ใจสั่นเกิดจากอะไร แก้ไขอย่างไร เมื่อไหร่ต้องไปโรงพยาบาล

  Рет қаралды 109,697

Doctor Tany

Doctor Tany

Күн бұрын

สามารถเข้าร่วม Membership ได้ตามลิงค์นี้ครับ / @drtany
ถ้าสมัครทางมือถือ ต้องทำผ่าน Browser ครับ ทำทาง App มันจะไม่ได้ ถ้าทำในคอมทำได้ปกติครับ

Пікірлер: 600
@pattarapornsovarattanaphon8892
@pattarapornsovarattanaphon8892 2 жыл бұрын
ใจสั่นเกิดจากอะไร แก้ไขอย่างไร เมื่อไหร่ต้องไปโรงพยาบาล #ใจสั่น #จับชีพจร วิธีจับชีพจร สามารถจับชีพจรได้หลายตำแหน่ง เช่น 1. บริเวณข้อมือ หากงอมือจะมีเส้นเอ็นนูนขึ้นมา ข้างเส้นเอ็นด้านนิ้วโป้งจะมีชีพจรอยู่ ซึ่งเป็นเส้นเลือดแดงตามจังหวะการเต้นของหัวใจ ทางการแพทย์ส่วนใหญ่จะจับ 3 นิ้ว (สามารถดูวิธีการจับชีพจรได้ในนาทีที่ 1:41 ) การนับ 1 นาทีจะแม่นยำที่สุด หรือ ถ้าไม่อยากนับนานก็นับเพียง 15 วินาทีก็พอแล้วคูณด้วย 4 ก็จะเท่ากับชีพจรต่อ 1 นาที แต่ถ้าชีพจร เต้นช้าบ้าง เร็วบ้างต้องวัดให้ครบ 1 นาที 2. ต้องข้อพับแขน จากตรงกลางลงมาด้านในเล็กน้อย (สามารถดูตำแหน่งชีพจรได้ในนาทีที่ 2:31 ) 3. บริเวณขาก็มีชีพจรเช่นกันแต่เราไม่ค่อยวัดกัน 4. บริเวณคอ ต้องใช้ความระมัดระวังในการจับชีพจรผู้สูงอายุ เพราะอาจทำให้หน้ามืดได้ หากคลำชีพจรบริเวณอื่นไม่ได้ ก็ต้องคลำบริเวณคอ เพราะอาจเป็นกรณีฉุกเฉิน คนไข้ไม่รู้ตัว เราจำเป็นต้องรู้ว่าหัวใจยังเต้นอยู่หรือไม่ ซึ่งเราอาจต้องทำ CPR (สามารถดูตำแหน่งการคลำชีพจรบริเวณคอได้ในนาทีที่ 3:30 เป็นต้นไป) เริ่มคลำจากบริเวรลูกกระเดือกหรือกลางคอ เอานิ้วลากชนปลายคาง และเลื่อนมาครึ่งหนึ่งระหว่างปลายคางกับกราม นั่นคือตำแหน่งชีพจร โดยกดลงไปนิดหนึ่ง จะใช้ในกรณีที่จับที่แขนไม่เจอ คนไข้ไม่ได้สติ ตอนที่1
@pattarapornsovarattanaphon8892
@pattarapornsovarattanaphon8892 2 жыл бұрын
การเต้นของหัวใจปกติ - ปกติหัวใจจะเต้นสม่ำเสมอ 60-100 ครั้งต่อนาที - ถ้าเต้นเดี๋ยว ช้า เดี๋ยวเร็ว เดี๋ยวหยุด ถือว่าไม่ปกติ - หากเร็วกว่า 100 ครั้งต่อนาที ถือว่ามีปัญหา - บางท่านเต้นช้ากว่า 60 ครั้งต่อนาที เช่น เต้น 40-50 ครั้งต่อนาที หากท่านไม่ได้หน้ามืด วิเวียน มึนงงก็ถือว่าปกติ เพราะคนที่ออกกำลังกายชีพจรจะเต้นช้า หรือ ท่านที่ทานยาบางตัวอยู่ก็ทำให้หัวใจเต้นช้าได้ หากท่านไม่มีอาการอะไรก็ไม่ต้องกังวล ใจสั่นคือ - หัวใจเต้นเร็ว หากหัวใจเต้นเร็วกว่า 100 ครั้งต่อนาที อาจจะรู้สึกว่าใจสั่น - การเต้นที่ไม่สม่ำเสมอ เช่น ระยังห่างระหว่างครั้งไม่เท่ากัน บางคนก็อาจรู้สึกใจสั่นขึ้นมา - มีบางจังหวะที่การเต้นของหัวใจหยุดไป เว้นไปเฉยๆ เราจะรู้สึกโหวงๆ หวิวๆ มีอาการใจสั่น - ตอนที่จะเริ่มใจสั่น กับ จะหยุดใจสั่น จะเป็นอย่างไร 1. ตอนใจสั่นจะมีช่วงเร่ง จะมีช่วงค่อยๆเต้นเร็วขึ้น แล้วค่อยๆช้าลงๆจนกลับมาเป็นปกติ แบบนี้ไม่อันตราย 2. แบบที่อันตรายคือ จู่ๆก็เต้นเร็วขึ้นมาเลย พอช่วงหยุดใจสั่น ก็กลับมาเป็นปกติเลย ส่วนใหญ่มักเกิดการลัดวงจรไฟฟ้าในหัวใจ จึงทำให้การเต้นหัวใจผิดปกติ บางครั้งมีตัวกระตุ้น ซึ่งบางทีเวลาไปพบแพทย์ขณะที่คลื่นไฟฟ้าผิดปกติ การตรวจก็จะพบในทันที แต่ไม่ได้เป็นขณะตรวจก็ไม่สามารถบอกอะไรได้ หากเป็นบ่อยๆแพทย์อาจจะติดเครื่องมือตรวจให้ท่านกลับมาที่บ้าน เรียกว่า Holter Monitor, S-Patch แล้วแต่ดุลยพินิจของแพทย์ ตอนที่2
@pattarapornsovarattanaphon8892
@pattarapornsovarattanaphon8892 2 жыл бұрын
เราต้องจับชีพจรให้รู้ว่าเราเป็นแบบไหน ยิ่งบอกได้มากเท่าไหร่ จะทำให้การวินิจฉัยของแพทย์แม่นยำมากขึ้นเท่านั้น เพราะบางครั้งเวลาพบแพทย์แล้วคลื่นไฟฟ้าปกติ แต่พอกลับบ้านแล้วเป็น นอกจากนี้ควรจะต้องสังเกตุว่าตอนที่ใจสั่น ท่านทำอะไรอยู่ เพราะมักจะมีเหตุผลที่ทำให้ใจสั่น รวมถึงมีอาการอื่นๆร่วมด้วยหรือไม่ เช่น เหงื่อแตก แน่นหน้าอก จะต้องสงสัยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือไม่ จะต้องทำการตรวจหาสาเหตุเพิ่มเติม ปัจจัยที่ทำให้ใจสั่น 1. การอดนอน เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อย หากเป็นบ่อยๆอาจทำให้เกิดอันตรายได้ 2. ไม่กินอาหาร เช่น ท่านที่ต้องการทำ IF แบบหักโหม โดยที่ไม่เคยทำมาก่อน แล้วไปออกกำลังกายทันที อาจทำให้ใจสั่นได้ 3. คาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ น้ำอัดลม เครื่องดื่มชูกำลัง หากท่านมีอาการใจสั่นก็ไม่ควรกินของเหล่านี้ 4. ยาบางตัว โดยเฉพาะ - ยาขยายหลอดลมแบบกิน เช่น Ventolin ซึ่งเป็นชื่อทางการค้าของ Salbutamol, Albuterol หรือ ยาพ่น ที่มียาขยายหลอดลมอยู่ในนั้น - ยาฮอร์โมนไทรอยด์ ที่กินเสริมเข้าไป ถ้ากินเยอะเกินไปก็ทำให้ใจสั่น - ยาลดความอ้วน ยังมียาอีกหลายชนิด ทางที่ดีไม่ควรกินยาเอง ตอนที่3
@pattarapornsovarattanaphon8892
@pattarapornsovarattanaphon8892 2 жыл бұрын
ข้อควรปฏิบัติเมื่อเกิดอาการใจสั่น 1. ควรนั่งหากไม่หายให้นอนลงทันที (หากอยู่ในที่ๆไม่ปลอดภัยก็หาที่ปลอดภัยก่อน) ไม่ควรยืนเพราะท่านอาจหน้ามืดล้มหัวฟาดได้ 2. หากหน้ามืด ใจสั่น แน่นหน้าอก แน่นหน้าอก เหงื่อแตก ท่านอาจมีกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ถ้าเป็นไปได้รีบร้องให้คนช่วย โทรหารถพยาบาล 3. หากไม่มีใครและไม่มีโทรศัพท์ อาจทำได้ยาก และไม่สามารถทำได้ทุกกรณี และ บางกรณีทำแล้วก็อาจไม่หายด้วย แต่ยังดีกว่าท่านไม่ทำอะไร ให้ท่านนอนลง หรือ ถ้ายังนั่งยองๆได้ก็ให้นั่งยองๆ หายใจเข้าเต็มที่ กลั้น แล้วเบ่งเหมือนเบ่งอึ ทำสัก 15 วินาที หัวใจจากเต้นเร็วๆอยู่หัวใจท่านอาจกลับมาเต้นปกติ และสามารถทำซ้ำได้ถ้ายังไม่หาย เรียกว่า การทำ Vagal Maneuvers เป็นการกระตุ้นระบบประสาทอัตโนมัติชนิดหนึ่ง คือ Parasympathetic ไปกระตุ้นให้ทำงาน พอทำงานแล้ว สิ่งที่เกิดขึ้นคือหัวใจท่านจะเต้นช้าลง แต่ทางที่ดีท่านควรเรียกให้คนช่วย และหากทำแล้วดีขึ้นท่านก็ยังต้องรีบไปพบแพทย์ คุณหมอเคยเห็นคนทำแบบนี้แล้วกลับไปเสียชีวิตที่บ้านมาแล้ว หรือ กลับมาที่โรงพยาบาลโดยที่สมองขาดออกซิเจนแล้วกลายเป็นผัก อย่านิ่งนอนใจ คิดว่ากลับบ้านไปพักผ่อนแล้วจะหาย ตอนที่4
@pattarapornsovarattanaphon8892
@pattarapornsovarattanaphon8892 2 жыл бұрын
ภาวะหัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ 1. PVC หรือ Premature ventricular contraction คือหัวใจห้องล่างมีการผิดปกติของกระแสไฟฟ้า ทำให้เต้นก่อนจังหวะที่ควรจะเต้น 2. ถ้าเป็นจากห้องบนจะเรียก PAC หรือ Premature atrial contraction สามารถพบได้ไม่ได้อันตราย ยกเว้นเป็นบ่อยๆแล้วมีอาการเยอะต้องให้ยา หรือ หาสาเหตุอื่นๆเพิ่มเติม 3. AF หรือ Atrial fibrillation ต้องให้แพทย์ทำการแก้ไข 4. SVT หรือ Supraventricular Tachycardia สิ่งที่อยู่เหนือห้องหัวใจด้านล่างขึ้นไปแล้วก่อกำเนิดไฟฟ้าแล้วทำให้เต้นเร็วขึ้น จู่ๆหัวใจจะเต้นเร็วขึ้นมาทันที และบางคนเต้นเร็วอยู่แบบนั้น หากเป็นจากสาเหตุนี้ การแก้ไขคือ - การทำ Vagal Maneuvers จะได้ผลดีหากทำได้ถูกต้อง แต่เมื่อทำแล้วหาย ก็สามารถกลับมาเป็นได้อีก - หากคนไข้อยู่โรงพยาบาล ก็จะมียารักษา - หากเป็นแพทย์ แล้วพบคนไข้อยู่ข้างนอกไม่มียารักษา คุณหมอจะให้คนไข้นอนลงก่อน แล้วจะกระตุ้น Vagal เช่นกัน เป็นการกดที่ Carotid เป็นเส้นเลือดแดงหลักที่ออกจากหัวใจไปที่สมอง มีลักษณะเป็นตัว Y ก่อนที่จะแยกออกไป จะเป็นกลมๆกระเปาะหนึ่งถ้านวดๆและกด ตำแหน่งนั้น หัวใจจะกลับมาเต้นเป็นปกติ แต่ถ้าเป็นผู้สูงอายุ มักจะมีแคลเซียมเกาะบริเวณนั้น อาจทำให้แคลเซียมลอยไปที่สมอง อาจทำให้เป็นอัมพฤกได้ ดังนั้นส่วนมากจะทำให้กับผู้ที่มีอายุน้อยๆมากกว่า วิธีการคือ คลำ Carotid โดยการกดเฉียงๆเข้าไปด้านใน ติดกับกระดูกกราม ข้างซ้าย หรือ ขวาก็ได้ แล้วแต่ถนัด (ทำข้างใดข้างหนึ่ง ห้ามทำทั้ง 2 ข้าง) จะนวดทวนเข็มหรือตามเข็มก็ได้ นวดเป็นเวลา 10 วินาที ตอนที่5
@pattarapornsovarattanaphon8892
@pattarapornsovarattanaphon8892 2 жыл бұрын
การจับชีพจรจับข้างใดข้างหนึ่งห้ามจับทั้ง 2 ข้าง และการจับที่ตำแหน่งนี้ควรระมัดระวัง เพราะมีความไวมาก แตะเพียงนิดก็ทำให้หน้ามืดได้ บางคนใส่เนคไทก็ทำให้หน้ามืดได้ โดยเฉพาะเวลานวดอย่าให้คนนวดนวดบริเวณคอด้านหน้าเด็ดขาด อาจกดตำแหน่งนี้แล้วทำให้หน้ามืดเป็นลมไปได้ ตอนที่6
