2) kzbin.info/www/bejne/pIHKfmeno5VpgNE
@user-dr9mv4dn9t
@user-dr9mv4dn9t Жыл бұрын
สวัสดีค่ะ อาจารย์หมอ น้าขออนุญาติถามหน่อย น้าเป็นเบาหวาน ความดัน ทานชามะรูมได้ไหม
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
ช่วยตอบนะคะ ทานได้ค่ะ แต่ต้องไม่เติมน้ำตาลในน้ำชานะคะ
@megamind2657
@megamind2657 Жыл бұрын
รอคลิป วิธีการดูแล , การให้ความรู้ มะเร็งไทรอยด์ 🥹🥹🥹🥹 รอนะคะ เผื่อคุณหมอมาเห็น
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ไม่มีอะไรที่ต้องดูแลพิเศษครับ กินอาหารได้หมดทุกอย่างไม่มีข้อห้าม ยกเว้นก่อนที่จะไปรักษาด้วยการกลืนแร่ พวกนี้ต้องงดอาหารทะเลก่อนสักอาทิตย์นึงครับ ไม่มีอาหารเสริม สมุนไพรหรืออะไรที่กินแล้วช่วยได้ การรักษาทำตามที่หมอเขาแนะนำ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ ไม่เครียดครับ
@ALL86898
@ALL86898 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะอาจารย์แพทย์🙏คุณหมอแทน😍 วันนี้ท่านมาให้ความรู้เรื่องโรคไต มีแบบไตวายฉับพลัน เช่นกล้ามเนื้อสลาย โรคไตวายเรื้อรังคุณหมอเน้นเรื่องไตวายเรื้อรัง ก่อนอื่นต้องเข้าใจว่าไตมีหน้าที่อะไรบ้าง ไตเรามีสองข้างอยู่ที่ท้องด้านซ้ายขวา มีรูปร่างเหมือนเมล็ดถั่ว ไตมีหน้าที่อย่างไรมาฟังกันค่ะ เมื่อไหร่ต้องล้างไต และระดับที่เราควรระวังคือระยะไหนขอบคุณมากค่ะ
@nutangoh
@nutangoh Жыл бұрын
คุณหมอคะ เราควรกิน3มื้อใหญ่ๆกินแบบอิ่มเต็มที่หรือควรแบ่งกินเป็น4มื้อย่อยๆ แบบไหนจะดีต่อระบบเผาพลาญและสุขภาพมากกว่ากันคะ เพราะกินอิ่มๆก็นานกว่าจะหิว แต่กินน้อยๆก็หิวบ่อยค่ะ ขอบคุณค่ะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
มันก็ได้ทั้งสองแบบครับ แต่เราไม่ควรกินให้อิ่มเต็มที่หรอกครับ และสิ่งที่กินควรมีความหลากหลายสมดุลด้วยครับ
@sophonveerasophon5307
@sophonveerasophon5307 10 ай бұрын
❤️​❤️​❤️​❤️​❤️​
@ammalahomsombath9579
@ammalahomsombath9579 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณมากๆค่ะที่คุณหมอให้ความรู้🙏แต่ดิฉันมีปัญหาที่ อยาก ปรึกษากับคุณหมอนอกเรื่องหน่อยนะคะช่วยรบกวนคุณหมอช่วยแนะนำดิฉันหน่อยค่ะ เพราะดิฉันเป็นลำไส้โป่งพองแต่ ดิสันไม่รู้ว่าจะรับประทานอะไรดีตอนนี้ ถ้าทานผิดก็จะท้องร่วง หรือว่ารถเปรี้ยวก็จะทำให้ท้องเสียเลยสับสนไม่รู้ว่าจะทำ ยังไงฉะนั้นดิฉันขอราบให้คุณหมอช่วยแนะนำให้ดิฉันหน่อยควรทำตวยังไงควรกินยังไงและเนื้อสัตว์ ทาน ได้หรือเปล่าเพราะตอนนี้ ดิฉันคอยหมอนานมากแล้วแต่ไม่ได้คำตอบอะไรก็เลยอยากปรึกษาหมอไม่มีที่พึ่งค่ะขอบคุณมากๆค่ะคุณหมอ🙏
