เดิมพันรถแห่งอนาคตใครจะเป็นผู้ชนะ!! รถไฟฟ้า(BEV) VS รถไฮโดรเจน(FCEV) เทคโนโลยีไหนตอบโจทย์??

  Рет қаралды 53,805

Welldone Guarantee

Welldone Guarantee

Күн бұрын

Пікірлер: 186
@dum5855
@dum5855 2 жыл бұрын
ถ้ามองประสิทธิภาพด้านพลังงาน BEV เหนือกว่าเยอะ เพราะส่งไฟฟ้าไปตามสายตรงสู่บ้านและสถานีชาร์จ มีการสูญเสียน้อย สะดวกสบาย ไฮโดรเจน ต้องเอาพลังงานไฟฟ้ามาแยกน้ำ 39kWh/kg. และอัดเป็นไฮโรเจนเหลวอีก 12kWh/kg. แล้วยังต้องขนส่งไปยังสถานี เมื่อนำไปใช้จะได้พลังงานออกมา 33kWh/kg. ประสิทธิภาพเหลือแค่ 50-60% ในขณะที่ BEV ประสิทธิภาพสูงกว่า 70-80% ไฮโดรเจน เหมาะกับยานพาหนะขนาดใหญ่ที่ใช้เพื่อการขนส่ง มีต้นทางปลายทางและเส้นทางที่ค่อนข้างแน่นอน
@ekkacham
@ekkacham 2 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับข้อมูลครับ แล้วในโลกนี้ มีกี่โรงงานครับที่ผลิตไฮโดรเจนได้
@dum5855
@dum5855 2 жыл бұрын
@@ekkacham รง.ผลิตไฮโดรเจนมีเยอะครับ ในไทยเราก็มี แต่เกือบทั้งหมดยังเป็นกระบวนการแยกมีเทน CH4 ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ซึ่งมีการปล่อยคาร์บอนจึงไม่ใช่ กรีนไฮโดรเจน อย่างที่เราต้องการ
@ประดิภาสแขกรัมย์
@ประดิภาสแขกรัมย์ 2 жыл бұрын
@@dum5855 ไม่มีอะไรกรีน100%หรอกครับ ไฟฟ้าที่เราใช้ทุกวันนี้ก็ไม่กรีนครับ
@supmango1627
@supmango1627 2 жыл бұрын
ไฮโดรเจนจะสะดวก ถ้าสามารถผลิตได้ตามบ้านทั่วไป ไฮโดรเจนสามารถเอาไปแทนได้แม้กระทั่งแก๊สหุงต้ม ปัญหาคือถังเก็บบรรจุราคาเท่าไร มาตรฐานความปลอดภัยเป็นยังไง คนทั่วไปยังไม่สามารถรู้อะไรได้เลย ต้องไปดูคลิปที่พวกฝรั่งเค้าทำ แต่ฝรั่งพวกนั้นก็แค่เพิ่งเริ่มเอง
@bomsqwe1873
@bomsqwe1873 2 жыл бұрын
@@supmango1627 คิดว่าเหมาะสร้างโรงไฟฟ้ามากกว่าเช่น พลังงานน้ำ ลม แสง ที่ผลิตเกินนำมาเก็บไว้ในรูปแบบไฮโดรเจน และนำมาใช้ช่วงที่ผลิตกำลังไฟฟ้าไม่พอ โครงการที่จีนกำลังสร้างอย่างใหญ่เลยครับโรงไฟฟ้าพลังงานไฮโดรเจน ผมว่าปลอดภัยกว่านำชิ้นส่วนแต่ละชิ้นมาลดขนาดเพื่อใส่ในรถคันเล็กๆ การบำรุงรักษาโรงไฟฟ้าน่าจะง่ายกว่าครับ
@Inthaphong
@Inthaphong 2 жыл бұрын
ขอบคุณคุณเวลสำหรับข้อมูลดีๆ ฟังคุณเวลแล้วผมมีความเห็นว่ายังไงรถยนต์นั่งส่วนบุคคลก็ต้อง EV พลังงานไฟฟ้า ส่วน Hydrogen นี่ความคิดส่วนตัวคิดว่ายาก ไฟฟ้าทุกบ้านมีแล้วจะไปแสวงหาปั๊มไฮโดรเจนทำไมอีก
@madhros6592
@madhros6592 2 жыл бұрын
ทำคลิปออกมาได้ดีคับ จัดเรียงข้อมูล พูดกระชับ ข้อมูลชัดเจน ฟังเข้าใจง่าย เป็นกำลังใจให้คับ ส่วนตัวคิดว่ายังไง EV เหนือกว่าไฮโดรเจนหลักๆก็คือราคาต่อกิโลเมตรนี่ละ ต่าง 10 เท่าตัวเลย
@iskomaxmin
@iskomaxmin 2 жыл бұрын
ในวงการรถบรรทุกขนาดใหญ่ ผมว่ารถไฮโดรเจนจะเป็นที่นิยม
@ipatricktaos
@ipatricktaos 2 жыл бұрын
ผมมองว่าถ้าเราจะย้ายจากน้ำมันมาไม่ควรไปผูกขาดกับพลังงานทางใดทางหนึ่งเลยมไม่งั้นก็อิหรอบเดิม ผมมองว่ารถยนต์ส่วนตัวเป็นไฟฟ้าแน่นอน แต่ภาคขนส่งไฮโดรเจนเหมาะกว่าครับ
@MyHobbyDIY
@MyHobbyDIY 2 жыл бұрын
ส่วนตัวผมชอบพลังงาน Hydrogen เพราะปลายทางแล้วโฮโดรเจนจะเป็นพลังงานสะอาดกว่าไฟฟ้าและแบตเตอรี่ และเชื่อว่าในอนาคตจะมีการพัฒนาต่อ ลองคิดดูถ้าเรามีซุปเปอร์ Hydrogen converter ใส่ในรถ เปลี่ยนน้ำเป็น Hydrogen แล้วเก็บไว้ในถังเล็กๆถังเดียว แล้วเอาโฮโดรเจนไปผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าปั่นมอเตอร์ต่อ วนกันแบบนี้ไปเรื่อยๆ ไม่ต้องมีแบตเตอรี่ เราผู้ใช้งานก็เติมน้ำเป็นเชื้อเพลิง น่าจะสะดวกกว่ารถไฟฟ้าปัจจุบันแน่นอน 👍
@HItoonly
@HItoonly 7 ай бұрын
ราคานี้ สิ ต่างกัน 10เท่าเลยนะ 0.5 บาทกับ 5 บาท ถ้า 1 ปีขับ 40000โล 2หมื่น กับ 2 แสนเลยนะ ค่าซ่อมบำรุงที่มากกว่าอีก
@tangmotalok6494
@tangmotalok6494 2 жыл бұрын
ข้อมูลน่าจะคลาดเคลื่อนนิดนึงนะครับ BEV คือเก็บไฟฟ้าไว้ในเซลล์แบตเตอร์รี่ FCEV คือเก็บไฟฟ้าไว้ในรูปแบบแก๊สไฮโดรเจน ทั้ง 2 แบบคือรถยนต์ไฟฟ้าทั้งคู่แค่ชนิดตัวเก็บไฟฟ้าต่างกัน
@WelldoneGuarantee
@WelldoneGuarantee 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@ประพันธ์วิชัย
@ประพันธ์วิชัย 2 жыл бұрын
เปนแบบคุนดอลว่าคับ
@nuttaputboonmak151
@nuttaputboonmak151 2 жыл бұрын
เก็บไฟฟ้าไว้ในก๊าซ ว๊ายยยยตายแล้ววว หัวจะปวด มีลูกอย่าสอนลูกมีหลานอย่าสอนหลาน เค้าแยกชนิดรถจากพลังงานที่เติม!