@Lek44888
@Lek44888 2 жыл бұрын
สวัสดีค่ะอาจารย์ อาจารย์มาให้ความรู้เรื่อง "ใจสั่นเกิดจากอะไร แก้ไขอย่างไร เมื่อไหร่ต้องไปโรงพยาบาล" 🍀เริ่มด้วยเราต้องจับชีพจรตัวเองให้เป็นก่อน เพราะมันมีความสำคัญค่อนข้างมาก เพื่อการวินิจฉัย ว่าใจสั่นนั้นเป็นจากอะไร ชีพจรคนเราที่ปกติ จะเต้น 60-100 ครั้ง/ นาที 🍀จะต้องดูว่าความเร็วของชีพจร เร็วแค่ไหนใน 1 นาที ถ้าเต้นสม่ำเสมอจับ 15 วินาทีได้ แต่ถ้าเต้นไม่สม่ำต้องจับ 1 นาที 🍀ถ้าชีพจรเต้นช้ากว่าปกติและไม่มีอาการก็ไม่มีปัญหา แต่ถ้ามีอาการและเต้นเร็วกว่า 100 ครั้ง/1 นาที อาจมีปัญหา มักจะมีอาการใจสั่น หรืออย่างอื่นร่วมด้วยเช่น โรคไทรอยด์เป็นพิษ โรคหัวใจ หรือกินยาบางตัว เป็นต้น 🍀ตอนใจสั่น ให้จับขีพจรดูว่าเต้นสม่ำเสมอไหม มันค่อยๆเริ่มแล้วค่อยๆหยุด หรืออยู่ๆมันเริ่มทันที แล้วหยุดทันที ขณะที่เป็นทำอะไรอยู่ มีอาการอะไรบ้าง เพื่อการวินิจฉัยของแพทย์ 🍀ถ้าขณะเป็นแล้วมีอาการหน้ามืด วิงเวียน ให้รีบนอนลงทันที แล้วเรียกให้คนอื่นมาช่วย ถ้าไม่มีคนอื่นมาช่วย ให้หายใจเข้าลึกๆแล้วเบ่ง อาจช่วยได้ อย่าทำในท่ายืนเด็ดขาดอาจล้มได้ ถ้าแก้ไขภาวะนี้ได้แล้ว อาการใจสั่นดีขึ้น ควรจะรีบไปตรวจที่โรงพยาบาลโดยเฉพาะ ท่านที่มีอาการแน่นหน้าอก หรือหน้ามืดร่วมด้วย 🍀สาเหตุที่ทำให้ใจสั่น 1) อดหลับอดนอน 2) โรคทางด้านหัวใจ 3) การทานอาหารไม่เพียงพอ 4) การทานเครื่อมดื่มที่มีคาเฟอีนเยอะ 5) ยาบางตัว เช่นโรคไทรอยด์ ยาขยายหลอดลม ยาลดน้ำมูกบางตัว ขอบคุณอาจารย์มากค่ะ🙏🏻
@maneeann
@maneeann 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่าพี่เล็ก ข้อมูลสำคัญครบ กระชับ ถูกใจแอนค่ะ 😊👍🏻
@Lek44888
@Lek44888 2 жыл бұрын
@@maneeann ขอบคุณค่ะน้องแอน❤️❤️❤️❤️
@wanpensenapitak1360
@wanpensenapitak1360 2 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆนะคะ
@kanyamuay3748
@kanyamuay3748 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะพี่เล็ก❤️🌹🌹
@Lek44888
@Lek44888 2 жыл бұрын
@@kanyamuay3748 ยินดีค่ะน้องหมวย🌹🌹
@ปรีชาปิ่นแก้ว-ธ6บ
@ปรีชาปิ่นแก้ว-ธ6บ Жыл бұрын
มีคนบ่นเยอะมากว่าใจหายใจสะดุด ผมก็เป็น ไปตรวจมาหมดทุกอย่าง แพทย์บอกไม่อันตรายแต่ไม่ให้ความกระจ่างแบบละเอียดเหมือนคลิปคุณหมอท่านนี้ ผมได้บอกต่อให้ทุกคนที่สงสัยว่าอาการแบบนี้มันเป็นยังไง จนทุกคนเบาใจสบายใจจนเลิกกังวล คุณหมอทำคลิปเพื่อให้ความรู้ความกระจ่างแด่ผู้ที่ประสบอาการนี้ดีเหลือเกิน ขอบคุณ มากครับคุณหมอ
@kritsadaeric2177
@kritsadaeric2177 11 ай бұрын
ผมเป็นตอนนี้เลยครับ เป็นนานจนแพนิค เป็นจนรำคาญ
@manlovemmanman3843
@manlovemmanman3843 7 ай бұрын
@kritsadaeric2177ผมก็เป็นทรมานมากครับ
@อารีรักษ์มณีไสย์
@อารีรักษ์มณีไสย์ Жыл бұрын
จริงค่ะ ไปหาหมอแสกนหัวใจแล้ว ไม่เป็นไร มีอาการใจสั่น ใจหวิว เหงื่อออกมือ
@pannui3043
@pannui3043 2 жыл бұрын
อายุหกสิบปีเศษ เรียนและทำงานด้านวิทยาศาสตร์มา ได้ความรู้ใหม่และน่าสนใจทุกครั้งที่เข้ามาฟังคุณหมอ (พยายามเก็บให้ได้ทุกตอนที่พลาดไปค่ะ) ขอบคุณคุณหมอมาก ๆ ที่สละเวลาส่วนตัวมาทำสิ่งดีงาม ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไปค่ะ
@maneeann
@maneeann 2 жыл бұрын
วันนี้ อจ พูดถึงเรื่องการจับชีพจร มีเรื่องขำๆ มาเล่าให้ฟังค่ะ แต่ตอนเกิดเหตุไม่ขำนะคะ ตอนที่ดิฉันเรียน พยบ น่าจะปี 1 ก็ยังไม่ค่อยรู้เรื่องเนอะ นึกถึงแค่นี้ก็จะขำอีกแล้ว 555 อจ ให้จับคู่กับเพื่อน ผลัดกันจับชีพจรที่ข้อมือ ดิฉันก็จับคู่กับเพื่อนคนหนึ่ง ดิฉันจับชีพจรของเขาได้เรียบร้อยแล้ว รู้สึกตุ้บ ตุ้บ ตุ้บ เป็นจังหวะดี แต่มีปัญหาค่ะ เพื่อนดันจับของดิฉันไม่ได้ แล้วก็ไม่ยอมจับคู่ด้วย เอาไงดี เพื่อนชิ่งเฉยเลย 😅 ดิฉันก็ลองจับของตัวเอง ก็ไม่รู้สึก ตุ้บ ตุ้บ ตุ้บ เหมือนของเพื่อนนะ คือมันเบามาก ก็พยายามจะหาเพื่อนจับคู่ใหม่ให้ได้ ก็เป็นเหมือนเพื่อนคนแรก เขาไม่ยอมจับคู่ด้วย เขาบอกเดี๋ยวตอนจับให้ อจ ดูแล้วจับไม่ได้ ก็คงจะกลัวอาจารย์ดุด้วย จนเพื่อนๆเขาจับคู่ได้กันหมดแล้ว สุดท้ายดิฉันก็คงโมเมจับกับเพื่อนใครสักคนนี่แหละค่ะ จำไม่ได้เหมือนกันว่าเขาจับได้ไหม 😅 ตอนนี้ดิฉันจับชีพจรของตัวเองได้แล้วนะคะ ตุ้บ ตั้บ เอ๊ย ตุ้บ ตุ้บ ตุ้บ เป็นจังหวะสม่ำเสมอดีค่ะ ตอนนั้นมันไม่หมูเหมือนตอนนี้เลย คงจับไม่เป็น ไม่ถูกที่มากกว่า หรือยังไง! 55 RegisteredNurseRN 😂😂
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa 2 жыл бұрын
คลิปใหม่มาแล้วค่ะ... วันนี้เรื่อง _ใจสั่นเกิดจากอะไร แก้ไขอย่างไร เมื่อไหร่ต้องไปโรงพยาบาล_ #ใจสั่น #จับชีพจร อาจารย์หมอสาธิตการจับชีพจร (เห็นกำไลหินสีฟ้า 2 เส้นชัดเจนค่ะ) ก่อนอื่นขออนุญาตโพสต์ _สาเหตุของอาการใจสั่น_ พอสังเขปก่อนนะคะ 🔴สาเหตุของใจสั่น มาจากอะไรบ้าง ◾นอนหลับไม่เพียงพอ ◾ออกกำลังกายที่ต้องใช้กำลังมาก ◾อดอาหารมากๆ เช่น ทำ IF ◾ดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ น้ำอัดลม เครื่องดื่มชูกำลัง ◾ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ◾สูบบุหรี่ ◾ใช้สารเสพติด เช่น กัญชา โคเคน หรือ แอมเฟตามีน ◾ความเครียด ความวิตกกังวล ความกลัว ความตื่นเต้น อาการตื่นตระหนก (Panic) 🔴ยารักษาโรคบางชนิด เช่น ◾ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง เช่น ยาไฮดราลาซีน (Hydralazine) หรือยาไมนอกซิดิล (Minoxidil) ◾ยาพ่นรักษาหอบหืดบางชนิดที่มีส่วนประกอบของสารกระตุ้น เช่น ซาลบูทามอล (Salbutamol) ◾ยาแก้ไอหรือยาแก้หวัด ที่มีส่วนประกอบของยาซูโดเอฟีดรีน (Pseudoephedrine) ◾ยาแก้แพ้ เช่น เทอร์เฟนาดีน (Terfenadine) ◾ยาปฏิชีวนะ เช่น คลาริโธรมัยซิน (Clarithromycin) หรือยาอิริโทรมัยซิน (Erythromycin) ◾ยารักษาภาวะซึมเศร้า เช่น ไซตาโลแพรม (Citalopram) ◾ยาต้านเชื้อรา เช่น ไอทราโคนาโซล (Itraconazole) ◾ฮอร์โมนไทรอยด์ ◾ยาลดความอ้วน ◾ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมหรือสมุนไพรบางชนิด
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa 2 жыл бұрын
ใจเต้นแบบไหนอันตราย แบบไหนไม่อันตราย ✔จังหวะการเต้น ตุบ...ตุบ...ตุบ...ตุบ...ตุบ ตุบ ตุบตุบตุบตุบตุบ ตุบ ตุบ ตุบ...ตุบ...ตุบ...ตุบ (ไม่อันตราย) ❌จังหวะการเต้น ตุบ...ตุบ...ตุบ ตุบๆๆๆๆๆๆๆๆ ตุบ....ตุบ......ตุบ.......ตุบ (แบบนี้อันตรายต้องไปตรวจ)
@jutharatborn8675
@jutharatborn8675 20 күн бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ มาเรียนรู้อาการใจสั่นว่าเป็นยังไง มาทำการบ้านในหัวก่อนไปหาหมอค่ะ เวลาไปเช็คจะได้ถามผลตรงๆเลย ไม่ต้องเก็บกลับบ้านมากังวลค่ะ ชอบคุณสอนและอธิบายตรงไปตรงมาดี เลยลองเช็คชีพจรดูสักหน่อยก็สนุกดีค่ะ วันนี้ได้คุยกับลูกค้าที่หนูแนะนำช่องคุณหมอไป เค้าบอกว่าช่องคุณหมอดีมาก ให้ความรู้เยอะและความรู้แน่นดี และปรับมาใช้ดูแลสุขภาพได้จริง พอได้ฟังหนูดีใจกับลูกค้าคนนั้นค่ะ และขอมหาโมนาบุญกับคุณหมอที่ได้บุญจากการให้ความรู้ที่ถูกต้องมาดูแลตัวเองค่ะ อันนี้เป็เรื่องเล็กๆที่หนูได้พบเจอเมื่อเช้า เลยเอามาเล่าให้คุณหมอฟัง ขอบคุณหมอนะคะ🙏❤️
@AnnopJanewatanawit
@AnnopJanewatanawit 16 күн бұрын
เป้นลิ้นหัวใจยาว ตั้ง20กว่าปีแล้ว ใจเต้นเร้ว แรง สั่นๆ มีแพนิคด้วยครับ
@yamato00001
@yamato00001 Ай бұрын
ผมกิน กาแฟ เอสเปรสโซ่ ตอนท้องว่างครับ ใจสั่นเลยครับ
@ณฐพลวุฒิไกรวณิชย์-ฌ2ฌ
@ณฐพลวุฒิไกรวณิชย์-ฌ2ฌ 2 жыл бұрын
แอบรักน้อนสฺปฺทฺ์โร​ซี่​แล้วใจสั่น รักคุณหมอแทนทุกวันใจสั่นไม่หายเบย.... เง้อ
@Euang-Mali
@Euang-Mali 2 жыл бұрын
😊🌷 สวัสดีค่ะ ใจสั่นทุกวันเลย อิอิ
@Sambox754
@Sambox754 2 жыл бұрын
5555555555😂
@wiriwiriya-36
@wiriwiriya-36 2 жыл бұрын
ใจมันเต้น..เต้น..เป็นจังหวะ love ใช่มั้ยคร้าาา 😄😄😄
@ณฐพลวุฒิไกรวณิชย์-ฌ2ฌ
@ณฐพลวุฒิไกรวณิชย์-ฌ2ฌ 2 жыл бұрын
@@wiriwiriya-36 โรคหัวใจกำเริบlovelove love you #ซีแคร​ฺ​์ออเรนจิโฟร์โมสต์​
@user-ji4sh1kf3r
@user-ji4sh1kf3r 2 жыл бұрын
