การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration

  Рет қаралды 525,203

Easy biology by DrPukan

Easy biology by DrPukan

Күн бұрын

Пікірлер: 142
@EasybiologybyDrPukan
@EasybiologybyDrPukan 4 жыл бұрын
หากคลิปนี้มีเสียงเอฟเฟคที่ดังเกิน หรือ ดร.พู่กัน พูดเร็วไป ต้องกราบขออภัยอย่างสุดซึ้ง เนื่องจากคลิปนี้เป็นคลิปแรกๆ ที่ ดร.พู่กันทำ ซึ่งตอนนั้นยังไม่มีประสบการณ์ในการตัดต่อ และทำคลิปให้ความรู้ โดยคลิปที่โพสต์ในปี 2020 เป็นต้นไป ดร.พู่กันได้ปรับปรุง ด้วยการลดเสียงเอฟเฟค และพูดให้ช้าลงแล้วค่ะ อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ทุกคลิปมีเหมือนกันคือ ความทุ่มเท ความตั้งใจในการส่งมอบความรู้ทางชีววิทยาที่เข้าใจง่าย และเห็นภาพชัดเจน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้ชมคลิปทุกคนจะได้รับความรู้ทางชีวิวทยาที่มากขึ้น สามารถนำไปใช้ได้ในการเรียนนะคะ :)
@สายลมสิครับ
@สายลมสิครับ Жыл бұрын
กระผมมีความเห็นว่าเป็นสิ่งแปลกใหม่และสร้างสรรอย่างจริงใจโดยดุษฎีนะครับ คือทำไปเลยครับท่านอาจารย์หมอ
@yadawiminkasam5061
@yadawiminkasam5061 8 ай бұрын
ส่วนตัวไม่รู้สึกเป็นปัญหาเลยค่ะ+อธิบายเข้าใจง่ายมาก ง่ายแบบง่ายจริงๆ ส่วนตัวไม่เคยเรียนมาก่อนแล้วฟังรอบเดียวคือเก็ท😭 เก่งมากเลยค่ะ
@AOB-AUN-
@AOB-AUN- Ай бұрын
ส่วนตัวรู้สึกว่า การทำคลิปแบบนี้ทำให้เราไม่เครียดเกิน แล้วก็ทำให้เราสนุกไปพร้อมๆกับเรียนด้วยค่ะจะได้ไม่เบื่อ ชอบมากๆเลยค่ะ
@น้องเดียวชาอึนอู
@น้องเดียวชาอึนอู 4 жыл бұрын
จะสอบพรุ่งนี้แล้วค่ะ ไล่ดูคลิปในยูทูปบทนี้มาเป็นชั่วโมงสองชั่วโมง ไม่เข้าใจเลย เจอคลิปนี้สิบนาทีเอง รู้เรื่องประหยัดเวลามากเลยค่ะ แถมเข้าใจง่ายอีกด้วย ครั้งที่แล้วหนูดูคลิปของช่องนี้ไปได้รองท้อปห้อง ดีใจมากๆเลยค่ะ ครั้งนี้ต้องทำให้ได้ ฮึบบบบบๆๆ บทนี้ค่องข้างยากสำหรับหนู แต่พอดูคลิปนี้แล้วรู้สึกง่ายมากเลยค่ะ เป็นกำลังใจให้ช่องนี้นะคะ
@ND_Chart
@ND_Chart 4 жыл бұрын
โหหหห สุดยอดด ถ้ามีคลิปแบบนี้สมัยเรียน ม,ปลายนี้ แทบจะเข้าใจกระบวนการหมดโดยไม่ต้องอ่านเลยด้วยซ้ำ สุดยอดจริงๆ ตอนนี้ทำงานเป็นเภสัชกรเป็น 10 ปีแล้ว กลับมาดูความรู้แบบนี้ถ้าสมัยนั้นจะรีวิวได้ไวมาก ไม่ปวดหัว ไว้จะดูคลิปอื่นๆต่อไปครับ ขอบคุณมากๆ
@thewoodenboy3288
@thewoodenboy3288 Жыл бұрын
I can not type Thai efficiently but wanna say that you really made a great video explaining the Kreb cycle. I get a lot from the video so thanks a lot :).