@ประพันธ์วิชัย
@ประพันธ์วิชัย 2 жыл бұрын
@@nuttaputboonmak151 ใช่ครับ เทคโนโลยีเชลล์เชื้อเพลิงมีมานานแล้วสมัยก่อนเขาใช้กำเนิดไฟให้ยานอวกาศได้น้ำไวดื่มสำหรับนักบินและที่สำคัญคือเชลล์เชื้อเพลิงให้พลังงานมากกว่าแบตเตอรีนะจ๊ะ
@badbaddy
@badbaddy 2 жыл бұрын
เซลล์เชื้อเพลิง เป็นการผลิตไฟฟ้าจากปฏิกิริยาเคมีของธาตุ 2 ธาตุ ที่นิยมคือ ออกซิเยนกับไฮโดรเจน
@assassinate9999
@assassinate9999 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับพี่เวล เป็นข้อมูลที่ยอดเยี่ยมมากครับ เห็นด้วย 100% ครับ มีอีกข้อนึงที่เป็นจุดสังเกตุครับ คือความยืดหยุ่นในการออกแบบถังบรรจุไฮโดรเจนนั้น ปัจจุบันยังไม่สามารถออกแบบให้เป็นไปในลักษณะอื่นได้ นอกจากเป็นแทงค์ทรงแคปซูน แล้วก็มีขนาดใหญ่มากด้วย กินพื้นที่ค่อนข้างเยอะ ส่วนแบตฯ ตอนนี้ สามารถพัฒนาให้เล็กลงไปได้อีก แถมพื้นที่ต่อ Pack ก็น้อยมากครับ
@anuchaza6251
@anuchaza6251 2 жыл бұрын
เมื่อก่อนผมก็ชอบรถไฟฟ้านะ แต่ถ้ามองจริงๆแล้ว รถไฮโดรเจนจะสร้างมลพิษน้อยกว่า ใช้ครับรถไฟฟ้าไม่สร้างมลพิษ แต่ถ้ามองดีๆ การทำเหมืองแร่ทำให้สิ่งแวดล้อมพังสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ผลกระทบมันร้ายแรงกว่า รถน้ำมันอีก ถึงจะไม่เป็นวงกว้างเท่ารถน้ำมัน ถึงจะไม่เป็นผลกระทบต่อประเทศเรา แต่ประเทศจีนก็ไปลงทนการทำเหมืองแร่ตอนเหนือของประเทศพม่า ทำให้คนที่นั้นเดือดร้อน ต้องโดนทหารขับไล่ ถิ่นที่อยู่เก่าต้องย้ายที่อยู่ใหม่
@Fahseabule0662
@Fahseabule0662 2 жыл бұрын
หัวข้อ"รถแห่งอนาคต..." ก็เปรียบเทียบข้อมูลที่เป็นอนาคตสักนิดครับ ที่กล่าวถึงส่วนมากเป็นข้อมูลปัจจุบัน เช่นจำนวนสถานีเติม H2&charge นอกจากจำนวนควรลงรายละเอียดนิดว่า 1 สถานีเติมไฮโดรเจน (ถ้าเทียบที่ว่ารถทั้งสองวิ่งได้ 600 km.เท่ากัน) ในเวลาเท่ากันเช่น 1 ชม. ถ้าจำนวนหัวจ่ายเท่ากัน จะเทียบเท่าว่าต้องมีสถานีชาร์จไฟฟ้า กี่สถานนี มันอาจไม่ต้องเย๊อะเท่ากันแต่รองรับรถได้เท่ากัน เป็นต้น ผู้ฟังจะได้ข้อมูลที่เป็นกลางๆจริงๆครับ
@dajinxuan8795
@dajinxuan8795 2 жыл бұрын
มีความเหมาะสม ดี เสีย ตามรูปแบบการใช้งาน
@settapongporfa1194
@settapongporfa1194 2 жыл бұрын
ถามพี่เวล ครับ ถังแก้ส lpg NGV จะมีการเปลี่ยนทุก 7 ปี 5 ปี ถังไฮโดรเจน กี่ปีเปลี่ยนถังครับ เพราะมันมีความดันสูงย่อมมีอันตรายจากการใช้งานนานปี
@boon2517
@boon2517 2 жыл бұрын
วันนี้มีข่าวเด็กเสียชีวิตในรถโรงเรียน ครับ ถ้าเป็นรถเทสล่า น่าจะป้องกันความสูญเสียได้ อยากให้ทำกรณีศึกษาเรื่องนี้เพื่อป้องกันความสูญเสีย ครับ
@abcssoso1027
@abcssoso1027 2 жыл бұрын
ผมวางเดิมพันไว้ที่ไฮโดรเจนครับ เพราะรถไฟฟ้า แร่ที่ทำแบตเตอรี่อาจจะขาดแคลน ส่วนไฮโดรเจนมีตลอดกาลไม่มีวันหมด ระยะยาวไฮโดรเจนได้เปรียบครับ
@therddhamkhamsiri9966
@therddhamkhamsiri9966 2 жыл бұрын
การพัฒนาเทครโนโลยี ของแบตเตอรี่ น่าจะมีความต่อเนื่องและกว้างขวางและหลากหลายได้มากกว่า ตราบใดที่แหล่งพลังงานไฟฟ้ายังมีมากเพียงพอ และถ้าแบตเตอรี่พัฒนาจนมีความจุระดับ 1kW/kg แถมใช้เวลา charge 20-80% น้อยกว่า 15 นาที สิ่งที่มองว่าเป็นข้อจำกัดแบตเตอรี่ของ รถEV ก็จะหมดไป ซึ่งน่าใช้เวลาอีกไม่เกิน 15-20 ปี แถม hydrogen ก็ดูเหมือนระเบิดเคลื่อนที่อยู่ดี ถ้ายังใช้เทคโนโลยี การจัดเก็บในลักษณะที่เป็นของเหลวที่บีบอัดความดันอยู่ เทคโนโลยีในการจัดเก้บ วัตถุไวไฟอย่าง H2 ก็ยังไม่น่าใช้ต้องรอการจัดเก็บในลักษณะอื่นๆ ที่จะไม่รั่วไหลจากการจัดเก็บที่ต้องใช้แรงดันสูงเสียก่อน H2 มิฉะนั้น อาจเกิดอันตรายขนาดใหญ่จากการระเบิด เพราะการรั่วไหลและมีประกายไฟได้อย่างง่ายได้
@PaLaLobPoP
@PaLaLobPoP 2 жыл бұрын
ต้องดูเรื่องจุกจิก อันไหนต้งเสียค่าเซอวิสอะไรบ้าง
@ritthome8542
@ritthome8542 2 жыл бұрын
มั่นใจครับ รถไฟฟ้าชนะ เพราะจะพัฒนาไประบบแม่เหล็กได้ครับ
@TheLungNuad
@TheLungNuad 2 жыл бұрын
H2 ชวนให้นึกถึง พลังงานขับเคลื่อน ที่เติม NGV LPG อารมณ์ ประมาณนั้น...จริงๆ ตามคลิปเลย เชิงพาณิชย์ ขนส่งสาธารณะ H2 น่าจะเหมาะ ส่วน EV ก็รถส่วนบุคคล
@xyty1953
@xyty1953 2 жыл бұрын
คิดว่าพบกันครึ่งทาง เป็นแบบผสม ถ้าในอนาคต พัฒนาตัวเก็บประจุแบบคาร์ปาซิเตอร์จากแกร์ฟีน ระบบไฟฟ้า คงบูมมากกว่านี้ ต่อไป ระบบเซลล์เชื้อเพลิง อาจเป็นระบบปิด
@wwo2308
@wwo2308 2 жыл бұрын
น่าจะ พัฒนา เครื่องยนต์ เร่งปฏิกิริยาที่ ใช้แก๊ส H2 รวมตัวกับแก๊ส O แล้ว ปลดปล่อย พลังงาน ออกมา เพื่อใช้ขับเคลื่อน ล้อโดยตรง และไม่ต้องใช้ มอเตอร์ไฟฟ้า
@com-fc3mn