😁😁😂😂
@Whyxiie
@Whyxiie 11 ай бұрын
หนูไปตรวจร่างกายมาเมื่อปีที่แล้ว EKG เจอหัวใจเต้นผิดปกติ แต่หลังจากนั้นไปหาCardiologist ก็ไม่เคยตรวจเจออีกเลย ทั้งวิ่งสายพาน ทั้งEchoหรือไม่ว่าจะทำEKGอีกกี่ครั้ง ก็จะมีแค่อาการใจสั่น จนสุดท้าย อาการใจสั่นไม่หาย หมอorderให้ทำRFCA สวนท่อเข้าไปถึงได้เจอว่ามีพังผืดที่ทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ หมอก็ทำการจี้ให้ค่ะ ตอนแรกนึกว่าคิดไปเองว่าใจสั่น คิดว่าเสียสติไปแล้วเพราะหนูรักษาอาการทางจิตเวชด้วย สุดท้ายก็เจอว่าเป็นจริงๆ
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa 2 жыл бұрын
🚩อาจารย์คะ เมื่อคืนเพิ่งอ่านเรื่องเกี่ยวกับ ทำไมหัวใจของนักกีฬา หรือคนที่ออกกำลังเป็นประจำเต้นช้าลง ยิ่งฟิต ยิ่งเต้นช้า (อย่างของอาจารย์ เป็นต้น) 🚩ก็เพราะการออกกำลังเป็นประจำ ทำให้หัวใจแข็งแรงขึ้น หัวใจสามารถสูบฉีดเลือดไปได้มากขึ้น ต่อการบีบตัว 1 ครั้ง รวมถึงการออกกำลังเป็นประจำ ทำให้ระบบ Parasympathetic ทำงานเด่นขึ้น ทำให้หัวใจเต้นช้าลง​ทั้งขณะออกกำลังกายที่ความหนักเท่าเดิม​และในขณะพัก 🚩นอกจากนี้การออกกำลังกายมาก และนานถึงระดับหนึ่ง จะเกิดการเปลี่ยนรูปร่างทางหัวใจ ( EICR = Exercise induce cardiac remodelling ) ทำให้ รูปร่างหัวใจเปลี่ยนไป เช่น โตมากขึ้น หรือหนาตัวมากขึ้น ทำให้สามารถสูบฉีดเลือดต่อ 1 การบีบได้ดีขึ้นไปอีก หัวใจก็ยิ่งเต้นช้าลงไปอีกค่ะ ถึงจะเต้นช้า แต่ถ้าไม่มีอาการอะไรผิดปกติ ก็ไม่อันตราย ไม่ต้องไปตรวจค่ะ
@DrTany
@DrTany 2 жыл бұрын
ประมาณนั้นครับ
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa 2 жыл бұрын
@@DrTany ขอบคุณค่ะอาจารย์... การออกกำลังกายมันดีต่อใจจริงๆค่ะ
@boomsong5729
@boomsong5729 2 жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอธนีย์ วันนี้คุณหมอสาธิต วิธีการตรวจชีพจร เป็นความรู้พื้นฐานที่ทุกคนคนควรรู้ อัตราการเต้นของชีพจร 60-100 ครั้ง/นาที ผู้ที่ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เช่นเดียวกับคุณหมอ ชีพจรอาจเต้นช้ากว่า 60 ครั้ง/นาที ซึงเป็นเรื่องปกติ แต่ถ้ามีอาการหน้ามืดร่วมด้วย ควรไปพบแพทย์ค่ะ การรักษาอาการใจสั่น จะรักษาตามสาเหตุ คุณหมอแนะนำให้หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น ที่ทำให้เกิดอาการ แต่ถ้าไม่หายก็ควรไปพบแพทย์ เพื่อวินิจฉัยหาสาเหตุ และรับการรักษาค่ะ ขอบคุณมากค่ะ ขอให้คุณหมอและครอบคร้ว มีสุขภาพแข็งแรง และมีความสุขนะคะ 🌻🧡🌻
@Achawan_edu
@Achawan_edu 2 жыл бұрын
🌈วันนี้คุณหมอสอนการจับชีพจรที่ถูกวิธีอย่างชัดเจน เห็นภาพชัดไปใช้ได้เลย เรื่องวันนี้มีประโยชน์อย่างยิ่ง สังเกตว่าในช่วง 1-2 สัปดาห์ คุณหมอให้ความรู้เรื่องหัวใจที่ผิดปรกติในอาการต่างๆ หัวใจโต หัวใจวาย หัวใจเต้นผิดปรกติ วันนี้หัวใจสั่น เป็นเรื่องต้องทำความเข้าใจ อย่างจริงจังไม่รู้อาจถึงชีวิตได้ มีประสบการณ์เล่าให้ฟังค่ะ การแน่นหนัาอก แล้วต้องรีบหาหมอ เชื่อฟังหมอเรืองใหญ่ หากดูเบาถึงชีวิตได้ ได้รับข่าวญาติท่านหนึ่ง เมือ่ 2 เดือนที่แล้ว เป็นผู้สูงวัยอายุ 74 ปีเดินทางข้ามทวีป จากออสเตรเลีย ไปอเมริกา มาอังกฤษ และไปเยอรมัน ปรากฏว่ารู้สึกแน่นหนาอก ตอนอยู่ที่อังกฤษ คุณหมอแนะนำให้อย่าเพิ่งเดินทาง ท่านนี้บอกว่า เนื่องจากมีนัดหมายสำคัญไม่อยากเลื่อน ตอนขึ้นเครื่องไม่เป็นไร แต่พอเครื่องบินจอดที่ประเทศปลายทาง พอลุกขึ้นมา ก็เป็นลมหยุดหายใจทันที เรื่องของหัวใจ เป็นเรื่องที่ต้องใส่ใจหากมีอาการที่ผิดปรกติ ขอบคุณคุณหมอนะคะ 🙏🏽🙏🏽
@maneeann
@maneeann 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่าพี่อัช 😊🌹
@Achawan_edu
@Achawan_edu 2 жыл бұрын
@@maneeann 🙏🙏🌞🌞
@ployyy.2107
@ployyy.2107 2 жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอขอบคุณข้อมูลความมากมายมาแบ่งปัน เคยมีอาการใจสั่นไปตรวจก็ไม่เจอว่าผิดปกติอะไรค่ะบ้างครั้งก็หาสาเหตุไม่เจอ ขอให้คุณหมอสุขภาพแข็งแรงค่ะ..🥰🥰🥰
@Achawan_edu
@Achawan_edu 2 жыл бұрын
🌈เป็นหัวข้อที่น่าสนใจอย่างยิ่ง เพราะวันก่อนเพื่อนบ่นว่าใจส่่น ใกล้ตัวจริงๆ เรื่องนี้ ขออนุญาตบันทึกค่ะคุณหมอ ตอนที่ 🩸 ใจสั่นเกิดจากอะไร แก้ไขอย่างไร เมื่อใดต้องไปโรงพยาบาล 🌰เกริ่นนำ คุณหมอสอนการจับชีพจร ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญในการดูว่าใจสั่นหรือไม่ ▶1. การจับชีพจร คุณหมอสาธิต ในช่วง 5 นาทีแรก มีที่1.ข้อมือ 2. ข้อพับ 3. คอ (อย่าจับ 2 มือ 2 ข้าง จับข้างเดียวพอ ) และที่ขา (แต่ที่ขาไม่นิยมการจับชีพจร) ▶2. อาการใจสั้น เป็นอย่างไร 2.1 หัวใจเต้นรั่ว 2.2 การเต้นที่ไม่สม่ำเสมอของหัวใจ 2.3 การเต้นและหยุดไป มีช่วงที่การเต้นหายไป 🌻ฉะนั้นการเต้นของหัวใจแต่ละแบบ ควรสังเกตตนเองว่าสั่นแบบไหน หากตอบคำถามหมอได้ เช่นเต้นสม่ำเสมอไหม, เต้นกี่ครั้งต่อนาที หากไม่สม่ำเสมอใน 1 นาทีเต้นกี่ครั้ง มีจังหวะหยุดนานๆ ไหม หรือเต้นเกิน 100 ครั้งต่อนาที ▶3. การวินิจฉัยอาการใจสั่น 3.1 ความเร็วของชีพจร ต่อ 1 นาที 3.2 การเต้นสม่ำเสมอหรือไม่ใน 1 นาที 3.3 ตอนที่เริ่มใจสั่น กับตอนที่จะหยุดใจสั่นมีอาการเป็นอย่างไร ▶4. การวินิจฉัยอาการใจสั่น 4.1 ความเร็วของชีพจร ต่อ 1 นาที มีกี่ครั้ง 4.2 สม่ำเสมอหรือเปล่า 4.3 เรื่องนี้สำคัญค่อนข้างมากต่อการวินิจฉัย คืออาการตอนที่เริ่มใจสั่น กับตอนที่จะหยุดใจสั่นเป็นอย่างไร เช่น คุณหมอทำเสียงแสดงการเต้นหัวใจนาที ที่ 9.00 >>>>>แบบไม่อันตราย ส่วนแบบที่อันตราย คุณหมอสาธิต อยู่ที่นาทีที่ 9.25 ▶หากไปโรงพยาบาลและการสั่นของหัวใจยังมีอาการอยู่ หมอจะทำการตรวจคลื่นหัวใจตอนนั้น จะสามารถบอกได้ทันทีว่าเป็นใจสั่นแบบไหน ▶แต่บางครั้งภาวะการสั่นของหัวใจหายไป ก็ไม่สามารถตรวจได้ ในบางกรณีคุณหมอจึงให้นำเครื่องตรวจที่เรียกว่า Holter Monitor, S-Patc ไปตรวจที่บ้าน ต่อตอน 2
@Achawan_edu
@Achawan_edu 2 жыл бұрын
ตอน 🩸🩸 🚩🚩คุณหมอสรุป สิ่งสำคัญในการดูอาการใจสั่นของตนเอง เพื่อบอกแพทย์คือ 1. รู้ความเร็วของชีพจร ต่อ 1 นาที่มีกี่ครั้ง 2. รู้ความสม่ำเสมอของชีพจร >>>> เร็วแล้วค่อยๆ หยุด หรือหยุดแล้วเร็วเลย 3. .ตอนที่ใจสั่น เราทำอะไรอยู่ อาการดังกล่าวสามารถบอกเหตุผลในการใจสั่น 4. มีอาการดังต่อไปนี้ไหม เช่นแน่นหน้าออก เหงื่อแตก (ซึ่งลักษณะนี้อาจเป็นกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือไม่) หากมีออาการดังกล่าวต้องรีบไปตรวจ 🌰ปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้หัวใจสั่น และทำให้หัวใจเต้นผิดปรกติ 1. การอดนอน ถ้าอดนอนบ่อยๆ ก็จะทำให้ใจสั่น 2. การที่ไม่รับประทานอาหารเลย เช่น ทำ IF และไปออกกำลังกายทันทีทำให้ใจสั่นได้ 3. การดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน ก็ทำให้ใจสั่นได้ 4. การดื่มน้ำอัดลม หรือเครื่องดื่มบำรุงกำลัง ก็ทำให้ใจสั่นได้ ▶คำถาม >>> มีอาการใจสั่น ทานกาแฟได้ไหม คุณหมอตอบ >>> ไม่ได้ ยิ่งทำให้ใจสั่นมากขึ้น 5. ยาขยายหลอดลมบางชนิดเช่น แบบกิน ventolin, salbutamol (albuterol) , ยาพ่น 6. ยาฮอร์โมนไทรอยด หากกินมากก็ใจสั่นได้ 7. ยาลดความอ้วนบางชนิด กินเข้าไปใจสั่นได้ ยาเหล่านี้ ต้องระมัดระวังยาไปกินเอง 🌰หากเกิดอาการใจสั่นต้องทำอย่างไร 1. นั่งลงสงบสติอารมรณ์ 2. หากใจสั่นและหน้ามืด หาที่ที่เหมาะสมนั่งลง และนอนลงทันที (หากไม่นอนลงอาจล้มหัวฟาดได้) อย่ายื่นเด็ดขาด 3. ถ้าใจสั่นมีอาการหวิว ๆ นั่งลง/ นอนลงทันที (เพราะอาจล้มหัวฟาดได้) 4.บางคนใจสั่น หน้ามึดด้วย และยิ่งถ้าแน่นหน้าอก มีเหงื่อแตก ถ้าเป็นไปได้ เรียกให้คนเรียกรถพยาบาล หรือโทรศัพท์ด้วยตนเองทันที 🚩🚩💦💦ในกรณีที่เราใจสั่น หน้ามืด แน่นหน้าอก แต่บริเวณใกล้เคียงไม่มีใครอยู่ มีวิธีแนะนำคือ (แต่ไม่สามารถได้ทุกกรณี แต่ก็เป็นทางรอดได้) นอนลง หายใจเต็มที่ กลั้นและเบ่ง (เหมือนเบ่งอึ) วิธีการนี้เรียกว่า Vagal Maneuvers เป็นการกระตุ้นระบบประสาทอัตโนมัติชนิดหนึ่ง คือ Parasympathetic ให้ทำงาน พอทำงานแล้ว หัวใจจะเต้นช้าลง ▶ในกรณีบางคนนั่งยังไหว ให้นั่งยองๆ ถ้าทำได้ให้ทำวิธีดังกล่าวในท่านั่งเลย ▶ในกรณีบางคนนั่งไม่ไหว ให้รีบนอนลงทันที คุณหมอสาธิต นาทีที่ 16.16 เบ่งประมาณ 10-15 วินาที หรือ น้อยกว่านั้นได้ จะทำให้หัวใจเต้นช้าลง ▶บางกรณีจากเต้นเร็วๆ หยุด แล้วเต้นปรกติได้ ▶บางกรณีสามารถทำซ้ำได้หากยังไม่หายจากอาการ (FC สำคัญมากค่ะไว้ปฐมพยาบาลตัวเองเวลาไม่มีใครอยู่ด้วย) 🚩ที่สำคัญคือเรียกคนช่วยให้เร็วที่สุดเพื่อไปโรงพยาบาล และแม้เราทำวิธีดังกล่าวแล้วหายดีขึเน ก็จำเป็นต้องไปหาหมอทันที อย่านิ่งนอนใจซึ่งเป็นอาการผิดปรกติแล้วจำเป็นต้องหาหมอทันที (อย่ากลัว แล้วกลับไปนอนพักที่บ้าน อันตราย/อาจตายได้) 🚩ข้อควรระวังคนที่นวด อย่าให้นวดที่คอด้านหน้าเด็ดขาด เพราะอาจมีปัญหาที่ทำให้หน้ามืดได้ ต่อตอน 3