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ต้องรู้ก่อนว่าโรคที่หมอวินิจฉัยมีชื่อทางการแพทย์ว่าอะไรครับ เพราะเท่าที่ผมเข้าใจกับอาการที่คุณเล่ามามันไม่สัมพันธ์กัน ดังนั้นน่าจะมีเหตุผลอื่นครับ และถ้าเกิดว่าเรารู้ว่าอาหารประเภทไหนทำให้เราเกิดอาการ สิ่งที่เราควรทำคือเลี่ยงสิ่งๆนั้นครับ ไม่ควรจะไปกิน และสิ่งไหนที่กินแล้วไม่เกิดอาการก็แปลว่าเรากินสิ่งนั้นได้ครับ นอกจากนี้คนที่มีโรคลำไส้ส่วนมากมักต้องทานอาหารที่รสไม่จัด ไม่มีพวกนมหรือกะทิ ทานน้ำให้เพียงพอ ขับถ่ายให้ตรงเวลาทุกวัน รวมทั้งต้องออกกำลังกายและพักผ่อนให้เพียงพอ นอกจากนี้ต้องหาทางลดความเครียดความวิตกกังวลด้วยครับ
@naphatyangkobsilp1693
@naphatyangkobsilp1693 Жыл бұрын
อาจารย์คะ อยากทราบว่า Paracetamol กับ Tylenol ตัวไหน Safe กับไตมากกว่ากันคะ ขอบคุณค่ะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
มันคือยาตัวเดียวกันครับ
@user-bp1ds5cl5u
@user-bp1ds5cl5u Жыл бұрын
❤❤❤❤❤
@narlaw1342
@narlaw1342 Жыл бұрын
@som.d854
@som.d854 Жыл бұрын
คุณหมอคะ ขอสอบถามคะ อาการเนื้องอกที่ปอด สาเหตุใหญ่ๆมากจากอะไรคะ พอดีญาติเพิ่งตรวจเจอคะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
1) แผลเป็น 2) การติดเชื้อทั้งที่หายแล้วหรือกำลังเป็น เช่น เชื้อแบคทีเรีย รา หรือวัณโรค และวัณโรคเทียม 3) สิ่งแปลกปลอมที่หลุดเข้าไปในปอด 4) เซลล์เจริญผิดปกติแบบไม่อันตราย คล้ายกับไฝนั่นแหละครับ 5) มะเร็ง แต่ทั้งหมดนี้ต้องถามหมอที่รักษาครับ สำหรับแนวทางการตรวจวิเคราะห์ผมเคยเล่าไปแล้วในคลิปนี้ครับ kzbin.info/www/bejne/n6m5ln2cYtipl8k
@ptphone2301
@ptphone2301 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะอาจารย์หมอ แก้ไขไตวายเรื้อรังอย่างไร จะตัดสินใจอย่างไรถ้าหมอบอกว่าต้องล้างไต วันนี้เป็นเรื่องของ ไตวายเรื้อรังๆมี 5 ขั้น หากเราเป็นไตวาย ขั้นที่ 3 ต้องเริ่มดูแลตัวเองจริงยัง คือค่า eGFR ต่ำกว่า60 นั้นน่ากังวลมากมีโอกาสเป็นโรคไตมาก *ไตมีหน้าที่1.ควบคุมปริมาณน้ำในร่างกายถ้าไตทำงานไม่ได้น้ำจะอยู่ในร่างกายมากจะมีอาการบวมที่ขา หน้า น้ำท่วมปอดหายไม่ออกหัวใจทำงานไม่ได้ 2.คุมความเป็น กรด ด่างของร่างกาย 3.ควบคุมโพแทสเซียม ฟอสฟอรัสในร่างกายถ้ามีโพแทส เซียมสูงๆก็จะเป็นอันตรายต่อหัวใจได้ 4.ผลิตฮอร์โมน Erythropoietin เพิ่มเม็ดเลือดแดง และวิตามินD 5.