@com-fc3mn 2 жыл бұрын
มีข้อมูล subaru หรือ toyota ที่เขาผลิต EV รุ่นหนึ่ง แล้วใช้พาทแชร์กัน อยากรู้ว่า toyota รุ่นนั้นใช้ระบบขับเคลื่อนแบบแกนสมมาตรของ subaru ไหมครับ
@Akatsuki.1774
@Akatsuki.1774 Жыл бұрын
อยากให้เทียบรถ evกับ รถ ติด NGv กับ Lpg ที่มีอยู่แล้วในตลาดด้วย อันไหนประหยัดกว่าระยะยาว
@masterblackink736
@masterblackink736 2 жыл бұрын
สำหรับรถบรรทุก ขนาดใหญ่ 10 ล้อขึ้นไป plug in hybrid น่าจะประหยัดและเพิ่มแรงบิดแรงม้าได้ดีสุด ณ ตอนนี้ พลังงานไฮโดรเจนมีขั้นตอนของการกลั่นและนำมาใช้กับรถเยอะกว่าไฟฟ้า ต้นทุนแพงค่าบำรุงรักษาแพง
@mtmasteroftalk5044
@mtmasteroftalk5044 2 жыл бұрын
รอสัก10ปี ให้ solid state batt มาก่อน ตอนนั้นไฮโดรเจนอาจจะสู้ไม่ได้
@สินธรแก้วกนก
@สินธรแก้วกนก 2 жыл бұрын
เดี๋ยวคุณจะหงายหลัง เพราะว่ามันจะมาเร็วกว่าที่คุณคิด
@chillchill9653
@chillchill9653 2 жыл бұрын
ต้นทุนต่อลิตรไฮโดรเจน อยู่เท่าไหร่ครับ
@batmanfiery7829
@batmanfiery7829 2 жыл бұрын
ผมชอบทุกคลิปนะครับ แต่ติดแค่อย่างเดียว ขอแค่ 🐒กะ ⛵ ไม่สลับกัน จะดีอย่างมากเลยครับ ขอบคุณล่วงหน้าครับ
@ninepokpokpok
@ninepokpokpok 2 жыл бұрын
ต่อไป ก็เอา เทคโนโลยีล่าสุดของทั้ง 2 มารวมกัน ต่อยอดไป ไม่สิ้นสุด
@sharkycivil7573
@sharkycivil7573 2 жыл бұрын
ราคาไฮโดรเจนลิตรละเท่าไหร่ครับ
@KatzKatsune
@KatzKatsune 2 жыл бұрын
ผมสงสัยครับ ว่า เอาไฮโดรเจนออกจากน้ำเยอะๆ จะทำให้น้ำหมดได้รึเปล่าครับ
@eggwving8723
@eggwving8723 2 жыл бұрын
ชัดเจนมากครับพี่เวล ว่าอะไรได้ไปต่อหรือไม่ได้ไปต่อ GG ไฮโดรเจน
@minote9495
@minote9495 Жыл бұрын
การใช้พลังงาน รถยนต์ขนาดใหญ่ ต้องใช้กับไฮโดรเจน ขับคลื่นไฟฟ้า ส่วนรถยนต์ขนาดเล็ก ต้องใช้กับแบตเตอรี่ เป็นรถที่ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าเหมือนกัน รถบรรทุกขนาดใหญ่ ใช้แรงในการบรรทุก ส่วนลดขนาดเล็ก ไม่ต้องใช้แรงมาก
@ณัฐวุธสุวรรณเวลา
@ณัฐวุธสุวรรณเวลา 2 жыл бұрын
แค่รอเทคโนโลยีแบตเตอรี่ ไฮโดรเจนก็จะเป็นพลังงานโง่ๆเหมือนที่ฮีลอนกล่าวไว้ ทำเพื่ออะไรถ้าราคาต่อกิโลแพงขนาดนั้น
@MrEeed8888
@MrEeed8888 2 жыл бұрын
เคยเห็นคนไทย ทำรถเติมน้ำ แปลงเป็น ไฮดรอเจน แล้ววิ่งได้ น่าสนับสนุนไม่ต้องตั้งสถานีไฮดรอเจน ไม่รู้ไปถึงไหนแล้ว
@เยาวลักษณ์ดาโรจน์
@เยาวลักษณ์ดาโรจน์ 2 жыл бұрын
ถ้าแบตเตอรี่ในอนาคตอันใกล้ สามารถทำให้รถวิ่งได้ไม่ต่ำกว่าพันโล แล้วก็แบตเตอรี่ควรมีอายุสักสิบปี รถไฮโดรเจนที่มีระบบการทำงานค่อนข้างซับซ้อนก็คงไม่มีความจำเป็น.
@neoflynow1130
@neoflynow1130 2 жыл бұрын
นี่แค่เฟสแรกๆ เฟสต่อๆไปให้จินตนาการว่า อาจจะมีระบบผลิตพลังงานติดตั้งอยู่ในตัวรถอยู่แล้วเปลี่ยนปีละหน จินาคารว่าจะสนุกขนาดไหน
@พุทธิพงศ์อินทร์อ้น
@พุทธิพงศ์อินทร์อ้น 2 жыл бұрын
ดีมากเวลชัดเจน 👍🙋‍♂️
@tomarmmylong684
@tomarmmylong684 2 жыл бұрын
ผมว่าจีนคิดถูกแล้วครับ ที่เอารถไฮโดรเจนมาใช้เชิงพาณิชย์ มีรถหัวลาก ยี่ห้อโตโยต้าไหมครับ
@cherdchupongkanjanamusik5914
@cherdchupongkanjanamusik5914 2 жыл бұрын
ใช่ครับมีดีทั้งคู่ แต่คนที่มีทุนหนาจะได้ของไฮเทคไป คนทั่วไปก็จะใช้ของพื้นๆ
@adulwitduangdee3894
@adulwitduangdee3894 2 жыл бұрын
ต้นทุนการผลิตไฮโดรเจนมันสูงมาก
@chy5307
@chy5307 2 жыл бұрын
แบบไหนที่จะได้รับความนิยม ต้องมี 1/ ค่าใช้จ่ายบาท / กม 2/ ราคาซื้อรถยนต์ 3/ ค่าบำรุงแลรักษาต่อระยะทาง 4/ ความสลับซับซ้อนของเครื่องยนตร์ 5/ ระยะทางที่วิ่งได้ต่อการเติมเต็ม 7/ อันตรายต่ำกว่า 8/ สถานีเติมพลังงานเชื้อเพลิง
@kaeloveyou1
@kaeloveyou1 2 жыл бұрын
ไฮโดรเจน (Hydrogen) มีสถานะ เป็นอโลหะ ซึ่งมักจะกลายเป็นไอ อะตอมที่หยดน้ำ = 5.01 x 10 21 อะตอม หรือมี อะตอม ประมาณ 5 พันล้านในหยดน้ำ อีกอย่าง ไฮโดรเจนยังเป็นสารประกอบกับธาตุอื่น เช่น น้ำ 1มวล (ธาตุไฮโดรเจน (H) 2 อะตอม และออกซิเจน (O) 1 อะตอม รวมกันเป็นน้ำ (H2O) 1 โมเลกุล) อะตอมที่หยดน้ำ = 5.01 x 10 21 อะตอม หรือมี อะตอม ประมาณ 5 พันล้านในหกนึ่ง หยดน้ำ หรือ สารประกอบอินทรีย์ เพราะตัวอะตอมเป็นกลางจึงเข้ากับธาตุอื่นได้ดี เมื่อเห็นอะตอม ไฮโดรเจน กับ ออกซิเจนแล้ว เราจะรู้ได้อย่างไรว่า น้ำเท่าไร แยกแล้วจะได้ไฮโดรเจนเท่าไร ตามความรู้แบบบ้านๆ ก็คือ น้ำสามสิบลิตร แยกแล้ว อาจจะได้ไฮโดรเจน เป็นก๊าซ ที่มีน้ำหนักประมาณ หนึ่งลิตร การแยกเพื่อเอาไปใช้งาน ก็มี 2แบบ คือ แบบที่หนึ่ง. กระบวนการแยกน้ำด้วยไฟฟ้าแบบแอลคาไลน์ (Alkaline