@Achawan_edu
@Achawan_edu 2 жыл бұрын
ตอน 🩸🩸🩸 💦💦💦💦คุณหมอสรุป 🌻1. จับชีพจรให้เป็น หากจับบริเวณข้อมือ จะอยู่ตรงกับนิ้วโป้ง ดูคุณหมอสาธิต นาที่ 23.10 เป็นต้นไป ที่ข้อพับแขน ที่คอ 🌻2. ดูความเร็วชีพจรใน 1 นาที หากเต้นสม่ำเสมอก็จับเวลา 15 วินาทีพอ หากไม่สม่ำเสมอ การจับ 1 นาที จะได้ประมาณ 60-100 ครั้ง /นาที *หากเต้นช้ากว่านั้นและไม่มีอาการใดๆ ไม่ต้องสนใจ * หากมีอาการควรให้ความสนใจ ถ้าเร็วกว่า 100 ครั้ง/นาที มักจะมีอาการใจสั่น ร่วมด้วย เช่น เป็นโรคไทยรอยด์เป็นพิษ โรคหัวใจ หรือกินยาบางตัวแล้วมีผล การอดหลับอดนอนก็เป็นได้ จึงจำเป็นต้องหาสาเหตุว่าเกิดจากอะไร 🌻3. จับดูชีพจรว่าสม่ำเสมอหรือไม่ และตอนที่เริ่มใจสั่นมันเริ่ม และหยุดไหม หรือว่าอยู่ๆ มันเริ่มมีอาการทันที 🌻4. ตอนที่เกิดอาการเราทำอะไรอยู่ มีอาการอื่นๆ ด้วยหรือไม่ 🌻5. หากมีอาการใจสั่นขึ้นมาแล้ว มีอาการหน้ามืด วิงเวียน รีบนอนลงทันที รับให้คนมาช่วยทันที หากบริเวณนั้นไม่มีคน การกลั้นหายใจมากๆ และเบ่งอาจช่วยได้ ดูคุณหมอสาธิตนาที 16.16 ข้อควรระวัง >>>>ให้ทำในท่านอน ไม่ควรทำในท่ายืน อาจล้มลงหน้ามืดได้ ท่านจะนอนตะแคง หรือนอนหงายได้ทั้งนั้น 🌻6. สาเหตุที่ทำให้ใจสั่น * จากการเป็นโรคทางด้านหัวใจ การอดหลับอดนอน การกินอาหารไม่เพียงพอ หรือทาน * เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนได้แก่ ชา การแฟ น้ำอัดลม หรือ เครื่องดื่มบำรุงกำลัง * จากยาบางตัวเช่น ยาโรคไทรอยด์ ยาที่ใช้ในการขยายหลอดลมก็ทำให้ใจสั่นได้ หรือยาลดน้ำมูกบางตัวก็ทำให้ใจสั่นได้ จำเป็นต้องระวัง ฉะนั้น ยาหลายๆ ตัว ท่านอาจไปหาความรู้ด้วยตนเอง 7.หากเราแก้ไขภาวะนี้ไปได้แล้ว อาการใจสั่นของเราดีขึ้น จะต้องรีบไปตรวจที่โรงพยาบาลทันที โดยเฉพาะอาการหน้ามืด แน่นหน้าอก ต้องรีบไปหาหมอทันที ❌❌อย่ากลับบ้านไปนอน ❌❌ ต้องระวังมากๆ เป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ขอบพระคุณคุณหมอมากๆ ค่ะ เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง 🙏🏽🙏🏽 คุณหมอบอกอธิบายผิวๆ ผู้ฟังได้ประโยชน์มากมาย 👍👍 ทำให้เรามีวิธี ไม่ประมาท ไม่ดูเบา เรื่องใจสั่น 👍👍
@luxanawadeeboonyasirinun6378
@luxanawadeeboonyasirinun6378 2 жыл бұрын
ขอบพระคุณ คุณหมอมากๆ ค่ะ เรื่องนี้ ตรงกับต้อมมากๆ ในหลายครั้งที่เกิดขึ้นและผ่านมา เป็นบทเรียนมากๆ เช่น อย่ากลัวเสียฟอร์ม ; ตอนเล่นกีฬา อย่าตะกละ; ตอนทานเพื่อให้อ้วนขึ้น จนจุกแน่นจนหายใจไม่ออก (ปริมาณไม่ได้ช่วยให้อ้วนขึ้นอย่างเดียวเพิ่มแคลอรี่ดีกว่า) อย่าคิดว่าพอไหว; ตอนวูบที่ทำงานฟื้นขึ้นมาแล้วไม่ได้ไปหาหมอทันที เพราะคิดว่าพอไหวขับรถกลับบ้านไปนอนได้ น่าจะดีขึ้น (รพ.เลยบ้านไป นิดแต่ รถติดตอนเย็น ไม่น่ารอด กว่าจะหาที่จอด เดินไปติดต่อ พูดเล่า คิดว่าไว้ดีขึ้นค่อยไป… พอคุณหมอพูดว่านอนหลับไปแล้วอาจไม่ตื่น สะดุ้งเลยค่ะ!!!) 2 ครั้งสุดท้าย ที่นอนหลับ แล้วสะดุ้งตื่น เฮือกขึ้นมาแล้วเหมือนจะตาย…จุกแน่น เหงื่อออก แต่มือเท้าชาเย็น แล้วอยู่คนเดียวที่ต้อมเคยบอกว่าทำ CPR ตัวเอง😋 (จำชื่อไม่ได้แต่จำวิธีการทำได้…เคยอ่านเจอ…) พึ่งทราบการเรียกที่ถูกต้องจากคุณหมอแทนนี่ละค่ะว่า คือ Vegal maneuvers แต่ตอนนั้นต้อมทำเพิ่มอีก 2 อย่าง คือ ไอแรงๆ ให้หน้าอกเหมือนมีแรงอัด (เหมือนตอนคนปั๊มหัวใจ)และ งอขามือชิดหน้าอก ยืดเหยียดเป็นจังหวะ ทำอยู่ประมาณ 15 นาที ดีขึ้นนิดแล้วไม่กล้านอนต่อเลยค่ะ แต่เผลอหลับตอนไหนไม่ทราบ พอตื่นมาได้ยินนกร้องแสงแดดเข้าตา คิดว่าคราวนี้คงต้องไปรพ.ละ…พอไปพบแพทย์ วัดคลื่นหัวใจยังไม่เห็นความผิดปกติ แต่ถูกส่งไปเจาะเลือด พบว่า เกือบทุกค่าต่ำเกิ๊นนน… ก็รักษา ทานยา ตอนนี้ปกติละค่ะ แข็งแรงทั้งกายและใจละ… ขอบคุณอีกครั้งที่ความบังเอิญได้เจอคลิปคุณหมอ🎉 ทำให้ชีวิตต้อมดีขึ้น
@คําพันธุ์จ้อยรุ่ง
@คําพันธุ์จ้อยรุ่ง 2 жыл бұрын
คุณหมอแทน ให้ความรุ้ ครบทุกวงจร ติดตาม ตลอดค่ะ ขอบคุณนะคะ
@พรเพ็ญเปรมอิสระกูล
@พรเพ็ญเปรมอิสระกูล 2 жыл бұрын
เราเคย มีความรู้สึก ของการเต้นของหัวใจ ปกติจะไม่มีความรู้สึก ของการเต้นของหัวใจ พอเราไปหาหมอ เค้าก็เช็ค คลื่น เดินสายพาน มีหา หมอสมอง เค้าให้แลบลิ้น ให้ลิ้นเคลื่อนไหว เราไม่รู้ ว่า เค้าจะดูการสั่งงานจากสมองหรือไม่ แต่ สรุป เค้าว่าปกติ ไม่เป็นไร เค้าว่า เราคิดไปเอง แต่อาการที่พูด มันก็หายไปเอง อาจจะเกิดจากการเครียดจากงานในช่วงนั้น เราจำได้ว่าเราบอกหมอว่า เหนื่อยเหมือนคนไปออกกำลังกายมา ทั้งๆที่อยู่เฉยๆ เค้าก็หาเหตุไม่เจอ แต่มีไม่สบายครั้งนึง หมอทักว่า ความดัน ยู ต่ำ เราก็ไม่รู้ว่า เราไม่สบาย แต่จำไม่ได้ว่าเป็นอะไร...นานมาแล้วทำให้ความดันเราต่ำ สงสัย เราจะเป็นหัวใจเต้นเร็ว เคยขี่จักรยาน แค่20นาที ก็เหนื่อย เหงื่อแตกเลย แต่เราจะตัวมีไอร้อน เช่น อาบน้ำออกจากห้องน้ำ พี่สาว ทักว่า ทำไมห้องน้ำร้อนจัง อาบน้ำปกติ และที่แย่อีกอันคือ ถูกไฟดูดบ่อยมาก จากปุ่ม สวิทช์เปิดปิดไฟ ลิฟต์ ประตูบานเลื่อน คนอื่นเห็นเค้าเลื่อนได้ แต่พอเราจับประตู ต้องสบัดมือออก ลอง สามครั้ง เลิกลอง แต่ก็ยังสงสัย ไปถามหมอ เค้าไม่เข้าใจอาการ บอกเราคิดไปเอง เค้าบอกว่าในตัวเรามีไฟฟ้า หรือว่ามาจาก อะไร ไม่ทราบเหตุ ทุกวันนี้ ก็ได้แต่ระมัดระวัง เรื่องถูกไฟดูด ในจุดที่คนทั่วไปเค้าใช้ได้ปกติ แต่เราต้องสบัดมือออกอย่างเร็ว😵‍💫😳
@นภคษอรฉันวิจิตร
@นภคษอรฉันวิจิตร 6 ай бұрын
น่าจะลองเซิร์ชเซิร์ชหาใน Google ดูเกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในร่างกายของมนุษย์ค่ะอาจจะมีคนทำคลิปแนะนำก็ได้
@jinnie_proud_
@jinnie_proud_ Жыл бұрын
ก่อนเป็นหนูจะรู้สึกวูบมึนๆ แล้วหัวใจก็จะเริ่มเต้นแบบที่ 1 ค่ะ ช่วงเวลาที่มันเต้น จะรู้สึกแสบร้อนบริเวณน่าอกขึ้นมาลำคอ และปวดร้าวแสบๆบริเวณบ่าท้าทอย เวลาเป็น 2-3 ชั่วโมงค่ะ แล้วมันก็ค่อยๆเต้นช้าเป็นปกติ หนูจะเป็นประมาณเดือนละครั้ง ไปตรวจหาหมอ 4 ครั้งแล้ว ตรวจทุกอย่างปกติ แค่มีโรคกระเพาะเข้ามา
@makepratimakornuhu9723
@makepratimakornuhu9723 4 күн бұрын
น่าจะกรดไหลย้อนครับ
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa 2 жыл бұрын
ตำแหน่งที่จะคลำชีพจร ตำแหน่งที่ใช้คลำชีพจรเป็นตำแหน่งที่มีเส้นเลือดอยู่ใกล้ผิวหนังมากที่สุด 1.Temporal artery - หน้ากกหู บริเวณขมับ 2. Carotid artery - ข้างคอ แนวเดียวกับใบหู 3. Brachial artery - ข้อพับศอกด้านใน 4. Radial artery - บริเวณข้อมือด้านนิ้วหัวแม่มือ 5. Femoral artery - กึ่งกลางขาหนีบ 6. Popliteal artery - กึ่งกลางใต้ข้อพับเข่า 7. Dorsalis pedis artery - หลังเท้าระหว่างนิ้วหัวแม่เท้ากับนิ้วชี้ 8. Posterior tibialis artery - ด้านหลังของตาตุ่มด้านใน
@boomsong5729
@boomsong5729 2 жыл бұрын
@ FragranzaTrippa ขอบคุณมากนะคะ ⚘💙⚘
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa 2 жыл бұрын
@@boomsong5729 ยินดีค่ะคุณมนต์...
@kanyamuay3748
@kanyamuay3748 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะน้องทริป❤️🌹🌹
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa 2 жыл бұрын
@@kanyamuay3748 ยินดีค่ะพี่หมวย...
@faurasha796
@faurasha796 2 жыл бұрын
คุณหมอทั้งเก่ง ทั้งใจดี แบ่งปันความรู้ สอนแบบละเอียด ขอบคุณค่ะ 🙏🏻❤
@bestwatle468
@bestwatle468 7 ай бұрын
อยากโนหมอ สปั้มกั้มหราา
@morgothbauglir3776
@morgothbauglir3776 2 жыл бұрын
ดูคลิปแล้วใจสั่น โอ๊ยยย!!