ขับของเสียออกจากร่างกายคือค่า BUN (Blood Urea Nitrogen) ถ้ามีมากไม่ดีทำให้เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบถ้าขึ้นสมองจะมึนงงอ่อนเพลีย กรณีที่ต้องล้างไตคือ มีค่า BUNสูง มีเลือดเป็น กรดสูง น้ำท่วมปอด มีค่าโพแทสเซียมสูงหัวใจมีปัญหา สิ่งที่สำคัญที่จะป้องกันไม่ให้หน้าที่ของไตเสื่อมได้คือดูแลโรคประจำตัวให้ดีที่สุดเช่นเบาหวาน ความดันจะต้องต่ำกว่า130ตัวบนและ80ตัวล่าง อย่าหายามากินเองโดนเฉพาะยากลุ่มNSAIDSเช่นยา ibuprofen,diclofenac, naproxen,piroxicam,meloxicam และสมุนไพรหลายๆตัวก็ทำให้ไตเสื่อมได้ ยาพาราเซตา มอลดีที่สุด อาหารที่มีฟอสฟอรัส โพแทสเซียม สูงควรหลีกเลี่ยง โปร ตีน อย่าทานมากเกินไปอย่ากินเค็ม เครื่องปรุงต่างๆต้องหลีกเลี่ยงทำอาหารทานเอง พริก มะนาวได้ กำจัดปริมาณน้ำที่ดื่มได้ในแต่ละวัน ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอด้วยวิธี moderate intensity exercise ให้เหนื่อยปานกลาง30นาทีต่อวัน 5 ครั้ง /สัปดาห์ พักผ่อนให้เพียงพอ ทำจิตใจให้ผ่องใส การล้างไตมี 3 วิธีคือล้างเลือด Hemodialysis ล้างทางหน้าท้องPeritoneal Dialysis และปลูกถ่ายไต ควรล้างไตตอนที่เราไม่มีอาการอะไรจะเป็นสิ่งที่ดีที่สุดหากมีอาการมากจะมีปัญหา ดิฉันขอขอบพระคุณอาจารย์หมอเป็นอย่างสูงค่ะที่ให้ความรู้ จะได้นำความรู้ไปใช้และแชร์ให้คนอื่นได้รับประโยชน์ด้วยค่ะ คุณแม่ของดิฉันสุดท้ายไตวายล้างไตก็ช่วยไม่ได้แล้วค่ะ
@madamepooky5031
@madamepooky5031 5 ай бұрын
สรุปได้ดีค่ะ
@ptphone2301
@ptphone2301 5 ай бұрын
@@madamepooky5031 ขอบคุณค่ะ
@Sirithanawin
@Sirithanawin Жыл бұрын
❤❤
@user-mr8fp6lo6g
@user-mr8fp6lo6g Жыл бұрын
สวัสดีเจ้าคุณหมอใด้เวลารับความรู้แล้วเจ้า💖💖🙏🙏
@kalongboongerd4351
@kalongboongerd4351 Жыл бұрын
แม่ก็เป็นไตวายระยะ3แต่ยังไม่ต้องฟอก มีอาการเหนื่อยง่าย กินข้าวไม่อร่อย
@user-bh4cu4mb1l
@user-bh4cu4mb1l 2 ай бұрын
แม่มีอาการคลื่นไส้เบื่ออาหารไหมคะฉันก็เป็นระยะที่ 3มีอาการคลื่นไส้เบื่ออาหารค่ะ
@vandakwan1682
@vandakwan1682 Жыл бұрын
Could you please tell me about Farxiga? They advertise in the TV frequently for CKD. Thanks so much!
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
It is called dapagliflozin. It has benefit for diabetes, CKD, and CHF. Though before you start this, you need to talk to your doctor about it. It will make you urinate more and increase risk of dehydration as well as urinary tract infection. Also, in the patient with diabetes, it can cause euglycemic DKA.
@vandakwan1682
@vandakwan1682 Жыл бұрын
Thank you Dr. Tany, I will check with my nephrologist.