Electrolyzers) เป็นกระบวรการแยกที่ใช้อุปกรณ์ค่อนข้างถูกหาง่าย อุปกรณ์บางชนิดใช้ทดแทนกันได้ แบ่งเป็นสองแบบ ๑. แบบขั้วเดียว (Unipolar) ได้ไฮโดรเจนได้ง่าย ๒. แบบขั้วคู่ (Bipolar) ใช้อุปกรณ์ค่อนข้างเยอะ แบบที่สอง. อิเลคโตรไลต์โพลีเมอร์ของแข็ง (Solid Polymer Electrolyte (SPE)) แบบนี้จะได้ไฮโดรเจนที่บริสุทธิ์มากที่สุด แต่ต้องใช้อุปกรณ์แยกที่ราคาแพงมาก จึงนิยมผลิต ไฮโดรเจน ครั้งละมากๆ ในที่เดียว ไฮโดรเจนที่แยกได้ก็มีหลายรูปแบบ เพื่อนำไปใช้ในแต่ละงาน ไฮโดรเจนบีบอัด ใช้การจุดระเบิด ในเครื่องยนต์ ไฮโดรเจนเหลว ใช้ในการขับเคลื่อนเครื่องยนต์จรวจ โคลนไฮโดรเจน ใช้ในการวิจัย ไฮโดรเจนแข็ง ใช้ในอุสาหกรรม โลหะไฮโดรเจน ใช้ในการทดลอง จะใช้รถอะไรหากใช้ถูกวิธีถูกทาง ผมว่ามันก็ประหยัดได้ทั้งนั้นครับ ทุกพลังงานแปรผันไปเป็นพลังานอื่นได้เสมอ (หากไม่ยึดติดผลประโยชน์การค้ามากเกินไป) #น้ำมัน ก็กลั่นได้จากพืชหลายชนิด หากจะปลูกแล้วกลั่นกันแบบจริงจัง เห็นได้ง่ายก็จากปาล์ม #ไฟฟ้า ก็มาจากแสงแดด แสงยูวี แสงๆๆๆ จากไดซ๊าต จากแรงดันน้ำ #ไฮโดรเจน ก็มาจาก น้ำ หรือ พวกอินทรีย์สาร แยก สกัด ออกมาได้ตลอด
@ประดิภาสแขกรัมย์
@ประดิภาสแขกรัมย์ 2 жыл бұрын
ไฮโดรเจน ตก 5 บาทต่อกิโล น้ำมันตก 2-3บาทก็ว่าเเพงเเล้ว 5 บาทใครจะซื้อครับ 😂😂😂😂
@PYT.Amulet
@PYT.Amulet 2 жыл бұрын
ต้นทุนถูกไฮโดรเจน แค่นำน้ำและไฟฟ้ามาผลิตไฮโดรเจน แต่มีของเสียไวไฟมาก แต่ไฟ้าต้นทุนสูงกว่าแต่ปลอดภัย
@weerapongjaimeepak2961
@weerapongjaimeepak2961 2 жыл бұрын
ไฟฟ้าชนะทุกอย่างเสียอย่างเดียว คือใช้เวลาชาร์จ แต่นิสัยคนเราชอบความรวดเร็ว ถึงจะใช้ทุนมาก แต่สุดท้ายผมว่า นิสัยของมนุษย์ไฮโดเจนอาจมาแทนอยู่ดี
@tawansawangsri9086
@tawansawangsri9086 9 ай бұрын
เอาง่าย Investment cost / Operation cost / Mantenance cost . / Safety เป็นเครื่อง ตัดสินใจ อย่าไปตามกระแส
@thaninlokeskrawee2930
@thaninlokeskrawee2930 2 жыл бұрын
สรุปได้ดีมากครับ
@krergjittarat5963
@krergjittarat5963 2 жыл бұрын
Fuel cell ของไฮโดรเจนใช้แพตตินัมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ราคาแพงมากเมื่อเทียบกับแบตเตอรี่ จึงทำให้รถราคาแพงมาก
@pattana915
@pattana915 2 жыл бұрын
เออ! น่าสนใจ
@methaasi4097
@methaasi4097 2 жыл бұрын
ไฮโดรเจนสามารถทำเป็นสันดาปภายในได้ แต่ก็ไม่เห็นข่าวว่ามีใครทำ เห็นแต่ Fuel Cell ใครเคยเห็นก็บอกกันด้วย ตอนนี้ยังฟันธงได้ยากว่าแบบไหนดีกว่า แต่ส่วนใหญ่ยังเห็นว่า รถยนต์ขนาดเล็กใช้แบตดีกว่า หัวลากมีบางเจ้าบอกว่าหัวลากจะใช้ไฮโดรเจนดีกว่า ไว้รอดูจีนว่าจะเป็นยังไง เห็นว่าจีนจะใช้ไฮโดรเจนในรถบรรทุก
@dum5855
@dum5855 2 жыл бұрын
ประสิทธิภาพในการเปลี่ยนรูปพลังงานมันต่ำครับ ชิ้นส่วนเยอะ ต้องมีระบบเผาไหม้ หล่อลื่น มีการสึกหรอและต้องบำรุงรักษา เมื่อเทียบกับการใช้ Fuel Cell แปลงเป็นไฟฟ้าขับเคลื่อนมอเตอร์จะได้ประสิทธิภาพสูงกว่า
@mtmasteroftalk5044
@mtmasteroftalk5044 2 жыл бұрын
@@dum5855 ผมว่ารอ solid state batt อีกหน่อย ไฮโดรเจน ผมว่าสู้ไม่ได้
@เผด็จการจงพินาศประชาชนจึงเจริญ
@เผด็จการจงพินาศประชาชนจึงเจริญ 2 жыл бұрын
โตโยต้าทำอยู่ไงใช้ไฮโดรเจนจุดระเบิดแทนน้ำมัน เจาใช้ในรายการแข่งขันรถ
@pterapathana
@pterapathana 2 жыл бұрын
Point มันอยู่ที่ ลิเทียมหรือวัสดุ ทำแบตมันมีเยอะเหลือเฟือ? ประเทศเจริญแล้วเค้ามองไกล ไม่แน่อนาคตเราอาจมีเครื่องแยกแก๊สตามบ้าน ก็เป็นไปได้ ไฮโดรเจน ถ้าทำได้ยั่งยืนกว่าแน่นอน
@สุนทรเพชรแสง
@สุนทรเพชรแสง 2 жыл бұрын
เทียบความคุ้มค่าต้องไฟฟ้าคับ
@junyabeaw2429
@junyabeaw2429 2 жыл бұрын
.ใช้แหล่งพลังงานสะอาดหลายๆแห่ง..ยังงัยก็ดีกว่าให้น้ำมันผูกขาดความต้องการ..บังคับกดดันโลกด้วยความต้องขึ้นราคาของกลุ่มค้าน้ำมัน..สาเหตุหนึ่งในปัญหาสงครามการค้าผูกขาด..ระดับโลก..เทคโนโลยีฯช่วยให้มีทางออก..การค้าเสมอนะ
@KeacApi
@KeacApi 2 жыл бұрын
ไฟฟ้าจะถูกลงไม่ได้ถ้ายังคงใช้แบตลิเธียม และนับวันจะแพงขึ้นเรื่อยๆ
@joestomtooper3987
@joestomtooper3987 2 жыл бұрын
ถ้าไฮโดรเจน+ไฟฟ้า แล้ววิ่งได้ 3 วัน 3 คืน จะดีมาก
@udorbb2514
@udorbb2514 2 жыл бұрын
Well,ทำเรื่อเชื้อเพลิงสังเคราะห์หน่อยดิ จะรอฟัง ถ้ามีพริตตี้ด้วยก็จะดี 55
@moohummadsriyos2073
@moohummadsriyos2073 Жыл бұрын
ไทยหลอมเหล็กทำเอง ทุกชิ้นส่วน อีกกี่ ปีคับ
@foxalone674
@foxalone674 2 жыл бұрын
รถไฟฟ้าซ่อมบำรุงง่ายกว่า กลไกไม่ชับซ้อน ทำความเข้าใจได้ง่าย ช่างบ้านๆก็ซ่อมได้
@หลงประดิษฐ์วาทกรรม