@ยมฑูตขาว..จิมมั้ง
@ยมฑูตขาว..จิมมั้ง 2 жыл бұрын
เคยไอเยอะๆแล้วรู้สึกหายใจไม่สะดวก คิดว่ากินยาขยายหลอดลมคงช่วยได้ไม่มากก็น้อย🤔 ใจสั่นจริงๆค่ะตัวจะสั่นๆด้วยแล้วไม่ใช่ว่าอาการจะหายง่ายๆด้วยนะค่ะ🥶🥶 ตื่นมาตอนเช้ายังรู้สึกอยู่เลย😮‍💨ขอบคุณค่ะคุณหมอ💚
@Jum.A1
@Jum.A1 2 жыл бұрын
ไปตรวจหรือปรึกษาคุณหมอมาหรือยังคะจิมมี่ ถ้ายังควรรีบไปนะ เราต้องอยู่เป็นเพื่อนกินอโวคาโด้กันอีกนาน ๆ นะคะ 🥑💚
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa 2 жыл бұрын
จิมดื่มแฟเยอะด้วยรึป่าว...
@ยมฑูตขาว..จิมมั้ง
@ยมฑูตขาว..จิมมั้ง 2 жыл бұрын
@@Jum.A1 จิมแค่ไอป่ะคะจุ๋ม เตงพิมซะเราใจแป้วเลย😅😅
@ยมฑูตขาว..จิมมั้ง
@ยมฑูตขาว..จิมมั้ง 2 жыл бұрын
@@FragranzaTrippa ไม่เยอะแล้วนะคะ หลังเที่ยงจิมแทบไม่แตะกาแฟเลยเต็มที่ก็ม๊อคค่า😅😅😅
@Jum.A1
@Jum.A1 2 жыл бұрын
@@ยมฑูตขาว..จิมมั้ง ก็จิมบอกว่าไอเยอะ ๆ แล้วหายใจไม่สะดวก ฟังดูน่าจะทรมานเลยนะคะ ถ้า “แค่” ไอแต่สามารถทำให้หายใจไม่สะดวกก็น่าจะปรึกษาคุณหมอดูดีกว่าไหมคะ เผื่อว่าถ้าไม่มีอะไรก็จะได้สบายใจ บางทีคุณหมออาจจะมีทริคสอนการหายใจถ้าเกิดอาการไอแล้วหายใจไม่สะดวกอีก
@maliwankaipai5639
@maliwankaipai5639 2 жыл бұрын
กราบขอบคุณมากค้ะ คุณหมอ ที่สละเวลามาให้ความรู้เป็นธรรมทาน🙏 ขอให้เจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานตลอดจนความสำเร็จในทุกๆด้านชีวิตมีแต่ความร่มเย็น ค้ะฉันก็เป็นอาการแบบนี้ค้ะ
@mukumukupangpang9348
@mukumukupangpang9348 2 жыл бұрын
เคยครับหมอตอนจะสอบกินกาแฟไปบวกกับตื่นเต้น เรียบร้อยขาดสอบต้องฝืนขับรถไปโรงบาลในม.เกือบไม่ไหว รู้สึกเหมือนได้รับแรงGหน้าชาขยับแทบไม่ได้ หมอให้กินยา1เม็ดเล็กแล้วนอนพักแปปนึงก็หาย
@tarungtiwa2710
@tarungtiwa2710 2 жыл бұрын
สวัสดีคะ=ประเทศไทย ขอบคุณมากๆคะคุณหมอ วันนี้มาให้ความรู้เรื่องใจสั่นคะได้ความรู้เรื่องโรคต่างๆทุกวันมีประโยขน์มากๆคะ.👍 ตาขอให้คุณหมอมีความสุข สุขภาพแข็งแรงและปลอดภัยนะคะ.🙏🇹🇭😷🌹❤️
@user_Aom2521
@user_Aom2521 Жыл бұрын
คุณหมออธิบายระเอียด เข้าใจง่าย มีประโยชน์มากค่ะ ติดตามแล้วค่ะ
@sayfonfon4124
@sayfonfon4124 Жыл бұрын
พอรู้สึกตัวว่าตื่นจะมีอการใจสั่นค่ะคุณหมอจะเป็นแป็ปเดียวตื่น1 ครั้งก็เป็น1 ครั้งตื่นบ่อยก็เป็นบ่อยค่ะ
@AL86898
@AL86898 2 жыл бұрын
สวัสดีค่ะอาจารย์แพทย์🙏คุณหมอแทน😍วันนี้คุยเรื่องอาการใจสั่น เพราะอะไรก่อนอื่นหัดจับชีพจรตนเองโดยลองทำตามคุณหมอเลยมีที่ข้อมือ ที่แขนตรงศอกข้อพับแขน ใต้คางตรงคอ ที่เท้าก็มี และชีพจร เต้น60-100ครั้งต่อนาที ถ้าเต้นช้าเพราะออกกำลังกาย หรือเพิ่งตื่นนอนไม่เป็นไรถ้าจะกังวลคือต้องมีอาการหน้ามืด การเต้นของหัวใจที่ไม่สม่ำเสมอ มีการเต้นแล้วหายไป เต้นแบบมีจังหวัะหยุดบ้าง การใจสั่น แล้วสังเกตรองจับชีพจรตัวเอง เต้นกี่ครั้งต่อนาที หรือเต้นเกิน100ครั้งต่อนาที สิ่งที่เราต้องรู้คือ 1เต้นกี่ครั้งต่อนาที2เต้นสม่ำเสมอไหม 3เต้นแล้วช้าหรือหยุดเร็ว4ตอนใจสั่นทำอะไรอยู่ สังเกต การตรวจนั้นบางทีไปหาหมอตรวจแล้วหายเป็นปกติก่อน กลับมาบ้านเป็นอีก บางที่อาการใจสั่น เกิดเพราะอดนอนกิน กาแฟ คาเฟอีน ชา ในน้ำอัดลม อดอาหาร กินยาบางชนิดยา ขยายหลอดลมแบบกิน ทำให้ใจสั่น ได้หรือยาพ่น หรือกินยาลดความอ้วน ยาไทรอย ยาลดน้ำมูกบ้างตัว ถ้ามีอาการ ใจสั่นต้องนอนลงทันที อย่ายืนจะล้ม ได้ ถ้าหน้ามืดใจสั่น แน่นหน้าอกหัวใจเต้นแรง ต้องเรียกคนช่วยทันที ถ้าไม่มีคน อยู่คนเดียวให้นอนลงแล้วเบ่งแบบนั่งยองๆหรือนอนเบ่งเหมือนเบ่งอุจาระประมาณสิบห้าวินาที หัวใจจะเต้นช้าลง การทำหายแล้วต้องไปหาหมอทันที หลังจากผ่านเหตุนั้นแล้วต้องพบแพทย์ทันที ถ้าหัวใจหยุดเต้นแล้วกลับมาเต้นใหม่แรงขึ้น ไม่อันตรายมากแต่ต้องกินยารักษา ตรงคอของเรามีส่วนอันตราย อย่าให้ใครมาจับนวดถ้าทำไม่เป็นขอบคุณค่ะคุณหมอหัดทำได้ค่ะตามที่สอนค่ะ🙏👍❤
@prisna49
@prisna49 2 жыл бұрын
ขอบคุณ คุณหมอให้ความรู้ดีทุกครั้งเลย เป็น SVT แต่อายุ 28 เป็นแล้วหายไปเองก็เลยไม่ได้ทำอะไรจนอายุ 68 เป็นบ่อยขึ้นแล้วไม่หายไปเอง ไปโรงพยาบาลฉีดยาเข็มนึงแล้วก็กลับ หมอให้กินยาลดความดันวันละ 1 เม็ดก่อนนอนและบอกว่าต้องกินไปตลอดหยุดไม่ได้ กินแล้วรู้สึกอึดอัดเพราะเราความดันปกติ เลยตัดสินใจไม่กินยา 5 ปีแล้ว ไปจี้ไฟฟ้ามาแล้วค่ะตอนนี้ก็ไม่มีอาการอะไรออกกำลังกายได้ตามปกติ ได้ฟังคุณหมออธิบาย svt อย่างละเอียดแล้วได้รู้วิธีดูแลตัวเองมากขึ้น ขอบคุณมากค่ะ
@RISA_1234.
@RISA_1234. 5 ай бұрын
คุณหมออธิบายเข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน ชอบช่วงที่สอนการจับชีพจร นี่จับตามคุณหมอเลยค่ะ😅😊
@geegee2465
@geegee2465 2 жыл бұрын
🙏กราบขอบพระคุณค่ะอาจารย์เป็นคลิปที่มีคุณค่ามากมาย ทำให้ทุกคนสามารถช่วยตัวเองให้รอดปลอดภัยในช่วงวิกฤตได้ ส่งต่อให้เพื่อนๆและญาติๆที่ทำงานดึกๆและไม่ได้พักผ่อนแถมไปดื่มกาแฟอีก ถ้าเกิดใจสั่นขึ้นมา แล้วไม่หายเป็นมากขึ้น ช่วยตัวเองไม่ได้อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นกับตัวเองเมื่อเช้าค่ะอาจารย์ ไม่ได้พักผ่อนยาว ด้วยภาระหน้าที่ตั้งแต่ปลายสิงหา เมื่อคืนนอนดึกตื่นเช้ารู้สึกหน้ามืดหัวใจเต้นเร็ว 88-90ครั้ง/นาทีโชคดีอยู่ที่ห้องรับแขก เลยค่อยๆนั่งลงนอนราบบนโซฟาให้น้องวัดความดันให้ ความดันต่ำ 90/60mmHg ยกปลายเท้าสูง 30 นาทีค่ะอาจารย์ นอนพักผ่อนต่อประมาณ 2 ชั่วโมง อาการดีขึ้นค่ะ แต่ก็พักผ่อนทั้งวันไม่กล้าออกไปไหนค่ะ เย็นๆก็สบายดีแล้วค่ะ เมื่อเช้าไม่ได้ทำ Vagal Maneuvers ค่ะ เพราะวัดความดันแล้วความดันต่ำค่ะอาจารย์นั่งยองๆยังไม่ได้หัวจะทิ่มค่ะ เข็ดแล้วค่ะจะพักผ่อนให้พอ อายุมากขึ้นต้องดูแลตัวเองดีๆ ต้อง - 😴พักผ่อนให้ พอ - 🏃‍♂️ออกกำลังกาย - 🍲🍒ทานอาหารให้ครบหมู่ ดื่มน้ำให้ได้ 2,000c.cต่อวัน - 🧘‍♂️ทำสมาธิ - 😂อารมณ์ดีไม่โกรธง่ายมีความสุขได้ด้วยตัวเอง ♥️ก็จะไม่สั่นแล้วนะคะ ยกเว้นใครที่อาจจะมีโรคหัวใจอยู่เดิมแล้วก็ต้องไปหาคุณหมอแล้วนะคะ👨‍⚕️🩺
@utrain6821
@utrain6821 2 жыл бұрын
ติดตามตลอดครับ เป็นกำลังใจให้คุณหมอทำคลิปต่อๆไปนะครับ
@maisoongka
@maisoongka Жыл бұрын
❤ขอบคุณคุณหมอมากๆคะที่สละเวลามาให้ความรู้ดีๆ เป็นบุญที่สูงส่งมากคะ🙏🙏
@ณัฏฐ์ชนินทร์สมบูรณ์
@ณัฏฐ์ชนินทร์สมบูรณ์ 2 жыл бұрын
ตั้งใจฟังมาก...เพราะหัวใจเต้นเร็ว
@อภิชัยอินทรกลาง
@อภิชัยอินทรกลาง 2 жыл бұрын
ผมใจสั่นเต้นเร็วเต้นเกิน100ครั้งกินยาโพรพิโนลอลรักษาอยู่ครับ อาการดีขึ้นครับ
@nung-noppapat
@nung-noppapat 2 жыл бұрын
ขอบคุณ​ค่ะ​อาจารย์​🙏🥰 เป็น​ประโยชน์​มากค่ะสอนตำแหน่งของชีพจร👍🥰
@Betterworld233
@Betterworld233 2 жыл бұрын
หลังนาทีที่14รู้สึกลุ้นระทึก ใจสั่นตามไปด้วยเลยค่ะ อาจารย์เล่าเรื่องได้ชัดเจนสมเป็นแพทย์ด้านวิกฤตบำบัดจริงๆค่ะ คือช่วยชีวิตได้จริงๆ👍👍 เรียนสอบถามว่ายาลดน้ำมูกตัวใดบ้างที่ทำให้ใจสั่นได้คะอาจารย์ นี่ขนาดลงไม่ลึกต้องฟังซ้ำสองรอบเลยค่ะ🙏❤
@DrTany
@DrTany 2 жыл бұрын
ตัวที่มี pseudoephedrine ครับ
@atchapansar1784
@atchapansar1784 Жыл бұрын
คุณหมอคะ ก่อนหน้านี้มีอาการจุกๆแน่นๆ ไม่รุ้คิดไปเองรึป่าวนะคะ แต่เป็นนานๆที ยุๆมันจะจุกแน่นแป้บนึง แบบเป็นขึ้นมาเองแบบฉับพลันแล้วหายค่ะ แต่ช่วงนี้มันมีใจหวิวๆด้วยค่ะ บางทีหลับอยุ่ต้องตื่นเลยค่ะ ไม่กล้าไปหาหมอไม่รู้จะหาหมออะไร เพราะมีอาการท้องอืดด้วย+นอนไม่ค่อยหลับ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ผมก็ตอบไม่ได้ด้วยข้อมูลที่ให้มาครับ อย่างน้อยควรไปหาหมอทั่วไปแล้วเล่าอาการทั้งหมดให้ฟังก่อนแล้วก็ตรวจเบื้องต้นให้แน่ใจว่าไม่มีอะไรที่อันตรายครับ
@อารีรัตน์ชินคํา
@อารีรัตน์ชินคํา Жыл бұрын
ขออนุญาติคะคุณหมอ คือดิฉันฉีดยาลดอัตราการเต้นของหัวใจ ฉีดเข็มแรกไม่ลดลง ฉีดเข็มสองก็ไม่ลด แต่ในช่วงเข็มสองมีอาการปวดราวไปทั้งตัวปวดเอวชาไปทั้งตัว รวมมีอาการแนนหน้าอก แล้วพยาบาลจึงซ๊อตไฟฟ้าที่หน้าอก แล้วจึงกลับมาปกติ จึงขอถามคุณหมอว่าทำไม่ตอนนี้ดิฉันถึงปวดเอวและหลังไม่หายเลยคะ คุณหมอ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