@supawancrisp9034
@supawancrisp9034 11 ай бұрын
ปกติชั่งน้ำหนักทุกวันเลยค่ะ มักจะบวมน้ำ ส่วนมากมันทานกาแฟตอนเช้าเพื่อขับปัสสาวะด้วยค่ะ ถ้าทานยาขับปัสสาวะได้ไหมคะ มียาอะไรที่จารย์หมอแนะนำไหมคะ ทานบ่อยได้ไหมคะ
@DrTany
@DrTany 11 ай бұрын
ไม่มียาอะไรแนะนำครับ ถ้าตัวบวมต้องลดการกินโซเดียมครับ
@mammoth1186
@mammoth1186 Жыл бұрын
14:05
@anusornphungnoi29
@anusornphungnoi29 6 ай бұрын
อาจารย์ครับ ผมเพิ่งดูคลิปนี้ , ที่บ้านเราเขาโฆษณาว่า gel UMI นำเขาจากอเมริกาจะช่วยให้ไตดีขึ้น อ.ว่าจะอันตรายมั้ยครับ ตามที่อ.อธิบายมาอ่ะครับ
@DrTany
@DrTany 6 ай бұрын
มันไม่มีอะไรทำให้ไตดีขึ้นหรอกครับ ถ้าโฆษณาแบบนั้นก็แจ้ง อย ได้เลยครับ มันคือการโฆษณาเกินจริงครับ
@user-in1ip1yx2i
@user-in1ip1yx2i Жыл бұрын
ยาที่คุณหมอพูดถึงรักษาโรคอะไรคะ ป้าทานยาหลายตัว มียารักษาความดันโลหิสูง,ยาไขมัน, ยารักษามือสั่นค่ะ นานมาแล้วที่ต้องทานยา มีโอกาสไตเสื่อมไหมคะ
@surasakanakekanjanapan
@surasakanakekanjanapan Жыл бұрын
กินตามที่หมอสั่ง ไม่ทำให้ไตเสื่อม แต่ถ้าไปหายาหรือสมุนไพร มากินเพื่ม จะทำให้ไตเสื่อมครับ.
@Euang-Mali
@Euang-Mali Жыл бұрын
😊🌼🍃ขอบคุณมากนะคะ🙏
@Hoshi1451
@Hoshi1451 Жыл бұрын
☺️ฝนตกยังคะพี่😂
@Euang-Mali
@Euang-Mali Жыл бұрын
@@Hoshi1451 😊💖 ยังจ้า พี่ฝนใจร้าย ไม่ยอมมาหาเลย ตกเป็น บางที่ลำเอียงจริงๆ 555
@Hoshi1451
@Hoshi1451 Жыл бұрын
@@Euang-Mali สงสัยยังไม่เข้าหน้าฝนจริงๆ😂
@Euang-Mali
@Euang-Mali Жыл бұрын
@@Hoshi1451 😁💖 น่าจะอย่างนั้นค่ะ ไม่เป็นไร บ่นแก้เบื่อ 555
@Hoshi1451
@Hoshi1451 Жыл бұрын
@@Euang-Mali 😲😁🌷
@pt7368
@pt7368 Жыл бұрын
คุณหมอขา ขออนุญาตถามนอกเรื่องค่ะ คุณหมอมีความเห็นอย่างไรในการเก็บ stem cell ของทารกคะ (พอดีกำลังตั้งครรภ์ และมีธนาคารstem cell ติดต่อมา) มันเป็นเรื่องของอนาคตเกินไปไหมคะ หรือ มันก็อาจจะเป็นประโยชน์ในกรณีลูกเจ็บป่วยด้วยความเสื่อมของอวัยวะแล้วเค้ามี stem cell ที่ฝากเอาไว้ หากคุณหมอมีความเห็น หรือ ประสบการณ์ที่เคยพบเจอ อยากให้คุณหมอให้ความรู้ในเรื่องนี้ค่ะ กราบขอบพระคุณค่ะ ❤
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ถ้ามีเงินมากเพียงพอและอยากเก็บไว้อันนี้ก็ทำได้ครับ แต่โอกาสได้เอามาใช้จริง น้อยกว่า 1% ครับ
@surasakanakekanjanapan
@surasakanakekanjanapan Жыл бұрын
ถ้าจะพูดว่าเป็นธุรกิจหลอกลวง ก็คงแรงไป. เอาเป็นว่าการเก็บ stem cell จากสายสะดือเด็กในช่วงคลอด จะไม่สามารถเอาไปปลูกถ่ายอวัยวะให้เด็กในอนาคตได้ ภายใน 100 ปีนี้ครับ.