@หลงประดิษฐ์วาทกรรม Жыл бұрын
จริงเหรอครับ ช่างไฟฟ้า แถวบ้านผมไปสอบใบอนุญาตทุกปี ซ้อมได้หมดมอเตอร์ ดู้เย็น เครื่องซักผ้า โทรศัพท์ ติดโซล่าเซลล์ เจอมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าเข้าไป ยังมึน โยนงานมาให้ช่างซ่อมมอเตอร์ไซด์ซะงั้น ผลสุดท้างต้องช่วยกันถึงจะแก้ได้
@หลงประดิษฐ์วาทกรรม
@หลงประดิษฐ์วาทกรรม Жыл бұрын
รถไฟฟ้า ชินส่วนน้อยก็จริง แต่ถ้าพังมาอยากเอาเรื่อง
@Kob_U1EnV
@Kob_U1EnV 2 жыл бұрын
Toyota โฟกัสผิดจุด ยี่ห้ออื่นๆไปรถไฟฟ้า ลำหน้าไปไกลแล้ว ครับ
@banchbchsss7731
@banchbchsss7731 2 жыл бұрын
ผมว่าเค้ามองข้ามช็อตมากกว่านะ
@9โอโม้
@9โอโม้ 8 ай бұрын
เขาไม่ได้มองที่ 10 ปีครับแต่เขามองที่ 20 ถึง 30 ปีครับเพราะแบตเตอรี่ลิเธียมมันแพงมากในอนาคต
@pimjaik
@pimjaik 2 жыл бұрын
ทั้งสองเป็นรถไฟฟ้าเหมือนกัน อย่าให้ผู้ชมสับสน
@เกษตรแม่นยํา
@เกษตรแม่นยํา 2 жыл бұрын
อายุถัง กับอายุแบตเตอร์รี่ น้ำหนักรถต่อพลังงาน
@2929twentynine
@2929twentynine 2 жыл бұрын
ไฮโดรเจนเหมาะใช้กับ เครื่องบิน เรือ รถไฟ รถบรรทุก
@thathu3482
@thathu3482 2 жыл бұрын
รถไฟมันวิ่งอยู่ในรางของมันอยู่แล้ว มีการจ่ายไฟตลอดเส้นทางตลอดเวลา มันเป็นไฟฟ้าได้ตั้งนานแล้วโจทย์ง่ายกว่าประเภทอื่น
@cherdchupongkanjanamusik5914
@cherdchupongkanjanamusik5914 2 жыл бұрын
ใช่ครับเครืองจักรสงครามก็ด้วย คงไม่มีใครแบกแบตไปมากกว่าอาวุธหรอกนะครับ
@teerachai868
@teerachai868 Жыл бұрын
จะมั่นใจได้ไงว่ารถที่เราใช้จะขับเฉพาะไปกลับที่ทำงานอย่างเดียวเพราะบางครั้งก็ขับตะลอนเที่ยวต่างจังหวัดในระยะทางไกลๆ ทั้งๆที่รถไฟฟ้าก็จำกัดเรื่องระยะทางและเวลาการชาร์จที่นาน
@หลงประดิษฐ์วาทกรรม
@หลงประดิษฐ์วาทกรรม Жыл бұрын
รถไฟ เรือใหญ่ๆ เป็นไฟฟ้าอยู่แล้ว แต่ใช้เครื่องยนต์ปั่นไฟฟ้า
@cherdchupongkanjanamusik5914
@cherdchupongkanjanamusik5914 2 жыл бұрын
เทคโนโลยีพัฒนาขึ้นทุกวัน ไม่รวมที่เค้าหมกเม็ดไว้ แต่ที่แน่ๆ น้ำที่มีอยู่ทั่วไป จะปล่อยไว้ยังงั้นเหรอครับ
@nexnatty
@nexnatty 2 жыл бұрын
สนใจเสื้อครับ
@kkkthailinnd1750
@kkkthailinnd1750 2 жыл бұрын
ถ้าเกิดอุบัติเหตุ คิดเอาว่าคันไหนปลอดภัย
@trtonkaoruangkao7009
@trtonkaoruangkao7009 2 жыл бұрын
อยู่ที่ว่า แบตเตอรี่โซเดียมไอออนกับ เซลเชื้อเพลิงไฮโดรเจนอันไหนจะตอบโจทย์กว่ากันแล้ว แต่ผมว่า แก๊สหุงต้มมาเป็นเชื้อเพลิงง่ายสุด 😆
@somkanenatanan4505
@somkanenatanan4505 2 жыл бұрын
น่าทำเครื่องปฏิกรณ์แบบไอร่อนแมน หรือรถพลังงานนิวเคลียร์ซะเลย อนาคตอาจมีจริงก็ได้มั้งนะ
@kritsadaw.3990
@kritsadaw.3990 2 жыл бұрын
ข้อสรุป สคริปไปท้ายๆๆคลิปเลย 55555 (แต่ก็ฟังตั้งแต่ต้นจนจบ)
@neoflynow1130
@neoflynow1130 2 жыл бұрын
ฉันเลือกรถไฟฟ้า มันสะดวกกว่า ไมม่ต้องไปสถานี ไม่ต้องรอคิว เพราะมันทำเองได้ที่บ้าน ไม่ต้องมาวุ่นวายขึ้นๆลงๆของราคาเชื้อเพลิงเหลว สมมุติ บ้านมีโซล่า มีปั่นไฟได้เอง ยิ่งจะประหยัด เหมือนได้ไฟฟรีๆ วิ่งรถฟรีๆ ที่เหลือ ให้คนอ่านไปคิดต่อกันเอง ฉันพูดไม่หมดหรอก
@lifelaw4759
@lifelaw4759 2 жыл бұрын
รถไฮโดเจนอันตราย
@navaran8016
@navaran8016 2 жыл бұрын
ตอนรอให้ ไฮโดรเจน ทำออกมาเยอะๆค่อยมาเทียบกัน
@werapatjaidee
@werapatjaidee 2 жыл бұрын
เห็นด้วยกับ toyota ครับ..ไฮโดรเจนวิ่งได้ไกลกว่า..ไม่ต่างจากรถน้ำมัน
@ntkstk6235
@ntkstk6235 2 жыл бұрын
แต่ราคาก็ไม่ได้ต่างจากน้ำมันเลยนะครับ 5 บาทต่อกิโลเนี่ยแพงกว่าด้วย อีกอย่างรถไฟฟ้าสามารถชาร์จที่บ้านได้ ทำให้จัดการพลังงานง่ายกว่าเยอะ ต่อไปถ้าพัฒนาให้ชาร์จเร็วขึ้นหรือแบตเก็บพลังงานให้พอๆกับไฮโดรเจน มันดูเป็นไปได้กว่า ลดต้นทุนไฮโดรเจน 10 เท่า เยอะเลย นี่ยังไม่ได้มองเรื่องวิกฤตความแห้งแล้งที่รุนแรงขึ้นทุกปี
@letseat5123
@letseat5123 2 жыл бұрын
แพงกว่าแถมlossเยอะ แถมอันตรายว่าแก๊ส น้ำมัน EV ต้องปลอดภัยแบบมากๆ
@werapatjaidee
@werapatjaidee 2 жыл бұрын
@@ntkstk6235 ใช่ครับ..แต่ข้อดีก็คือเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม..ทำระยะทางได้ไกล..ข้อเสียคือแพง...และอีกสิ่งที่หลายคนกังวลก็คือ..กลัวถังบรรจุไฮโดรเจนจะระเบิดหากมีข้อผิดพลาด..หรืออุบัติเหตุกระทบแรงๆ
@nyhoytaraloom
@nyhoytaraloom 2 жыл бұрын
ติดตาม​ครับ​
@g3n9
@g3n9 2 жыл бұрын
รถเล็กไป ev รถเชิงพาณิชย์ในปัจจุบันต้องไป LNG แต่ถ้ามองอนาคตรถเชิงพาณิชย์ก็ต้องไปไฮโดรเจนครับ
@lifelaw4759
@lifelaw4759 2 жыл бұрын
eV รถบรรทุกมีแล้วครับ สมัยนี้แบทมีแต่พัฒนา