น่าจะเพราะเตียง รพ หรือไม่ก็จากการที่กล้ามเนื้อเกร็งตอนที่โดนซ๊อตครับ
@คําพันธุ์จ้อยรุ่ง
@คําพันธุ์จ้อยรุ่ง 2 жыл бұрын
คุณหมอ อธิบายได้ดีมากๆค่ะ เข้าใจง่าย
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa 2 жыл бұрын
💥Premature ventricular contraction (PVC) 🔹คือ ภาวะหัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ 🔹ถือได้ว่าเป็นหนึ่งประเภทของโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ 🔹เกิดจากหัวใจห้องล่างเกิดการบีบตัวก่อนเวลาที่ควรจะเป็น 🔹อาจส่งผลให้ใจสั่น วูบ หรือรู้สึกหวิวๆ กระทบต่อการชีวิตประจำวันได้ 🔹ในรายที่เป็นรุนแรงอาจมีอาการเป็นลม หมดสติ บางรายอาจมีอาการเหนื่อยง่าย หรือเจ็บหน้าอก 🔹ภาวะหัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ ชนิด PVC สามารถรักษาได้ด้วยยา หรือการจี้ด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง ซึ่งจะทำให้หายเป็นปกติได้
@Ketusa_life
@Ketusa_life Жыл бұрын
สวัสดีค่ะะ อาจารย์หมอแทน🙏 ฟังคุณหมอแล้วได้ความรู้มากมายค่ะ กำลังมีอาการอย่างที่คุณหมอพูดเลยค่ะ ปกติไม่เคยใจสั่น แต่ถ้าเกิดมีอะไรที่ทำให้ตื่นเต้นก็จะมีอาการเป็นบางครั้ง แต่นานๆทีจะเป็นค่ะ ตอนนี้กำลังทำ IF ทานอาหารสองมื้อ/วัน ทำมาได้เดือนกว่าๆ มีอาการใจสั่นอย่างที่คุณหมอพูดค่ะ กำลังคิดอยู่ว่าจะไปพบคุณหมอประจำ เพื่อตรวจอาการ ได้ฟังอาจารย์แทนพูดแล้วเข้าใจเลยค่ะ ขอบคุณมากๆค่ะ 🙏❤ FC from PA.🇺🇸
@ฐิตารีย์สุขท่ากอ
@ฐิตารีย์สุขท่ากอ Жыл бұрын
เป็นอย่างคุณหมอว่าค่ะ ตอนไปหาหมออาการหายแล้ว ตรวจ EKG ปกติ
@djtim4273
@djtim4273 2 жыл бұрын
หนูทานยาไทรอยด์มา(ไทรอยด์เป็นพิษ)ได้6เดือนแล้วค่ะ บวกกับเป็นกรดไหลย้อนแพนิคด้วย อาการใจสั่นยังเป็นอยู่บ่อยๆ หนูจะหัวใจขาดเลือดหรือหัวใจวายใหมคะคุณหมอ😂😂
@DrTany
@DrTany 2 жыл бұрын
ก็ควรไปรักษาครับ
@ธนพรพัวพันธ์
@ธนพรพัวพันธ์ Жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากค่ะที่ไม่ลืมคนไทย
@สวยอําไพแจ่มดี
@สวยอําไพแจ่มดี 2 жыл бұрын
สวัสดีค่ะ คุณหมอแทน วันนี้คุณหมอมาในหัวข้อ ใจสั่นเกิดจากอะไร แก้ไขอย่างไรเมื่อไหร่ต้องไปโรงพยาบาล#ใจสั่น#จับชีพจร ป้าเพิ่งเลิกงานค่ะ มาชมมาแชร์มากดไลฟ์และได้ความรู้เยอะๆเลยขอบคุณน่ะค่ะคุณหมอสุขภาพดีมีสุขน่ะค่ะคุณหมอและน้องโรชี่ด้วยค่ะ🙏🏼♥️♥️♥️🥰ค่ะ
@Jariyaadee888
@Jariyaadee888 Жыл бұрын
ใจกระตุกเกิดจากอะไรค่ะหมอ🙏🙏✨🌷
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
หลายสาเหตุครับ รายละเอียดมีในคลิปครับ
@นัชชา-ต6ง
@นัชชา-ต6ง Ай бұрын
ขอบคุณค่ะ คุณหมออธิบายดีมากๆ
@SFung-hv2ov
@SFung-hv2ov 2 жыл бұрын
สวัสดีค่ะ คุณหมอแทน ความรู้และคำแนะนำในวีดีโอนี้มีประโยชน์ค่ะ คุณหมอยังอธิบายอาการเต้นของ🫀เปรียบเทียบให้ฟังด้วย👍เลยค่ะ อ่อ มีคำเตือน กับเทคนิคต่างๆอีกด้วย ขอบคุณค่ะคุณหมอ
@Phanita999
@Phanita999 Жыл бұрын
อาจารย์ขา เคยถามไปแล้วกลับมาฟังอีกเพราะอาการมันมากขึ้นวันก่อนช่วงเย็นเดินข้ามถนน ใจสั่นแบบ แทบจะทนไม่ไหว อยากจะนั่งข้างถนน เหมือนในคลิปเลยค่ะ เสียดายนึกว่ามันจะดีขึ้น จำไม่ได้ว่าถ้าดีขึ้นต้องหาหมอเดี๋ยวนั้น ตอนนี้ก็ยังมีอาการน้อยๆ บ่อยๆ แต่ก็ยังไม่เลิกกาแฟ 😅 โทษใครไม่ได้เลยนอกจากตัวเอง
@ubonwantukkeenoo3147
@ubonwantukkeenoo3147 Жыл бұрын
อยากคุยกับคุณหมอจังค่ะ หนูเป็นแบบที่คุณบอกเลยค่ะ ใจเต้น 100อัพตลอด สูง 139 ไปหาหมอแล้ว แต่หมอบอกว่าหัวใจปกติไม่พองโต ก็เลยให้ใส่นาฬิกาวัดหัวใจ หมอบอกว่าหนูอาจจะตื่นเต้นเวลาไปโรงพยาบาล มันเหนื่อยมากเลยค่ะ แทบทั้งวัน ใจกระตุกบ้างเป็นบางครั้ง
@pattaweraaoy3331
@pattaweraaoy3331 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ ใจสั่นตอนอยู่นิ่งๆแต่เวลาออกกำลังกาย ไม่ผิดปกติ ออกได้ถึงจุดพีค 160 ครั้งต่อนาที ผมเป็นแบบที่สอง ขึ้นมากระทันหัน และหยุดปุ๊บทันที จนตกใจว่ามันยังเต้นอยู่มั้ยล่ะนี่ คงต้องพบหมอแล้วครับ
@syrine2491
@syrine2491 2 жыл бұрын
แพ้อากาศก็ใจสั่นค่ะ หายใจไม่ออก หายใจติดขัด ร่างกายอ่อนล้า ไม่มีแรง ...ปกติไม่น่าเกี่ยวกับอาการแพ้ใช่ไหมคะหมอ แต่เป็นอย่างนั้น .... (ชีพจรของหมอมีเส้นเอ็นอยู่ 2 เส้นสีฟ้าเล็กกับสีฟ้าใหญ่..555 ค่ะ)
@famtv6813
@famtv6813 2 жыл бұрын
ขอบพระคุณอาจารย์มากค่ะ ที่ทำคลิบดีๆ ให้ความรู้เยอะมาก ติดตามทุกคลิบเลยค่ะ เป็นช่องคุณภาพแถมตอบคำถามตลอด ขอบคุณอาจารย์จริงๆ ค่ะ ขอให้อ.สุขภาพแข็งแรงนะคะ🙏
@user.Kankanthicha
@user.Kankanthicha 2 жыл бұрын
เป็นแพนิคกับซึมเศร้าใจสั่นมากค่ะ
@djtim4273
@djtim4273 2 жыл бұрын
เราเป็นไฮเปอร์ไทรอยด์กับกรดไหลย้อนแพนิคด้วยค่ะ ทำอะไรนิดๆหน่อยก็ใจสั่น😂
@RukPragasit
@RukPragasit 2 жыл бұрын
เป็นเพนิคเหมือนกัน เป็นกำลังใจให้คะ
@user.Kankanthicha
@user.Kankanthicha 2 жыл бұрын
@@djtim4273 เราก็ไฮเปอร์ไทรอยด์แต่ผ่าตัดแล้วมาเป็นแพนิคซึมเศร้าแถมลองโควิดอีกค่ะเกือบไม่รอด🤤🤤🤤
@djtim4273
@djtim4273 2 жыл бұрын
สู้ๆค่ะ
@sirirat2366
@sirirat2366 Жыл бұрын
คุณหมอค่ะ การตรวจคลื่นหัวใจ เราสามารถรู้โรคหัวใจแบบไหนได้บ้างค่ะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
แบบเต้นผิดปกติ หรือกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และอื่นๆ แต่จะต้องกำลังมีอาการในขณะตรวจถึงจะบอกได้ครับ
@kundao8049
@kundao8049 Жыл бұрын
1 นาทีหัวใจเต้นสม่ําเสมอประมาณ 100 102ต่อนาทีค่ะคุณหมอ
@Jin_789
@Jin_789 Жыл бұрын
💗💓เป็น​ความ​รู้​ที่​ดี​นะคะ​ขอบคุณ​ค่ะ​
@aruneethee8412
@aruneethee8412 Жыл бұрын
แอบกดถูกใจไว้ก่อนค่ะ ช่วงนี้เป็นบ่อยๆค่ะ ใจสั่นแล้วเหนื่อย ตั้งใจฟังอาจารย์ก่อนค่ะ
@thawanratowen9150
@thawanratowen9150 2 жыл бұрын
ขอบคุณจริงๆค่ะ 👍👍👍💌💌💌
@พรรษธรหอมฉุย
@พรรษธรหอมฉุย Жыл бұрын
ผมเคยใจสั่นครับ หมอตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ บอกอะไรสักอย่างนี่แหละ โปรแทสเซียมๆ
@ศิริวรรณรองสวัสดิ์
@ศิริวรรณรองสวัสดิ์ 2 жыл бұрын
คุณหมออธิบายละเอียดดีมากค่ะฟังแล้วเข้าใจค่ะ ขอขอบคุณอีกครั้งค่ะ🙏🙏🙏🙏🙏🙏👍👍👍👍👍♥️♥️♥️♥️♥️♥️🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭
@shepachill4608
@shepachill4608 7 ай бұрын
ใช้เครื่องวัดที่ปลายนิ้วแทนได้ไหมคะ เห็นตัวเลขค่อยๆ ขึ้น และค่อยๆ ลง ค่ะ
@DrTany
@DrTany 7 ай бұрын
ก็ได้ครับ แต่ต้องตีความได้ด้วยครับ
@shepachill4608
@shepachill4608 7 ай бұрын
@@DrTany ไม่ค่อยเข้าใจแต่ก็ขอขอบคุณคุณหมอมากค่ะ ทีมาตอบให้ คือตื่นมา จะค่อยๆ ขึ้นจาก 70 กว่าๆ ถึงเกือบ100 นั่งเฉยๆ สักพัก ก็ค่อยๆ ลงค่ะ จากนั้นใช้ชีวิตได้ตามปรกติ (บางทีก็ทำโน่นนี่รีบไปทำงาน ตอนพักจะวัดได้ 105 ) ไม่ทราบว่าเรากลัวเพราะแพนิคหรืออะไรกันแน่ แต่ก็เป็นแค่นั้น ทั้งวันไม่มีอาการใดๆ เป็นมา 3-4 วันแล้วค่ะ
@DrTany
@DrTany 7 ай бұрын
ถ้าอาการเข้าได้กับแพนิคก็เป็นแพนิคได้ครับ ผมเคยทำคลิปไปแล้วลองไปตรวจอาการดูครับ kzbin.info/www/bejne/jZ3Xhppme8uWnLssi=vcmAi2pvtvExJBtp
@shepachill4608
@shepachill4608 7 ай бұрын
@@DrTany ขอบคุณมากค่ะ คุณหมอตอบไว เก่งและ ใจดีๆ มากๆๆ
@kittikiewchawum634
@kittikiewchawum634 Жыл бұрын
ผมเดินระยะสั้น hart rate 140-150 หมอฉีดสีแล้วหมอแจ้งว่า หัวใจไม่ตีบมีไขมัน 10-30% หมอให้ทานยาลดไขมัน แต่หมอบอกไม่ได้ว่าเกิดอะไรขึ้นในช่วงเวลาที่เต้นสูง ตอนนั้นกลัวมากครับ ปัจจุบัน กินยาคุม hart rate แต่ยังอยากทราบว่าเราควรหาสาเหตุด้วยวิธีไหนครับคุณหมอ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ถ้าตรวจแล้วมีแค่นั้น สาเหตุก็คือ decondition ครับ ต้องออกกำลังกายเพิ่มเรื่อยๆ และทำสม่ำเสมอครับ