@funnygirl9532
@funnygirl9532 8 ай бұрын
เนื้องอกที่ไต 5 cm หมอบอกเป็นมะเร็งให้ตัดทิ้ง1ข้าง. แต่คุณพ่อ72ปี ล้มตอนนี้เดินไม่ได้4เดือน พ่อไม่กล้าผ่าตัดใหญ่กลัวจะติดเตียงเดินไม่ได้ตลอดชีวิต ถ้าไม่ผ่าเราต้องดูแลพ่อยังไงได้บ้างคะ🙏🏻
@DrTany
@DrTany 8 ай бұрын
ดูแลตามปกติทั่วไปครับ ถ้าตัดสินใจไม่ผ่า ก็ปล่อยตามธรรมชาติ ใช้ชีวิตให้มีความสุขเลยครับ ถ้าอยากจะลองก็ทานอาหาร FMD เหมือนคลิปที่ผมเคยเล่าก็ได้ครับ
@jaym9905
@jaym9905 9 ай бұрын
คุณหมอคะ ถ้าเริ่มล้างไตตั้งแต่ ระยะที่4 เรามีโอกาสที่จะ ทำให้ไตดีขึ้น แล้วไม่ต้องทำอีกได้มั้ยคะ
@DrTany
@DrTany 9 ай бұрын
ไม่น่าจะมีครับ
@user-gx8qu7ny9p
@user-gx8qu7ny9p 9 ай бұрын
เป็นโรคถุงน้ำที่ไตเยอะมาก...คุมอาหารอย่างดีแล้วแต่ค่าไตลงเลื่อยๆทำอย่างงัยดี..คับ ตอนนี้ค่า gfr. เหลือ42. เอ็ง..คับ
@DrTany
@DrTany 9 ай бұрын
ทำตามที่หมอไตที่รักษาแนะนำครับ ไม่มีอะไรเป็นพิเศษ ที่เหลือคืองดเค็ม ออกกำลังกายสม่ำเสมอ นอนพักให้พอ ดื่มน้ำวันละอย่างน้อย 2 ลิตรครับ
@user-gx8qu7ny9p
@user-gx8qu7ny9p 9 ай бұрын
ขอบคุณ.คับ
@bigphonshin5728
@bigphonshin5728 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ ทานคีโตสามารถทำให้เบาหวานดีขึ้นได้มั้ยคะ ลองให้คุณแม่ทานไอศครีมคีโตกับเค้กคีโต แล้วน้ำตาลขึ้นกว่าทานอาหารที่ทานเป็นประจำอีกค่ะ
@bigphonshin5728
@bigphonshin5728 Жыл бұрын
ร้านขนมคีโตยืนยันว่าเหมาะสำหรับผู้ป่วยเบาหวานโดยเฉพาะ ขอบพระคุณค่ะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
การทานเพิ่ม ไม่ได้ทำให้เบาหวานดีขึ้นครับ มันต้องลดปริมาณที่ทานลงครับ ถ้าอยากแน่ใจ ก็ลองเจาะน้ำตาลก่อนกินอาหารของเขา และกินเสร็จสักครึ่งชั่วโมงก็เจาะซ้ำ ดูว่าน้ำตาลมันสูงขึ้นรึเปล่า ถ้าสูงขึ้นมาก อันนี้ก็แปลว่าไม่ควรกินครับ
@surasakanakekanjanapan
@surasakanakekanjanapan Жыл бұрын
คีโตไม่ได้ทำให้เบาหวานดีขึ้น. ไอศครีมคีโตกับเค้กคีโต มีอิริทริทอล ให้ความหวานแทนน้ำตาล ตัวนี้ไม่มีปัญหากับเบาหวาน แต่มันมีวิปปิ้งครีม และ ครีมชีส ซึ่งมีน้ำตาล ถึงแม้ว่าจะมีน้ำตาลอยู่น้อย มันก็มีน้ำตาลอยู่ดี ถ้ากิน ไอศครีมคีโตกับเค้กคีโต เยอะๆและบ่อยๆ มันก็ทำให้น้ำตาลในเลือดขึ้นได้ครับ. อย่าไปฟังพวกคนขาย หรือ พวกสายสุขภาพที่ไม่มีความรู้จริงพูด.