@g3n9
@g3n9 2 жыл бұрын
@@lifelaw4759 รถบรรทุกevตอนนี้มีก็จริง แต่ยังไม่เหมาะแก่การใช้งานในหลายๆด้าน สู้LNG ไม่ได้ครับ
@หลงประดิษฐ์วาทกรรม
@หลงประดิษฐ์วาทกรรม Жыл бұрын
@@lifelaw4759 ถ้าแบตพัฒนาแบบที่คุณว่า หัวรถจักร รถไฟไทย ถอดเครื่องยนต์ออกให้แบตเข้าไป ใส่ระบบจัดการไฟฟ้าใหม่เข้าไฟใช้ได้เลย เพราะหัวรถจักรรถไฟ ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าอยู่แล้ว เครื่องยนต์มีหน้าที่แค่เป็นเครื่องปั่นไฟฟ้า รถบรรทุกในเหมืองคันใหญ่ๆ นั้นก็ใช้ไฟฟ้าขับนะ
@หลงประดิษฐ์วาทกรรม
@หลงประดิษฐ์วาทกรรม Жыл бұрын
@@g3n9 เขาจะรู้ไหมรถลากเครื่องบิน เป็นรถไฟฟ้า 555 แต่เป็นดีเซล หรือเบนซิน ไฟฟ้าอันนั้นไม่ทราบ แต่ที่ผมคิด หน้าจะเป็นดีเซลไฟฟ้า เพราะเครื่องปั่นไฟฟ้าส่วนใหญ่เป็นดีเซล
@two.stickercar8455
@two.stickercar8455 2 жыл бұрын
เดิมพันมี่ไฮโดเจนครับอีก10-15ปีไฮโดรเจนคืออนาคต
@tubyajchannel4583
@tubyajchannel4583 2 жыл бұрын
ดีทั้งคู่
@วิษณุงิ้วงาม-ม7ฝ
@วิษณุงิ้วงาม-ม7ฝ Жыл бұрын
แล้วรถไฟฟ้าโซล่าเซลล่ะครับ
@7DragonCompany
@7DragonCompany 2 жыл бұрын
ทำไมต้องเปลี่ยนจากซื้อน้ำมันมาซื้อไฮโดรเจนแทนด้วย ผมไม่ซื้อคนนึงหล่ะ
@kraiyasitsupantamart4367
@kraiyasitsupantamart4367 2 жыл бұрын
รถไฮโดรเจน สุดท้ายต้องมาแน่ๆพลังงานสะอาด1000% พลีงงานไฟฟ้ายังต้องเอาน้ำมันถ่ายหินมาทำเป็นพลังงานไฟฟ้าอยู่ ต้องรอรถไฟฟ้าขาลงหรือไม่อาจจะสู้กันในสองรูปแบบ ทั้งไฟฟ้าและไฮโดรเจน
@pm9488
@pm9488 2 жыл бұрын
ไม่ค่อยเห็นด้วยครับ H2 ถ้าแยกด้วย Electrolysis ก็ใช้ไฟฟ้าแยกมาอยู่ดี (ซึ่งก็มาจากถ่านหินหรือน้ำมันตามที่ท่านว่า) หรือจะเป็น By product จากการกลั่นปิโตรเคมี ก็มีมลภาวะ ตัว Fuel stack ที่ต้อง Maintenance ก็ไม่รู้ว่าต้องเปลี่ยนบ่อยแค่ไหน ทำมาจากอะไร
@dum5855
@dum5855 2 жыл бұрын
ไฮโดรเจน ในปัจจุบันเป็น เกรย์ไฮโดรเจน ที่มาจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมี แปรสภาพแยกกาซมีเทนซึ่งปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ส่วน ไฮโดรเจน ที่ได้จากการแยกน้ำด้วย "ไฟฟ้า" ก็ต้องดูว่าไฟฟ้าที่ใช้มาจากไหน ถ้าจะเป็น กรีน ไฮโดรเจน ไฟฟ้าต้องมาจากแหล่งที่ไม่ปล่อยคาร์บอนเลย เช่น โซลาร์ฟาร์ม กังหันลม เขื่อน เป็นต้น และการใช้พลังงานไฟฟ้าแยกน้ำเป็นไฮโดรเจน อัดให้กลายเป็นของเหลว ต้องใช้พลังงานราว 52kWh ต่อไฮโดรเจน 1 กิโลกรัม แต่เมื่อนำไปใช้จะได้พลังงานกลับมาแค่ 33kWh
@letseat5123
@letseat5123 2 жыл бұрын
มันจะสะอาด100%ได้ไง แถมหลายขั้นตอนกว่าอีกต่างกับEVที่ใช้ไฟฟ้าโดยตรงเลยlossน้อยกว่ากันเยอะ
@7DragonCompany
@7DragonCompany 2 жыл бұрын
ไฮโดรเจนเอามาจากใหน เสกมาเหรอ ฮา
@ดูดูไปเถอะ-ฑ8ม
@ดูดูไปเถอะ-ฑ8ม 2 жыл бұрын
รถไฟฟ้าคือ อนาคตจากนี้ไปอีก 30-40 ปี แต่...หลังจากนั้นแหละ มนุษย์ก็ต้องหาพลังงานใหม่ เพราะแร่ที่เอามาทำแบตเตอรี่มีวันหมด
@varitnanmay22
@varitnanmay22 2 жыл бұрын
ถ้ามองการใช้งานในชีวิต รถevจะเหมาะการใช้งาน ชารจ์เองที่บ้านได้ ขับวนๆแค่ในจังหวัด กะไปจังหวัดข้างๆเองระยะทางเหลือๆ กลับบ้านมาชารจ์สบายๆ
@chamnanthongraya1681
@chamnanthongraya1681 Жыл бұрын
ผมว่ารถFCดีกว่าเราแค่เอาน้ำหรือหาวิธีแยกออกซิเจนหรือไฮโดรเจนทั้งสองอย่างไปเลย ในอนาคตต้นทุนจะต่ำลงและคิดค้นมีธีการใช้ให้ดีและง่ายสะดวกขึ้นเองผมว่าผมกลับมองเห็นว่ามีอนาคตมากกว่าครับ ส่วนการชาร์จไฟฟ้าหาวิธีแก้ใขยากต่อให้ชาร์จได้เร็จเราก็ต้องแก้ปัญหาเรื่องแบตเตอรี่ซึ้งมันมีเรื่องที่ต้องจัดการมากและอาจจะมีปัญหาต่อไปเรื่องอีกแบตต้องใหญ่ขึ้นและเสียค่าบำรุงรักษาและปลี่ยงแบตที่แพงมาก
@บัวใต้น้ํา-ฏ6ห
@บัวใต้น้ํา-ฏ6ห 2 жыл бұрын
ส่วนตัวชอบไฮโดรเจนมากกว่า เพราะไม่ต้องมากำจัดแบตเตอรี่ในภายหลัง
@รถบรรทุกฟรีดาวน์
@รถบรรทุกฟรีดาวน์ 2 жыл бұрын
รถบรรทุกจะมีไฟฟ้าไหมครับ
@pannatatjuthasmith239
@pannatatjuthasmith239 2 жыл бұрын
กระบวนการผลิตไฮโดรเจนนั้น มีหลายวิธี แต่ กลุ่มทุนพลังงานผูกขาดเดิม ทีมีอำนาจเหนือการเมือง พยามออกสื่อให้ ปชช,ทั่วไปได้เห็นแค่วงแคบๆ ในเรื่องการผลิตไฮโดรเจน และ ตัดส่วนกระบวนการอื่นๆ ที่พวกตนไม่ได้กินผลประโยชน์ด้วย ออกไป // ตย,ที่สื่อ รับใช้กลุ่มทุนพลังงาน จะไม่เคยเสนอให้ ปชช.ทราบเลย คือ การผลิตกรีนไฮโดรเจน จากการรีฟอร์ม กาซ ไบโอมีเทน ที่ได้จาก ขยะ และ วัสดุการเกษตร ด้วยไฟฟ้าจากพลังวาาสะอาด เพราะ กระบวนการผลิตแบบนี้ สามารถกระจายออกไปผลิตยังที่ต่างๆที่เหมาะได้ แบบที่ไม่ต้องผูกขาดรวมศูนย์ แบบ การกลั่นแยกปิโตรเลียม และ รฟฟ, ดังนั้น ในวิธีการแบบนี้ กลุ่มทุนพลังงานผูกขาดเดิมๆ จะไม่ได้กินผลประโยชน์อะไรเลย อย่างเก่ง กลุ่มปิโตรเลียม จะเหลือขายของให้รถไฟฟ้า FCEV ได้แค่ - น้ำมันเบรค - น้ำมันเพาเวอร์ - น้ำมันเกียร์ - จารบี // แต่จะไม่ใช่ชิ้นปลามันอย่างเชื้อเพลิง อีกต่อไป