@bingsuu98
@bingsuu98 5 жыл бұрын
อธิบายดีมากกกค่ะ ฟังกระทัดรัดชัดเจนลื่นปรื้ด คลิปสั้นดีค่ะชอบ เหมาะกับการทบทวนก่อนสอบค่ะ5555
@PatchareepornAusila
@PatchareepornAusila Жыл бұрын
เรียนมาแล้วมาฟังกำลังจะสอบ บรรลุเลยคับ
@cynf23
@cynf23 5 жыл бұрын
สอนเข้าใจมากเลยค่าาาาา เวลาพูดก็น่าฟังมากๆเลยค่ะ 😊
@bnnbnn7465
@bnnbnn7465 5 жыл бұрын
ขอบคุณมากๆเลยนะคะครูพู่กัน🙏👍❤😊 ที่ช่วยไขข้อข้องใจให้หนู ถ้าหนูได้มีโอกาสเรียนกับครู หนูคงเก่งชีววิทยาขึ้นแน่ๆ ครูเป็นคนที่อธิบายเรื่องยากๆให้กลายเป็นเรื่องที่เข้าใจได้ง่าย มากๆเลยคะ สู้ๆนะคะอยากให้ครูพู่กันทำคลิปดีๆแบบนี้ออกมาอีกเรื่อยๆ หนูตามไปไลค์เพจแล้วนะคะ FC ครูพู่กันนะคะ ขอบคุณอีกครั้งค่ะ
@kanyakorn0291
@kanyakorn0291 5 жыл бұрын
อยากให้มีสอนอีกทุกบทเลยค่ะ เข้าใจมากเลยค่ะ💓🙏🏼
@mpxk8157
@mpxk8157 5 жыл бұрын
สรุปดีมากๆค่ะ คุณครูนำมาเปิดในห้องเรียน ชอบมากกก นี่ใกล้จะสอบ ต้องมาเปิดฟังค่ะ
@doublej9432
@doublej9432 2 жыл бұрын
เสียงเอฟเฟคเรารู้สึกว่ามันเยอะไปบางทีเสียงเอฟเฟคมันดังกว่าเสียงพูด ทำให้เสียสมาธิ แต่เนื้อหาเข้าใจง่ายมาก
@imthepier.5168
@imthepier.5168 3 ай бұрын
เห็นด้วยค่ะ
@IMYK_67
@IMYK_67 3 ай бұрын
เห็นด้วยค่ะ
@นายทินกรวงค์คํา
@นายทินกรวงค์คํา 10 ай бұрын
ขอบขอคุณสำหรับข้อมูลดีดีนะครับ และขออนุญาตนำไปใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนด้วยนะครับ
@02กูยัสมิน
@02กูยัสมิน 5 жыл бұрын
ดูดอกเตอร์พู่กัน เข้าใจกว่าเรียนในห้องเรียนสะอีก. ขอบคุณมากค่ะ ❤️
@THEQESTIONMARK001
@THEQESTIONMARK001 3 жыл бұрын
คลิปครูคุณภาพดีมากเลยครับ ผมอ่านเองเเล้ว งงๆ พอดูคลิปครูเเล้วรู้เรื่องเลยครับ555 ขอบคุณครูมากๆครับ
@tawan_2917
@tawan_2917 5 жыл бұрын
อธิบายได้ดีมากๆๆๆๆๆๆครับ สรุปดี สื่อประกอบเยี่ยม เข้าใจง่ายขึ้นข้อมูลทันสมัย ทำต่อไปครับ เป็นกำลังใจไห้ช่องดีๆแบบนี้
@EasybiologybyDrPukan
@EasybiologybyDrPukan 5 жыл бұрын
Talayboon Pooyoi ขอขอบคุณสำหรับกำลังใจในการทำคลิปค่ะ 🙏🏻
@ZCjira
@ZCjira Жыл бұрын
ขอบคุณที่ทำคลิปดีๆมาแชร์ครับ
@hhip7411
@hhip7411 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากนะคะ นั่งงงทั้งเทอมดูคลิปแปปเดียวเข้าใจเลยค่ะTT
@quake3923
@quake3923 3 жыл бұрын
โหฟังแล้วเหมือนบรรลุเลยค่ะTTTT ขอบคุณจริงๆนะคะ อยากถือพานไปกราบไหว้มากค่ะ แงงงง ทำดีม้ากๆๆๆเลยค่า อธิบายชัดเจนมาก ขอบคุณอีกครั้งนะคะTT💝💝
@jiranyaprapanpot1230
@jiranyaprapanpot1230 5 жыл бұрын
อธิบายดีมากค่ะ..เข้าใจเพราะคลิปนี้เลย💓😉🤗💓
@NIPOON_nhoon_THOMPAT
@NIPOON_nhoon_THOMPAT 2 жыл бұрын
ขอบพระคุณสำหรับความรู้ค่ะ ดร.พู่กัน