@bigphonshin5728
@bigphonshin5728 Жыл бұрын
@@surasakanakekanjanapan ขอบคุณนะคะ
@bigphonshin5728
@bigphonshin5728 Жыл бұрын
@@DrTany ขอบพระคุณมากค่ะ
@taisaelensminde7261
@taisaelensminde7261 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ รบกวนขอคำแนะนำค่ะ ไปตรวจเลือดที่แลปมาพบว่า ค่า CPK สูง( ~12,000 U/K ) แต่ไม่มีอาการอะไรเลย ควรไปพบแพทย์สาขาอะไรค่ะ ปกติออกกำลังกายเบาๆประมาณวันละ 1-2 ชั่วโมง เช่น เดินเร็ว เวท โยคะ ว่ายน้ำ สลับกันไปค่ะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
อายุรกรรมครับ ควรตรวจดูไทรอยด์ด้วยครับ บางคนไทรอยด์ทำงานต่ำก็เป็นได้ครับ
@taisaelensminde7261
@taisaelensminde7261 Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ 🙏🍓😊😊🌹
@beam9158
@beam9158 Жыл бұрын
🥰🥰🥰🥰🥰🥰🥰🥰🥰🥰
@suchadasujinda1316
@suchadasujinda1316 Жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากค่ะ น่าจะออกคลิปนี้เร็วกว่านี้เพิ่งตัดสินใจให้คุณแม่ล้างไตทางหน้าท้องได้ประมาณเดือนกว่าๆ แม่อาการหนักมากมีอาการชักนิดหน่อยแล้วถึงได้ไปล้างไต อยากบอกว่าพอได้ทำล้างไตแล้วอาการดีขึ้นเยอะมากๆคะ แต่คุมความดันโลหิตสูงลำบาก แล้วสายที่ต่อตรงหน้าท้องทุก 6 เดือนต้องไปเปลี่ยนด้วยคะไม่แน่ใจว่าฟอกไตเหมือนกันไหม แล้วยาความดันโลหิตสูงบางตัวทานร่วมกันก็เป็นไตวายได้ด้วยคะ อยากเสริมจุดนี้จากที่คุณหมอพูดค่ะ ขอบคุณมากๆนะคะสำหรับข้อมูลที่ถูกต้องและละเอียดให้คนฟังได้เข้าใจถูกต้องคะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ยาความดันไม่ได้ทำให้ไตวายหรอกครับ ตรงกันข้าม มันป้องกันไม่ให้ไตวายอีกด้วย ถ้าความดันคุมไม่ได้ไตจะวายเร็วขึ้น หมอจะต้องเพิ่มยาขึ้น และถ้ายังคุมไม่ได้อีกไตก็จะวาย แต่มุมมองของคนไข้กับญาติมักคิดว่าเพราะการเพิ่มยาหลายตัวต่างหากที่ทำให้ไตวายซึ่งไม่จริงครับ อย่างไรก็ตามมียากลุ่ม ACEI, ARB ที่ต้องระวังในคนที่ไตเสื่อมเยอะเพราะทำให้ค่าโพแทสเซียมสูงขึ้นและไตทำงานลดลงได้ แต่มันเป็นยาที่ป้องกันการเสื่อมของไตได้ดีมาก เวลาหมอจ่ายตัวนี้ในคนไข้โรคไต จะมีการเจาะเลือดดูค่าไตและโพแทสเซียมที่ 1-2 อาทิตย์หลังกินยาครับ
@thanawutruksapol4398
@thanawutruksapol4398 Жыл бұрын
สายหน้าท้องสามารถตรวจสอบได้จากการเดรนน้ำยา ถ้ายังไม่ถึงเวลาก็ไม่จำเป็นต้องไปเปลี่ยนสายทุกๆหกเดือนครับ
@suchadasujinda1316
@suchadasujinda1316 Жыл бұрын
@@thanawutruksapol4398 ขอบคุณมากค่ะ นี่เพิ่งเป็นผู้ป่วยใหม่แล้วทางพยาบาลที่ศูนย์ไตแจ้งมาว่าต้องเปลี่ยนเพราะเรื่องความสะอาด
@suchadasujinda1316
@suchadasujinda1316 Жыл бұрын
@@DrTany แต่ถ้ารับประทานยารักษาโรคอื่นประกอบไปด้วยเช่น ยาโรคเก๊าท์ colchicine ก็ไม่มีผลใช่ไหมค่ะ ถึงแม้จะล้างไตแล้วแต่ความดันก็ยังคุมยากอยู่คะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