@korwet01
@korwet01 2 жыл бұрын
ผมว่าไฟฟ้ามันจะถึงทางตันเร็วกว่าเพราะในการสร้าง 1 คันใช้แรเอิทร์ เยอะกว่า แถมด้วยปัญหาการ รีไซเคิลแบทเก่า
@ประมวลคําตะลุง
@ประมวลคําตะลุง 2 жыл бұрын
เอาที่มันประหยัดสุดๆล่ะครับ
@paknam536
@paknam536 2 жыл бұрын
คหสต. ไฮโดรเจนเหมาะกับพาหนะขนาดใหญ่ที่เน้นบรรทุกเยอะๆ อาทิ รถไฟ, รถบรรทุก
@ณรงค์พรเศกข์สมอารมณ์
@ณรงค์พรเศกข์สมอารมณ์ 9 ай бұрын
ไฮโดรเจนตองเสียค่าใช้จ่ายมากกว่ารถไฟฟ้า.เพราะรถไฮฯคุณจะหาที่เติมได้จากไหน.รถไฟฟ้าคุณสามารถเติมได้ที่บ้านของคุณแล้วคุณจะเลือกรถชนิดไหนละครับ
@czzxzx_MadeinHeaven48
@czzxzx_MadeinHeaven48 2 жыл бұрын
BEV หรือ FCEV มันคือรถไฟฟ้าทั้งคู่ แถม FCEV ไม่ได้ใช้ได้แค่ไฮโรเจน เซลล์เชื้อเพลิงยังใช้เชื้อเพลิงอย่างอื่นได้ด้วย เช่น โซลิดอ็อกไซด์ หรือเมทานอลก็ได้ ระยะทางต่อน้ำหนักได้เปรียบแบตเตอรี่ ระยะทาง 100กิโลเมตร ใช้ไฮโรเจน 1kg แต่ถ้าเป็น Battery ต้องแบกน้ำหนัก 120kg โดยต่อให้ไฟหมดก็หนักเท่าเดิม เป็นภาระต่อยางและถนนที่การสึกหรอของกำมะถันและยางมะตอยราดถนน เป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี มันสูงกว่า เกือบ 100เท่า
@150ms
@150ms 2 жыл бұрын
เพราะมันหนักและจุได้น้อยไงครับ เขาถึงเร่งพัฒนา solide state แถมค่าไฟก็ถูกกว่าไฮโดรเจนอีก ข่าวล่าสุดเห็นว่าจีนเข้าใกล้คำว่า solide state ไปอีกก้าวแล้ว และกำลังจะนำมาใช้เชิงพานิชย์ด้วย
@dum5855
@dum5855 2 жыл бұрын
เดี๋ยวนะ อันนี้คิดเองรึเปล่าเอาน้ำหนักไฮโดรเจนมาเทียบกับแบตเตอรี่ แล้วถังเก็บไฮโดรเจนกับระบบเซลเชื้อเพลิงหนักเท่าไหร่ ยังมีระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอีก รวมทั้งแบตเตอรี่ขนาดเล็กด้วยนะ ลองหาข้อมูลของ Toyota Mirai Gen.2 เทียบกับ Tesla Model S ที่ขนาดใกล้เคียงกับ น้ำหนักต่างกันราว 100 กก. หรือ 200 กก. ในรุ่น Plaid
@czzxzx_MadeinHeaven48
@czzxzx_MadeinHeaven48 2 жыл бұрын
ไม่คิดเองครับ เทียบรุ่น 18xx kg Mirai กับ Model3 ปี2022 และ RWD ทั้งคู่ราคาพอกัน Mirai วิ่งได้ 400mi EPA ส่วน Model3 วิ่งได้ 270mi EPA แต่ถ้าเทียบ Model S ที่ราคาแพงกว่าเกือบ 2เท่า จะใช้วัสดุที่น้ำหนักเบาก็ไม่ได้แปลกใจอะไรครับ
@dum5855
@dum5855 2 жыл бұрын
@@czzxzx_MadeinHeaven48 ถ้าจะเทียบรุ่นที่ราคาใกล้เคียงกัน ขับเคลื่อนล้อหลังเหมือนกัน ก็ประมาณนี้ Mirai Gen.2 หนัก 4,350lb ราว 1,980kg. 402miles (EPA) , 182HP Tesla Model 3 หนัก 3,805lb ราว 1,730kg. 352.9miles (EPA) , 258HP สมรรถนะของ Model 3 Long Range 2WD เหนือกว่า แต่ระยะทางวิ่งน้อยกว่า ที่สำคัญน้ำหนักตัวเปล่าต่ำกว่านะฮะ
@czzxzx_MadeinHeaven48
@czzxzx_MadeinHeaven48 2 жыл бұрын
@@dum5855 Model3 RWD ปี 2022 STD Range ปี 2022 60kw จะหนัก 4,045lb แล้วครับ ส่วน Mirai จะเป็นรุ่น XLE 4,225lb ซึ่งหนักกว่าประมาณ 90kg ราคาห่างกัน 2,xxx usd
@theorigins1580
@theorigins1580 2 жыл бұрын
ทำไมรถไฟฟ้าต้องออกแบบรูปลักษณ์ให้มันดูโง่ๆทื่อๆด้วยครับ
@pannatatjuthasmith239
@pannatatjuthasmith239 2 жыл бұрын
การเรียก รถไฮโดนเจน มันเป็นเรืองไม่ถูกต้อง - เพราะ ปชช.ที่ไม่รู้ไส้เทคโนโลยี อาจเข้าใจผิดได้ว่า รถไฮโดรเจนนั้น เป็น รถเครื่องยนต์สันดาปภายใน ที่ใช้ไฮโดรเจน เป็นเชื่อเพลิง - แต่ ถ้าเป็นรถไฟฟ้า ที่ใช้ไฮโดรเจน เป็นสารเคมีเพื่อกำเนิดไฟฟ้า ควรจะเรียกว่า ( รถไฟฟ้าแบบ เซลล์เชื้อเพลิง ไฮโดรเจน )มากกว่า - และ รถไฟฟ้าแบบเซลล์เชื้อเพลิง หรือ FCEV ก็ยังมีอีกชนืด คือ รถไฟฟ้าแบบ เซลล์เชื้อเพลิงเอทานอล คือ เปลี่ยนเอทานอล เป็นไฟฟ้า โดยไม่ต้องมีการสันดาปลุกไหม้ ของ นิสสัน - ทั้งรถไฟฟ้า แบบ FCEV ที่ใช้ไฮโดรเจน และ เอทานอล....เป็นสารเคมีร่วมทำปฏิกริยากับ O2 ในการกำเนิดไฟฟ้านั้น เหล่านี้ ล้วนเป็น นวัตรกรรมที่สุงกว่ารถไฟฟ้าเสียบปลั๊ก หรือ รถ EV / เพราะมันมีข้อดีที่เหนือกว่าหลายๆอย่าง เช่น 1 . FCEV ไม่ต้องเสียเวลาชาร์จนานๆ แบบ BEV เพราะกำเนืดไฟฟ้าในตัวเองได้ จสกปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี 2. FCEV ไม่ต้องพกแบตหนีกๆจำนวนมากไว้ในตัวเอง แบบ รถ EV แต่พกถังบรรจุเชื่อเพลิง ที่ให้พลังงานสูงในการจัยเคลื่อน นน.