@kwang254536
@kwang254536 3 жыл бұрын
ขอบคุณนะคะ แต่เอฟเฟคเยอะไปและก็ดังกว่าเสียงพูดด้วยค่ะ ถ้าปรับตรงนี้สำหรับเราแล้วคลิปจะดูสมูทมากขึ้นเลยค่ะ
@Moji_Poom
@Moji_Poom 3 жыл бұрын
สอนดีมากครับดร. เข้าใจ​ง่ายดีครับ ขอบพระคุณ​มาก​ครับ​
@Jingerbell_BB
@Jingerbell_BB 5 жыл бұрын
หนูดูคริปของด็อกเตอร์ พู่กันเเล้วเข้าใจมากขึ้นเลยค่ะ ขอบคุณนะคะ#หนูสอบได้คะเเนนดีมากเลยค่ะ💕🙏
@__-sx8jn
@__-sx8jn 5 ай бұрын
อธิบานดีมากค่ะ แต่ครูน่าจะพิมพ์transportผิดค่ะตรงขั้นตอนที่3
@blackfox-i8u
@blackfox-i8u 4 ай бұрын
คุณครู ดร.พู่กัน สอนดีมากๆๆๆๆ ค่ะ
@kao7951
@kao7951 5 жыл бұрын
ขอบคุณครับ ชัดเจนมากครับ สนับสนุนให้นำเสนอสื่อดีๆแบบนี้ต่อไปครับ
@bzoin.k2993
@bzoin.k2993 5 жыл бұрын
กำลังจะสอบเลย ตอนแรกไม่รู้เรื่องเลย ขอบคุณมากคร่า
@thalurngsakc.5782
@thalurngsakc.5782 3 жыл бұрын
สอนได้เข้าใจมาก ๆ เลยครับ สามารถนำไปประยุกต์กับความรู้จากโรงเรียนต่อได้เลย
@chachachom9958
@chachachom9958 4 жыл бұрын
ชอบมากค่ะ แต่อยากให้ลดเสียงเอฟเฟคลงนิดนึงเพราะว่ามันเยอะไปค่ะ
@puppydef3583
@puppydef3583 5 жыл бұрын
ดีมาก คลิปดีมาก ภาพสวยเสียงชัด ดีมากกกก 🙏🏻🙏🏻🙏🏻
@Rosemary-ci1iv
@Rosemary-ci1iv Жыл бұрын
ขอบคุณมากๆค่ะ เข้าใจกว่าที่เรียนในห้องมาก🫶🏻🫶🏻🫶🏻
@logixz4039
@logixz4039 5 жыл бұрын
อธิบายดีเห็นภาพ สุดยอดครับ
@Pancake-si9dj
@Pancake-si9dj 2 жыл бұрын
อยากให้พี่พูดให้ช้าลงอีกนิดค่ะ
@jameshopkins5873
@jameshopkins5873 3 жыл бұрын
This is very informative. Phuut chaat, khaojai dai!
@armveerapat6702
@armveerapat6702 4 жыл бұрын
ปรับความเร็วเป็น 0.75x พอดีเลยครับ5555 ชอบเอฟเฟค​มากๆครับ
@nutchanartkaewjiboon9559
@nutchanartkaewjiboon9559 5 жыл бұрын
ชอบค่าา ฟังเเล้วเข้าใจเร็วมากเลยคะ อยากให้มีอีกคะ💗
@CuteCaramel-z9j
@CuteCaramel-z9j Жыл бұрын
ขอบคุณมากๆนะคะ เข้าใจขึ้นมากๆเลยยย❤❤❤❤
@pbenz1380
@pbenz1380 4 жыл бұрын
ขอบคุณ ดร. ภู่กัน มากครับ
@hathairatable
@hathairatable 2 жыл бұрын
อธิบายดีค่ะ เห็นภาพชัดเจน แต่ ถ้าลด effect ที่ไม่จำเป็นลงได้จะดีมาก จะ ได้ไม่รบกวนสมาธิมากไปนะคะ ขอบคุณมากค่ะ
@nongtar2839
@nongtar2839 5 жыл бұрын
100000 เต็มร้อยเลยครับ ดีมากกกกก
@patriziamuggianu6278
@patriziamuggianu6278 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากเลยนะคะ TT_TT กว่าจะเข้าใจก็ตอนเป็นเด็กซิ่ว ฮาๆ
@mafersoptoifrokrexter9881
@mafersoptoifrokrexter9881 4 жыл бұрын
บอกเลยว่า ถ้าไครอ่านเนื้อหามาแล้ว ฟังสรุปต่อโคตรแจ่มเหมือนตรัสรู้เลย
@Rimuru_tempest1
@Rimuru_tempest1 2 жыл бұрын