@@suchadasujinda1316 Colchicine ต้องระวังมากครับ มันต้องลดขนาดลงเยอะไม่งั้นเกิดเป็นพิษได้ในคนไข้ที่มีไตมีปัญหา แต่มันก็ไม่ได้เกี่ยวอะไรกับความดันสูงครับ ถ้าความดันยังสูงต้องไปดูอาหารการกินด้วยครับ ให้ทำอาหารกินเองทุกมื้อ ไม่ใช้อาหารอะไรที่สำเร็จรูป แล้วก็ไม่ต้องใส่เครื่องปรุงอะไรสักอย่าง ยกเว้นพริกสดกับมะนาวได้เล็กน้อย นอกนั้นไม่ได้ครับ นี่คือการตัดโซเดียมออกที่ได้ผลมากที่สุดความดันมันจะลดลงได้ดีมากครับ และนี่มักเป็นสิ่งที่คนละเลยไม่ยอมทำกันโดยมีข้ออ้างเยอะที่สุดครับ นอกนั้นถ้าความดันยังคุมไม่ได้หมอเขาก็จะมียาความดันให้เพิ่มเข้าไปได้หลายๆตัวครับ
@thanaporns.6030
@thanaporns.6030 Жыл бұрын
จิบเกลือแร่ors บ่อยๆ เป็นอะไรมั้ยคะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ถ้าท้องเสียก็ไม่เป็นไรครับ แต่ถ้าไม่มีเหตุผลชัดเจน รวมทั้งมีโรคไต โรคความดันสูง อันนี้ก็มีปัญหาครับ
@netipoom
@netipoom Жыл бұрын
เป็นโรคไตระยะที่ 2 บริจาคเลือดประจำ 35 ครั้ง + เพิ่งมาทราบข้อมูลว่า ไม่ควรบริจาคเลือด จริงไหมครับ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ไม่จริงครับ
@SombutTSaraphan-nr4sq
@SombutTSaraphan-nr4sq 21 күн бұрын
กินโปรแตสเซียม ไม่เกิน 2000มิลลิกรรมต่อวันใช่มั๊ยค่ะ((แม่กินมื้อละ 1 ช้อนช้าเยอะมั๊ยค่ะ
@DrTany
@DrTany 21 күн бұрын
Potassium ปกติไม่ควรไปกินเสริมครับ ถ้าจะกินต้องไปปรึกษาหมอครับ แต่ถ้าเป็น Sodium ก็ถูกละครับที่ไม่ควรกินเกินวันละ 2000 มิลลิกรัม
@user-er5ef1ww3e
@user-er5ef1ww3e Жыл бұрын
รบกวนถามอาจารย์หน่อยนะครับว่า Case คุณพ่อของผม อายุ 79 ปี CT Scan Whole Abdomen พบ Renal Cell Carcinoma (RCC) 6.4×5.0×7.1 cm. lower pole right kidney ขณะนี้ eGFR=62.13 (Thai eGFR equation=69.71)แต่ท่านไม่ยอมผ่าตัด เพราะกลัวการผ่าตัด และกลัวเรื่องล้างไต ผมมีคำถามสงสัยอยู่ 3ประเด็นครับ 1.ค่า GFR ที่ประมาณ 60 ตัดไตทิ้งไปข้างหนึ่ง GFR จะน้อยกว่า 60 ไหมครับ (ผมเข้าใจเอาเองว่าการทำงานของไต 2 ข้างรวมกันได้ที่ประมาณ 60 ถ้าตัดไปข้างหนึ่งแล้ว อาจจะเหลือค่า GFR ที่น้อยมาก ) ข้อเท็จจริงคืออย่างไรครับ ถ้าคำนึงถึงอายุที่มากแล้วด้วย (ผมอธิบายอย่างไรท่านก็ไม่ยอมผ่าตัดครับ) / คำถามที่รบกวนอาจารย์ประเด็นที่ 2 ครับ/ข้อ 2.