@mylifemylove5444
@mylifemylove5444 Жыл бұрын
หนูเป็นบ่อย ค่ะ ตรวจไม่เจอสาเหตุ จนวันนี้เลย อาการคือ เต้นไม่สม่ำเสมอ เหนื่อย หวิวๆ พอตรวจแล้วไม่เจอ ค่ะ มีเวียน มากๆด้วย เหงื่อออกมือ เท้า ตัวเริ่มเย็นค่ะ หมดสติเองคนเดียว บ่อยๆ ด้วย หาหมอทีไร ปกติ ปกติจนใครหาว่าแกล้งเป็น เป็นมาตั้งแต่อายุ 18 จนตอนนี้ 26 ยังหาทางให้รู้สึกดี ไม่ได้ พอหมดสติทีก็ถูกส่งโรงบาลที ไปถึงก็ หาเหตุไม่ได้ 24:54
@Nung.Ning1966_CR
@Nung.Ning1966_CR 2 жыл бұрын
พึ่เต้นไวมากค่ะ เต้นที 160up หมอบอกว่าเป็น SVT.ค่ะ
@วิยดาวงค์จินะ
@วิยดาวงค์จินะ 2 жыл бұрын
สวัสดีคะคุณหมอ
@สมภพไวย
@สมภพไวย 2 жыл бұрын
ต้นปีที่แล้ว ผมรู้สึกหัวใจเต้นแปลกๆ ไปตรวจ ekg(ตอนไม่มีอาการ) ปกติ(หมอแนะนำให้มาตรวจตอนมีอาการ) ซึ่งผมบอกหมอว่า เมื่อ 4 ปีก่อน ผมเคยวูบไป 3-4 วินาที ขณะอาบน้ำ(ที่รู้ว่า 3-4 วินาที เพราะผมถามภรรยาว่า เรียกผมกี่ครั้งก่อนที่ผมจะตอบ) หมอแนะนำต่อว่า ให้ไปตรวจ รพ.ตามสิทธิ์ประกันสังคม พอผมไป รพ. หมอไล่กลับบ้าน บอกให้ไปลดน้ำหนัก อาการที่ รู้สึกว่าหัวใจเต้นแปลกๆ เป็นถี่ขึ้นเรื่อยๆ และนานขึ้นเรื่อยๆ (ก่อนที่จะตรวจ ekg อีกครั้ง)รู้สึกหัวใจเต้นแปลกๆ ประมาณ 4 ช่วงใน 1 เดือน แต่ละช่วง จะติดต่อกัน 1-3 วัน แต่ละวันจะนาน 4-9 ชั่วโมง ในแต่ละนาที จะมีหัวใจเต้นผิดจังหวะ 4-19 ครั้ง ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ หมอบอก เป็นแค่ PAC ไม่อันตราย แต่ต้องไปตรวจอย่างอื่น เช่น ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ เพราะถ้าปล่อยไว้ อาจจะเป็นตัวนำ ของ AF ซึ่งการรักษาจะยุ่งยากขึ้น(ผมเลยบอกหมอมีนัดตรวจแล้ว แต่ติดสถานการณ์โควิด เลยเลื่อน นี่ก็ 2 ปีแล้วยังไม่ได้ตรวจ) ผมขอถาม ผมต้องไปหาตรวจอะไรเพิ่มไหม เพราะเคยวูบมาแล้ว(ผมเป็นโรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน)
@DrTany
@DrTany 2 жыл бұрын
ตรวจการนอนหลับครับ และตอนนี้ควรให้น้ำหนักมันปกตินะครับ เพราะมันคือวิธีรักษาเกือบทุกอย่าง
@maturoseintarapracha4639
@maturoseintarapracha4639 4 ай бұрын
ขอบคุณคะได้ความรู้ในการจับชีพจร
@pookpuir.9653
@pookpuir.9653 2 жыл бұрын
🙏🏻🙏🏻🙏🏻ขอบพระคุณมากเลยค่ะ ได้ความรู้เรื่องตำแหน่งชีพจร ปกติคลำมั่วๆไปก็เจอ😅😅😅 แต่หาชีพจรตรงข้อศอกยังคลำไม่เจอเลยค่ะ เรื่องใจสั่นตอนเด็กจะเป็นโดยเฉพาะตอนไปซนมาแล้วรู้ตัวว่าโดนตีแน่หัวใจเต้นตุบๆรัวๆเลยค่ะ😅😅
@อัจฉราอุณหเลขกะ
@อัจฉราอุณหเลขกะ Жыл бұрын
ขอบคุณมากๆค่ะ ตรวจตัวเองเบื้องพอได้ค่ะ
@สมศรีเกิดวิชัย
@สมศรีเกิดวิชัย Жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากๆๆค่ะจากใจจิรง
@auddypinkaew2672
@auddypinkaew2672 Жыл бұрын
คุณหมอให้ความรู้และความกระจ่างดีเหลือเกิน ทำเอ็คโค่ ซีทีสแกรน ตรวจคลื่นไฟฟ้า ทำทุกอย่าง อาการเจ็บปวดแน่นหน้าอกก็ไม่เคย มีแต่ใจสั่นบ้าง กระตุกสะดุดบ้าง ถามหมอหลายท่านก็ไม่เห็นบอกว่าเป็นเพราะเหตุใด ดีที่มาเปิดเจอคลิปหมอท่านนี้ กดติดตามทันที ขอบคุณมากครับคุณหมอ จะดูทุกคลิปเลยต่อไปนี้
@kritsadaeric2177
@kritsadaeric2177 11 ай бұрын
ผมเป็นเหมือนพี่เลยครับ ตอนนี้หายหรือยังครับ เหมือนเคยเห็นพี่ถามในพันทิปใช่หรือเปล่าครับ🙏
@RealmeBrand-mm1rn
@RealmeBrand-mm1rn Жыл бұрын
ขอบคุณอ.หมอมากๆค่ะที่ให้ความรู้อชอบฟังคลิปอ.มากๆ ค่ะและอยากให้มีคลิปให้ความรู้ตลอดไปเลยค่ะ
@nuimanu
@nuimanu 2 жыл бұрын
เรียนถามคุณหมอธานีครับ ทานยารักษาความดังสูง ตามแพทย์สั่ง ร่วมกับยาลดคอเลสเตอรอล แต่มีหลายครั้งที่เดินๆ อยู่กลับมีอาการหน้ามืด จำต้องนั่งและนอนราบกับพื้น ไม่มีอาการใจสั่น จนต้องเรียกรถไปโรงพยาบาล ปรากฏว่าวัดความดันพบว่าความดันต่ำผิดปกติ หมอให้ยาแก้อาการงุนงง และวิตามินบี คอมเพล็กซ์มาทาน ไม่ทราบว่าอาการดังกล่าวเป็นอันตรายมากไหม และเป็นผลสืบเนื่องจากยารักษาความดันโลหิตสูงหรือไม่ครับ
@DrTany
@DrTany 2 жыл бұрын
อาจเพราะยาความดันที่เยอะไปก็ได้ครับ
@maneeratwongboonrueang1434
@maneeratwongboonrueang1434 Жыл бұрын
คุณหมอค่ะ นู๋มีอาการใจสั่น มาแล้วประมาณ 2-3 ปี บางครั้ง จะมีอาการใจสั่น ตุ๊บๆๆๆๆๆๆ ประมาณ 3-5 วินาที แล้วหายเอง ครั้งล่าสุดมีอาการใจสั่นมาก ทำ EKG ได้ทัน อ่านเป็น SVT rate ประมาณ 190 คุณหมอแนะนำให้ จี้ไฟฟ้าหัวใจ เป็นการรักษาอันดับแรก กับกินยาพวกเบต้าบล็อกเกอร์ ให้นู๋เลือกแต่นู๋เลือกที่จะกินยาก่อน คุณหมอคิดว่านู๋ควรจะรักษาแบบไหนดีค่ะ เพราะนู๋กลัวการจี้ไฟฟ้าหัวใจค่ะ 😢
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ถ้ากินยาแล้วคุมอาการได้ดีก็ไม่มีปัญหาอะไรครับแต่มันก็จะต้องกินยาไปตลอดเช่นกันครับ
@ปราณีอรุณไพร
@ปราณีอรุณไพร 2 жыл бұрын
สวัสดีเจ้าคุณหมอขอบคุณเจ้า💞💞💞💞
@wilaipornkamabutara4451
@wilaipornkamabutara4451 2 жыл бұрын
หลังจากที่ป่วยโควิด (มี.ค.65) ประมาณ 2 เดือน เคยมีอาการใจสั่นแล้วหน้ามืดจะเป็นลม มือเย็น เหงื่อออก คลื่นใส้ อาเจียร โดยเป็นตอนเช้าระหว่างยืนแปรงฟันตอนเช้าค่ะ แต่ยังไม่หมดสติ ใช้วิธียืนนิ่งๆ หายใจลึกๆ สักพักก็ดีขึ้น รีบไปพบแพทย์ด้านโรคหัวใจ ได้รับการตรวจ ติดเครื่องวัดการเต้นของหัวใจ 1 คืน วิ่งสายพาน สรุปผลออกมาว่ามีหัวใจเต้นผิดปกติเล็กน้อย นานๆ ครั้ง ไม่รุนแรง คุณหมอบอกว่าน่าจะเป็นอาการของลองโควิด ประกอบกับมีโลหิตจางเนื่องจากการรับยารักษามะเร็ง ปัจจุบันก็ยังมีอาการใจสั่นบ้าง แต่เป็นไม่นานใชก็ใช้วิธีนั่งพัก หายใจลึกๆ แรงๆ ต่อไปคงเพิ่มการเบ่งตามที่คุณหมอแนะนำค่ะ ถ้ายังมีอาการแบบนี้อีก ควรไปพบแพทย์หัวใจ เพื่อตรวจเพิ่มเติมไหมคะ
@DrTany
@DrTany 2 жыл бұрын
ควรออกกำลังกายสม่ำเสมอครับ มันช่วยได้
@wilaipornkamabutara4451
@wilaipornkamabutara4451 2 жыл бұрын
ขอบพระคุณค่ะอาจารย์ จะพยายามออกกำลังกายตามคำแนะนำค่ะ เดิมก่อนป่วยโควิด ก็มีออกกำลังกายด้วยการว่ายน้ำ เล่นกอล์ฟ และเข้า fitness บ้างค่ะ แต่หลังป่วยโควิด ทุกอย่างหยุดหมดเพราะรู้สึกเหนื่อยง่ายมาก และคล้ายจะวูบบ่อยครั้งค่ะ
@noeynychannal9803
@noeynychannal9803 Жыл бұрын
คนหมอค่ะหัวใจเต้นเร็วจะเป็นเวลาเปลี่ยนท่าจากท่านอนเป็นท่านั่งหลังตื่นนอนตอนเช้าจากเต้น80เป็น135เกิดจากอะไรค่ะเป็นทุกวันเลยค่ะ กังวลมากค่ะ🙏🏻🙏🏻🙏🏻😥😥😥
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ส่วนมากเพราะหลายอย่างปนกัน เช่น ไม่แข็งแรงไม่ออกกำลังกาย มีอาการขาดน้ำ เลือดจาง พักผ่อนไม่พอ แต่ควรไปตรวจกับหมอหัวใจเลยครับ
@noeynychannal9803
@noeynychannal9803 Жыл бұрын
@@DrTany ตรวจคลื่นหัวใจ เอ็กซเร เเอคโคล่หัวใจ ตรวจทุกอย่างปกติค่ะ เเต่ที่คุนหมอกล่าวมาเปนทุกอย่างเลยค่ะ เเล้วมันจะเป็นอันตรายมั้ยค่ะคุนหมอ🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻
@noeynychannal9803
@noeynychannal9803 Жыл бұрын
@@DrTany ต้องเเก้ยังไงค่ะคุนหมอ🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻😥😥😥😥
@Minnie_Minnie123
@Minnie_Minnie123 8 ай бұрын
เป็นอยุ่ตลอดใจหวิวใจหวาม ใจเต้นช้าแค่50-57ตลอดค่ะ เป็นคนไม่ออกกำลัง บางทีรุ้สึกเหมือนใจกระตุกตุ้บๆๆแล้วหาย แน่นอกหายใจลำบากต้องอ้าปากหายใจ แทบทุกคืนนอนไม่ได้เลยค่ะ พอลุกหน้ามืด มึนงง ใช่โรครึเปล่าคะ จะไปตรวจที่บ้านบอกไม่เป็นไร
@DrTany
@DrTany 8 ай бұрын
น่าจะแพนิคครับ เป็นโรคทางจิตใจ ผมเคยทำคลิปไปแล้วครับ ต้องไปค้นดูครับ
@Minnie_Minnie123
@Minnie_Minnie123 8 ай бұрын
@@DrTany ขอบคุณหมอมากที่เสียสละเวลามาตอบคำถามนะคะ เป็นทั้งคืนกว่าจะได้นอน แย่มากๆ กินยาแก้ใจสั่นไป2-3รอบ ก็ยังเป็นอยู่เลยไม่แน่ใจ
@sanpatonggaming
@sanpatonggaming 2 жыл бұрын
ลองจับแล้วประมาณ 80/90 ตรงกับนาฬิกาเลยครับ ไม่มีอาการใจสั่นแต่แอบเต้นเร็ว อาจจะเป็นเพราะกินกาแฟ(ผมกินวันละ 2 แก้ว) สงสัยจะต้องได้เลิกกินแล้วครับ
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa 2 жыл бұрын