จึงเบากว่า 3. เชื้อเพลิงทั้งสองชนิด ไฮโดรเจน และ เอทานอล ก็ยังสามารถผลิตขึ้นมาจากกระบวนการสะอาด ที่ไม่ต้องรวมศูนย์ผลิต แบบ การกชั่นแยกปิโตรเลียม หรือ รฟฟ.แบบเดิมๆ / ซึ่งจะเป็นแนวโน้มของการ ปลดล๊อคการผูกขาดของนายทุนพลังงาน เดิมๆ ( รฟฟ. บ,ถ่านหิน บ,ปิโตรเลียม ) ไปสู่การกระจายโอกาสและรายได้ ลงสู่ ปชช.แทน 4. รถไฟฟ้าทั้ง 3 ชนิดเหล่านี้ ( รถ BEV รถ E-POWER รถ FCEV ) จะมีชิ้นส่วนในระบบขับเคลื่อน ที่น้อยลงกว่า รถระบบอื่นๆในอดีตมาก / ส่งผลดีต่อ บ.แม่เจ้าของแบรนด์ ในเรื่องต้นทุน แต่จะส่งผลเสียร้ายแรง ต่อ บ.OEM รับจ้างผลิต บางรายที่ชิ้นส่วนเดิมๆขาดหายจากในรถไฟฟ้า 3 ชนืดนี้ หากปรับตัวทาวธุรกิจไม่ทัน ก็อาจถึงขั้น ต้องปืดบริษัทไปเลยก็ได้ จริงไหม,....? ธนาธร สุริยะ 5. รถเสียปลั๊ก Ev ที่นังชาร์จหลัก กับไฟฟ้าจากสายส่งของหลวง มันเป็นได้แค่ - เทคโนโลยี ย้ายที่ปล่อยมลพิษ จากรถ ไปเป็น รฟฟ.แทน - EV มันข่วยรักษาผลประโยชน์ จากภาคขนส่ง ใยังตกแก่กลุ่มทุนผูกขาดเดิมๆ คือ ( รฟฟ. บ,ถ่านหิน บ,ปิโตรเลียม ) - และ EV ก็ยังช่วย รักษาระบบเปโตรดอลล่าของ อเมริกา ทีเอาเปรียบทุกชาติในโลกมาอย่างเนิ่นนาน ให้ยืนระยะต่ออายุออกไปอีกเฮือก
@knot11122524
@knot11122524 2 жыл бұрын
ข้อ3 ประชาชนจะเอาเทคโนโลยีจากไหนครับ ถ้าไม่ใช่จากบริษัทใหญ่หรือจากนายทุน มีใครสร้างของพวกนั้นได้โดยไม่ต้องซื้อ ข้อ5 ประเทศที่ใช้ FCEV มากสุดในโลกตอนนี้ ก็ อเมริกา ไม่ใช่เหรอครับ
@pannatatjuthasmith239
@pannatatjuthasmith239 2 жыл бұрын
@@knot11122524 ทำไมตอนก่อตั้ง ปตท.ครั้งแรก ปตท. ยังเป็นของรัฐ 100 % ก็ยังดำเนินการได้ ไม่จำเป็นต้อง เอา บ.เข้าตลาดหุ้น / เหมือนกับ ปิโตรนัสทุกอย่าง ปชช.ก็ไม่ต้องมาเดือดร้อน กับพลังงานแพง เช่นกัน บ. เอกชนคุณมีของขาย คุณก็ทำหน้าที่ ผลิตเทคโนโลยี ขาย ปชช.ไป ไม่ใช่เห็นชิ้นปลามัน แล้ว จะรวมหัวกับ ( นกม. ขรก. ต่างชาติ ) จะหาเรื่องสุมหัวกันกินรวบ พลังงานประเทศ
@kkung9065
@kkung9065 2 жыл бұрын
ชอบBev มากกว่าเพราะไม่อยากเข้าปั๊ม
@prakobnarkburee5333
@prakobnarkburee5333 2 жыл бұрын
ปั้ม​เติม​พลัง​ไฟฟ้า​ ของ​ไทย​โดย​บริษัท​ที่​ผลิต​แบตเตอรี​ลิเธียม​ ใช้​เวลา​แค่​ 15 นาที​
@คชาแป้นโสม-ฃ2ฤ
@คชาแป้นโสม-ฃ2ฤ Жыл бұрын
#คงเร็ววันนี้รถEVไม่จำเป็นต้องรอชาร์จ #ใช้วิธีเปลี่นยแบตตรี่เลยคล้ายๆมือถือเร็วง่ายสะดวก...เติมเชื้อเพลงได้เร็ววิ่งได้ไกลแล้วไง...ใครจะรับประกันให้คุณเมื่อนั่งอยู่บนถังที่มีแรงดันซึ่งเราคาดเดาไม่ได้ (อะไรก็ชั่งที่อยู่ในถังและมีแรงดัน มันเสี่ยงทุกถัง.....คงแผนการตลาดของโตโยต้า 1)ขายรถ 2)ขายบริการที่โคตรแพง 3)ผูกตลาดไฮโดรเจนเพราะชาวบ้านผลิตเองไม่ได้ ต่างจากไฟฟ้าที่หลายคนผลิตไฟฟ้าใช้เองเท่ากับขับรถฟรี!! 4)สถานีเติมเชื้อเพลิง "ในรัศมีรอบข้างมีความเสี่ยงต่อปลอดถัย" 5) อาจทำให้ไฟฟ้าแพงเพราะเอาไปแยกสารเอาไฮโดรเจน
@outsourceth
@outsourceth 2 жыл бұрын
ผมว่าอนาคต Hybrid ระหว่าง BEF + H-FCEV จะมา โดยมี ทั้ง Battery และ ถังบรรจุ H, O2, และน้ำ
@outsourceth
@outsourceth 2 жыл бұрын
แนวคิดใช้ solar แยกน้ำเป็น H และ O2 แล้วเอา H + O2 ผ่าน FC มาสร้างไฟฟ้า ตาม link kzbin.info/www/bejne/iGeklYtjl8l3l9k
@dum5855
@dum5855 2 жыл бұрын
ในรถ FCEV ก็ต้องมีแบตเตอรี่สำหรับเก็บไฟฟ้าอยู่แล้วครับ ไม่ได้ส่งกระแสไฟฟ้าตรงเข้ามอเตอร์ คล้ายกับรถไฮบริดแบบอนุกรม (ที่ Nissan เรียกว่า ePower)
@areewichainchai1743
@areewichainchai1743 6 ай бұрын
ก็เลือกพลังงานผสมเลยคือทั้งไฟฟ้าและไฮโดรเจนเลย โดยใช้น้ำเป็นเชื้อเพลิง
@wallop05
@wallop05 2 жыл бұрын
ไฟฟ้าแบกแบตตารี่ขนาดใหญ่ h ไม่ต้องแบก
@teerawat92
@teerawat92 Жыл бұрын
รอรถ ไฟฟ้า + ไฮโดรเจน ผมว่าผมสลับการทำงานกันผมว่าคงมันหน้าดู
@dhomestore
@dhomestore 2 жыл бұрын
ไฮโดร น่าใช้กว่าเยอะ
@นิพนธ์สุขเกษม-ณ3บ
@นิพนธ์สุขเกษม-ณ3บ 2 жыл бұрын
หมัดน็อคคือ มีโฮมชาร์จเจอร์
@chalermchatct899
@chalermchatct899 2 жыл бұрын
ก็รถมอเตอร์ทั้งคุ่นะ แสดงว่ามอเตอร์เหมาะกับรถยนต์มากทีสุดนะ
@ต้อม-ย6ถ
@ต้อม-ย6ถ 2 жыл бұрын
สวัสดีครับพี่
Osman Kalyoncu Sonu Üzücü Saddest Videos Dream Engine 262 #shorts
00:20
Osman Kalyoncu Sonu Üzücü Saddest Videos Dream Engine 269 #shorts
00:26
How it feels when u walk through first class
00:52
Adam W
Рет қаралды 24 МЛН
Help Me Celebrate! 😍🙏
00:35
Alan Chikin Chow
Рет қаралды 90 МЛН
Osman Kalyoncu Sonu Üzücü Saddest Videos Dream Engine 262 #shorts
00:20