ผมได้แต่ Monitor ค่า lab CBC ปกติ/ LFT ปกติ/ Renal functionตามที่แจ้ง/และท่านก็ไม่ยอมทำ CT scan เพราะกลัวโดนฉีด contrast media ผมจึงต้อง minitor ครั้งล่าสุดด้วยการทำอัลตร้าซาวด์ก้อนเนื้อร้ายขนาดใก้เคียงเดิมครับ (ไม่มี clinical symptoms อื่นๆที่ผิดปกติครับเช่น ปวดเอว ปัสสาวะเป็นเลือดไม่มี แต่พบ RBC ใน UA 2-4 บางคราว 2-3) ครั้งที่ทำ ultrasound whole abdomen ห่างกันประมาณ 2 เดือน ยังไม่มี metastasis ครับ ผมสงสัยค่า eGFR กับ ค่า Thai eGFR equation ควรยึดค่าไหนเป็นหลักครับ / คำถามประเด็นที่ 3 ในเมื่อท่านไม่ยอมผ่าตัดอย่างเด็ดขาด ผมขอคำแนะนำ อาจารย์เพิ่มเติมว่า ผมต้อง monitor ท่านเพิ่มเติมอย่างไรบ้างครับ หรือควรระมัดระวังด้านโภชนาการสิ่งใดเป็นพิเศษ ขอบพระคุณ อาจารย์มากที่ให้ความอนุเคราะห์ตอบคำถามมาโดยตลอดครับ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
อันนี้ต้องเคารพความเห็นของท่านครับ เนื่องจากเป็นร่างกายของท่าน และท่านก็กังวลได้ถูกต้องครับ ผมเข้าใจว่าเราก็อยากให้ท่านหายดี แต่เราต้องอย่าเอาความเห็นของเราไปเปลี่ยนความเห็นของท่าน สิ่งที่เราทำได้คือให้ข้อมูลกับท่านให้ครบที่สุดต่อการตัดสินใจ ไม่ใช่กดดันอะไรครับ การตัดไตออก แน่นอนว่าค่าการทำงานของไตมันก็ต้องลดลงอยู่แล้วครับ ส่วนจะลดแค่ไหนนั้นผมก็ตอบไม่ได้ แค่ค่า eGFR 60 นั้นไม่ได้ถือว่าต่ำนัก สำหรับผมมันโอเคซะด้วยซ้ำไป จะฉีดสีหรือจะผ่าตัดก็ไม่ค่อยมีปัญหาหรอกครับ แต่ก็ต้องปรึกษาหมอโรคไตครับ อาจจะมีการประเมินการทำงานของไตโดยละเอียดด้วยวิธีอื่นที่นอกเหนือจาก eGFR คือตรวจดู Creatinine clearance ด้วยวิธีต่างๆ เช่น 24 urine collection หรือ renal nuclear scan และถ้าเราคุยกับพ่อแล้ว แต่ยังไงพ่อก็ไม่ผ่าตัด ไม่ฉีดสี กรณีนี้เราทำอะไรไม่ได้ครับ ติดตามดูค่าต่างๆอะไรไปก็ไม่ได้ประโยชน์ใดๆ ถ้าเป็นพ่อผม ผมจะเลือก Palliative care แล้วครับ ผมจะไม่ยกประเด็นเรื่อง RCC ขึ้นมาพูดให้พ่อฟังอีกเลย เพราะมันจะเถียงกัน ผิดใจกันเปล่าๆ รักษาไปตามอาการที่มี ให้มีความสุขมากที่สุด ปล่อยทุกอย่างเป็นไปตามธรรมชาติ โดยไม่ได้ไปสนใจตัวเลขต่างๆจากผลตรวจเลย เพราะต่อให้สนใจไปมันก็แก้ไขอะไรไม่ได้ครับ ถ้ามี metastasis ก็รักษาตามอาการที่เกิดขึ้นครับ
@user-er5ef1ww3e
@user-er5ef1ww3e Жыл бұрын
ขอบคุณอาจารย์มากๆครับที่แนะนำ หน้าที่ของลูกคงดูแลท่านในบั้นปลายชีวิตให้ดีที่สุด ขอให้อาจารย์ทำคลิปรายการแบบนี้ตลอดไปนะครับเพราะเป็นวิทยาทานแก่มนุษยชาติ ขอขอบพระคุณอีกครั้ง ❤️❤️
@kalongboongerd4351
@kalongboongerd4351 Жыл бұрын
เรื่องคอลลาเจน กับไตวาย ไม่ควรทาน ใช่มั้ยคะ แม่มีปัญหาข้อเข่า เค้าบอกคอลลาเจน ช่วยแก้ปัญหานี้ แต่สำหรับคนเป็นไตวายเค้าไม่แนะนำให้ทานค่ะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ทานได้ครับ แค่ไม่ทานมากก็พอ
Каха и суп
00:39
К-Media
Рет қаралды 5 МЛН
1 or 2?🐄
00:12
Kan Andrey
Рет қаралды 56 МЛН
КАРМАНЧИК 2 СЕЗОН 7 СЕРИЯ ФИНАЛ
21:37
Inter Production
Рет қаралды 547 М.
Жайдарман | Туған күн 2024 | Алматы
2:22:55
Jaidarman OFFICIAL / JCI
Рет қаралды 1,8 МЛН
Каха и суп
00:39
К-Media
Рет қаралды 5 МЛН