กาแฟวันละ 2 แก้วก็เยอะอยู่ค่ะ แนะนำค่อยๆลด และแนะนำดื่มแบบจิบทีละน้อยค่ะ และอย่าลืมว่า ไม่ใช่กาแฟอย่างเดียวที่มีคาเฟอีน น้ำอัดลม (ดื่มไหมคะ) เครื่องดื่มชูกำลังก็มีคาเฟอีนค่ะ
@sanpatonggaming
@sanpatonggaming 2 жыл бұрын
@@FragranzaTrippa ผมแค่กาแฟดำครับ 2-3 แก้ว ร้อน 1 บ่าย 1 บางวันเย็นอีก 1 วิ่งทุกวันๆ ละ 5 โล ใจเต้นเร็วแต่ไม่มีอาการผิดปรกติอะไรครับ เคยเล่นเน็ตไปเจอคลิปนึงบอกยิ่งใจเต้นเร็วยิ่งอายุสั้น เลยกลัวครับ เพราะถ้ามันไปแล้วไปเลยเหมือนที่หมอบอกในคลิป
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa 2 жыл бұрын
@@sanpatonggaming อ๋อ ค่ะ แนะนำลดปริมาณกาแฟลงให้เหลือสัก 1 แก้วต่อวันนะคะ
@ศิริวรรณรองสวัสดิ์
@ศิริวรรณรองสวัสดิ์ 2 жыл бұрын
สวัสดีค่ะ คุณหมอ🙏🙏🙏🙏♥️♥️♥️♥️🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭
@njnj1265
@njnj1265 5 ай бұрын
ตื่นกลางดึกรุ้สึกหัวใจเต้นเร็วใจหวิวๆมีอาการเหนื่อยร่วมด้วยครับ มันเป็นอะไรครับ
@DrTany
@DrTany 5 ай бұрын
ตอบไม่ได้ครับ แบบนั้นควรไปตรวจแล้วเล่าทุกอย่างที่ถามผมให้หมอที่ตรวจฟัง แล้วถามให้ละเอียดครับ
@kanomkitchen3348
@kanomkitchen3348 2 жыл бұрын
อิอิ มันมีสั่นสู้ กับ สั่นตาย 😂 ป้าวัย 67 มี NCD บางทีมันมีอาการ ใจหวิวๆโหว่งเหวง มันเหมือนหัวใจมันจะหยุดเต้น รู้สึกสักพัก ก็จะหายไป กลายเป็นจิต หลอนไม่อยากนอน กลัวไม่ตื่น หัวใจหยุดเต้น ระยะหลัง ป้าออกกำลังกาย กลางแจ้ง พร้อมฝึกโยคะแบบยืดเหยียด มาเกือบสามปี อาการ ก็ดูห่างๆ หายๆ ไป ทุกวันนี้ เวลาออกกำลังกาย ก็คอยระวังตัวเอง ตลอด อื่ม ยังไม่เคย จับดูการเต้น หัวใจของตัวเองสักที เครื่องวัดความดัน ก็มีตัวเลข ของชีพจร ก็เลย ไม่เคยคิด เรื่องนี้เลย ป้าเคย ตรวจวัดชีพจร 24 ช.ม มาหลายปีแล้ว 😀
@พรพิศบุญรักษา
@พรพิศบุญรักษา 2 жыл бұрын
ขอบคุณความรู้คะ เพราะมีอาการใจสั่นมือสั่นวันนี้เลยไปตรวจไทรอย ที่โรงบาลคะ รอฟังผลคะ
@patcharapornplongla7769
@patcharapornplongla7769 2 жыл бұрын
คุณหมอค่ะหนูขออนุญาติ สอบถามคือหนูเป็นไข้เลือดออกมาแล้วค่าตับอักเสบหนูเป็นกรดไหลย้อนสามารถทานยากรดไหลย้อนได้ไหมค่ะ
@DrTany
@DrTany 2 жыл бұрын
ได้ครับ
@patcharapornplongla7769
@patcharapornplongla7769 2 жыл бұрын
หนูขอบคุณคุณหมอมากค่ะ
@nalineedeedee662
@nalineedeedee662 2 жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอที่สละเวลามาอธิบายให้ฟัง อธิบายได้น่าฟังทุกคำ ข้ามไม่ได้เลยค่ะ มีประโยชน์สำหรับปชช.ทั่วไปมากๆเลยค่ะ ขอบุญกุศลดลบันดาลให้คุณมีสุขภาพแข็งแรงๆนะคะ🥰
@chalearmsrichitchong8598
@chalearmsrichitchong8598 10 ай бұрын
ขอบคุณที่ให้ความรู้ค่ะ
@prasert1980
@prasert1980 2 жыл бұрын
ห้วใจมันเต้นรัวๆๆๆ ตอนกังวล วิตกมาก เหมือนแพนิค ธรรมะไม่ช่วยอะไรเลย วิธีที่อาจารย์แนะนำจะได้ผลไหมครับ กลั้นแล้วเบ่ง เวลาอยู่บ้าน ความดัน หัวใจไม่ถึงร้อย พอไปโรงพยาบาล พอถึงคิวนางพยาบาลเรียก หัวใจผมจะระเบิด วัดความดันพุ่ง 150ตลอดเลยครับ
@DrTany
@DrTany 2 жыл бұрын
ควรพบหมอจิตเวชตอนนี้เลยครับ รักษาอาการแพนิคให้ดี อย่าปล่อยให้เป็นบ่อยๆครับ
@prasert1980
@prasert1980 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับอาจารย์ คุณหมอหู คอ จมูกที่ผมไปตรวจ ก็บอกว่าจะส่งผมไปพบจิตแพทย์ ผมก็ลังเล ผมคงต้องไปจริงๆแล้วครับ
@koraarchara5465
@koraarchara5465 2 жыл бұрын
ไม่ได้ลงลึก แต่มีประโยชน์ค่ะ ขอบคุณค่ะ 🙏👏👍
@pauleagle6281
@pauleagle6281 Жыл бұрын
ผมมีวิธีหาชีพจรที่คอ (hack เอาเอง ไม่ได้อยู่สาย health science) ..หันหน้าไปด้านซ้าย เอามือซ้ายคลำที่คอตรงใต้คาง จะเจอเส้นเอ็นขนาดใหญ่ที่ลงมาจากหูด้านขวา เลื่อนมือมาด้านในผ่านเส้นเอ็นนี้แล้วหันกลับหน้าตรง จะรู้สึกชีพจร คลำอีกข้างก็ใช้วิธีเดียวกันแต่หันไปคนละด้าน พอคลำชีพจรตัวเองได้ตามวิธีนี้ ก็คงพอรู้ตำแหน่งเวลาคลำชีพจรคนอื่น
@supavanitsathit9838
@supavanitsathit9838 2 жыл бұрын
คุณหมอค่ะ คือหนูสงสัยว่า เช่นคุณหมอหัวใจเต้นปกติ และคนที่เป็นหมอก็ไม่น่าจะตื่นเต้นเวลาไป รพ หรือ พบหมอ แบบนี้ คุณหมอจะทราบได้อย่างไรค่ะ ว่าเวลาคนไข้เล่าอาการว่า ใจสั่น รู้สึกหวิวๆ เย็นๆ / หรือ เหมือนคุณหมอที่เป็นผู้ชาย เวลาเล่าถึง การปวด ปจด ว่าปวดแบบนี้ ปวดหน่วงๆ คือ คนที่เป็นหมอจะเข้าใจได้อย่างไรค่ะ ว่า อาการพวกนี้ การปวดแบบนั้น มันเป็นยังไง ถ้าคุณหมอไม่เคยรู้สึกแบบนั้นมาก่อน ( อันนี้สงสัยค่ะ ว่าเวลาคนไข้พยามยามอธิบาย หมอต้องจินตนาการตามมั้ย เหมือนหมอไม่เคยเป็นลม เวลาคนไข้มาบอกอาการก่อนเป็นลม หมอจะต้องจินตนาการตามมั้ยค่ะ) ขอบคุณค่ะ:)
@DrTany
@DrTany 2 жыл бұрын
มันจะมีเซทคำถามที่เราตั้งให้คนไข้ตอบ แต่ถ้าตอบมาแปลกๆ เช่น ปวดนุ๊บๆ ปวดจี่ๆ พวกนี้หมอก็ต้องเดาครับ เพราะมันไม่มีคำแปลครับ
@supavanitsathit9838
@supavanitsathit9838 2 жыл бұрын
@@DrTany อ๋อ เจ๋งมากเลยค่ะ ขอบคุณค่ะอาจารย์ :)
@รุ่งราวัลณ์เมืองสองศรี
@รุ่งราวัลณ์เมืองสองศรี 3 ай бұрын
กรดไหลย้อนท้องอืดมีผลต่อการเต้นของหัวใจหรือไม่
@pariyakornbauer4164
@pariyakornbauer4164 Жыл бұрын
ขอบคุณมากๆค่ะสำหรับความรู้ดีๆ, รบกวนถามค่ะเพราะตัวเองเป็นอยู่บางทีนอนหลับตอนกลางคืนค่ะชีวิตประจำวันปกติทั่วไปอายุ48ไม่ดื่มน้ำอัดลมกาแฟดื่มเฉพาะตอนเช้าวันละหนึ่งแก้วดื่มน้ำเพียงพอต่อวันออกกำลังกายบ้างสุขภาพทั่วไปถือว่าดีเลยไม่เข้าใจว่าทำไมบางทีใจเต้นแบบเหมือนมีคนมาตีกลองหัวใจจะหลุดออกมาข้งนอกแต่แค่แป้บเดียว, ขอบคุณมากค่ะ
@DrTany
@DrTany Жыл бұрын
ตามในคลิปครับ สิ่งที่บอกมาไม่เพียงพอให้วินิจฉัยได้ ต้องมีรายละเอียดมากกว่านั้นครับ และถ้าไม่แน่ใจก็ควรไปตรวจครับ
@junjaratjramkrajang9568
@junjaratjramkrajang9568 Жыл бұрын
ขอบคุณคุคุณหมอมาฟังข้อมูลดีๆคะ
@1regina706
@1regina706 Ай бұрын
หัวใจเต้นเร็วตอนลืมตาตื่นนอน เกิดจากอะไรครับ อันตรายไหมครับ
@aitthipholkhonyai4066
@aitthipholkhonyai4066 2 жыл бұрын
มาดูคลิปคุณหมอหลาบคลิปแล้วได้ความรู้มากเลย ผมมีอาการใจสั่นเลยอยากรู้ว่าเป็นอะไร ไปหาคุณหมอตรวจแล้ว ก็ปกติ ไม่รู้ว่าเกิดจากติดเชื้อโควิดหรือป่าว อาการหลังหายป่วย มันมีอาการอึดอัด ไม่สบายในอก เป็นเหมือนเหมือนมันพริ้วๆ บางทีก็ปวดเค้นๆ เจ็บแปลบๆ เหมือนเข็มทิ้ม แล้วก็หายไป เจ็บหน้าอกแบบขัดๆ เหมือนซี่โครงขัดๆบิดแขนไปมาก็จะเจ็บขัดๆ มาถึงไหปลาร้าครับ บางครั้งหัวใจเต้นเร็ว ความคุมความคิดไม่ได้มันฟุ้งซ่านไปหมดครับ เหมือนจะตายรู้สึกปั่นป่วนไปหมด สติจะหลุดครับ จะเกี่ยวกับสมองไหมครับ
@DrTany
@DrTany 2 жыл бұрын
ถ้ามีใจสั่นก็ควรจับชีพจนอย่างที่ผมบอกไปครับ จดไว้เลยสั่นกี่ครั้งต่อนาที สม่ำเสมอหรือเปล่า ตอนที่สั่นทำอะไรอยู่ กินอะไรไป ฯลฯ ให้ละเอียดที่สุดแล้วแบบนี้มันมักจะวินิจฉัยได้ครับ ส่วนมากเวลาไปหาหมอมันไม่ได้สั่นดังนั้นหมอก็ต้องเดาเอาครับ ถ้าเดาผิดก็ไม่รู้เป็นอะไร ดังนั้นประวัติคนไข้สำคัญที่สุดครับ และแน่นอนถ้าคิดฟุ้งซ่าน หรือกินกาแฟ ไม่ได้นอน เครียดมาก อดข้าว พวกนี้ใจสั่นมันจะเป็นมากขึ้นครับ
@WARISsara-u7i
@WARISsara-u7i 6 ай бұрын
หมอค่ะแล้วถ้าขนาดหลับอยู่ หัวใจเต้นเร็วขึ้นมาจนรู้สึกได้ถึงขั้นตื่นกลางดึก
@DrTany
@DrTany 6 ай бұрын
ก็ไปตรวจการนอนหลับที่ รพ ดูด้วยครับ
РОДИТЕЛИ НА ШКОЛЬНОМ ПРАЗДНИКЕ
01:00
SIDELNIKOVVV
Рет қаралды 3,4 МЛН
Help Me Celebrate! 😍🙏
00:35
Alan Chikin Chow
Рет қаралды 70 МЛН
Life hack 😂 Watermelon magic box! #shorts by Leisi Crazy
00:17
Leisi Crazy
Рет қаралды 73 МЛН
ДЕНЬ УЧИТЕЛЯ В ШКОЛЕ
01:00
SIDELNIKOVVV
Рет қаралды 3,5 МЛН
เรื่องต้องรู้เมื่อหัวใจเต้นผิดจังหวะ (25-12-61)
44:10
รายการหนี้แผ่นดิน ช่อง TNN2
Рет қаралды 76 М.
РОДИТЕЛИ НА ШКОЛЬНОМ ПРАЗДНИКЕ
01:00
SIDELNIKOVVV
Рет қаралды 3,4 МЛН