จริง
@Rimuru_tempest1
@Rimuru_tempest1 2 жыл бұрын
เค้าเก็บจุดที่ไม่เข้าใจที่ไปที่มาให้เข้าใจเลย
@kawkawtv9920
@kawkawtv9920 Жыл бұрын
เสี่ยว
@pingkykhamvongsa3643
@pingkykhamvongsa3643 2 ай бұрын
จริง
@kunnuuparejb4217
@kunnuuparejb4217 4 жыл бұрын
อธิบายดีมากๆเลยค่ะ
@LYLY_Wei
@LYLY_Wei 3 жыл бұрын
ทำมาอีกได้มั้ยครับ ความรู้เหมาะกับมือใหม่มากๆ ชอบมากเลยคับ เข้าใจง่าย
@kanokwanyangsila4010
@kanokwanyangsila4010 5 жыл бұрын
ขอบคุณมากๆค้าครูอธิบายดีมาก🙏
@ปุระชัยเเกล้ววิกย์กิจ
@ปุระชัยเเกล้ววิกย์กิจ 5 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับดร.พู่กัน สรุปเเละจัดทำเนื้อหาน่าสนใจเเละเข้าใจง่ายด้วยครับ
@Napat-yi7lb
@Napat-yi7lb 2 ай бұрын
เป็นฮีโร่ของผมเลยครับแบบนี้
@sittipatjintasirikul8031
@sittipatjintasirikul8031 5 жыл бұрын
ดีมากๆครับ
@nxnt_i3230
@nxnt_i3230 2 жыл бұрын
เข้าใจง่ายมากเลยค่ะ ขอบตุณนะคะ
@ภุมวารีโคตรสมบรูณ์
@ภุมวารีโคตรสมบรูณ์ 3 жыл бұрын
เข้าใจมากขึ้นเลยค่ะ ขอบคุณนะคะ
@milohaveyoudancedtoday
@milohaveyoudancedtoday 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ ขอบคุณมากกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ๆๆๆๆ ค่ะ
@nutmiz7367
@nutmiz7367 5 жыл бұрын
อธิบายดีครับ วันสอบชีวะด้วยต้องลองดูหน่อย
@ปภัสราคนหาญ-ย5ฒ
@ปภัสราคนหาญ-ย5ฒ 5 жыл бұрын
สอนดีมากเลยค่า
@santipapudomprachyaprawn4946
@santipapudomprachyaprawn4946 5 жыл бұрын
เป็นพระคุณอย่างยิ่งครับ
@goodgoodsgadget4875
@goodgoodsgadget4875 Жыл бұрын
เนื้อหาดีมากเลยครับ มีแบบที่ไม่ใส่ sound effect ไหมครับ หรือแบบที่ใสเบาๆ กว่านี้
@witchayanoisimma4875
@witchayanoisimma4875 4 жыл бұрын
อธิบายดีมากค่ะ
@suriyavirjo7373
@suriyavirjo7373 5 жыл бұрын
เสนอให้ทำแผนที่ดีเอ็นเอของเต่าคิดว่าอาจได้ความรู้เกี่ยวกับการมีอายุยืนของเต่าๆที่สวนสัตว์ดุสิตมีอายุยืนถึง150ปีเราจะเอาเต่าเป็นครูของคน ขอบคุณครับ
@thnitaphrhmphakdi809
@thnitaphrhmphakdi809 3 жыл бұрын
น้ำตาลกลูโคสเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่มีขนาด (ไมครอน) หรือมีขนาดใหญ่จึงไม่สามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ชั้นในเข้าไปได้
@muii-6579
@muii-6579 4 жыл бұрын
ทำไมบางตำแหน่งใช้NADบางตำแหน่งใช้FADคะ ถ้าNADHให้พลังงานมากกว่าทำไมถึงไม่ใช้NADรับeทั้งหมดคะ
@พงธรเสรีนิยม
@พงธรเสรีนิยม 5 жыл бұрын
ทําคลิปได้เนื้อหาครบถ้วนเเละอธิบายเข้าใจง่ายมากครับขอบคุณมากครับ
@JP-dg2hk
@JP-dg2hk 5 жыл бұрын
อธิบายดีครับ แต่ผมงงตลอดคาบเลย
@chanapuponklongklaw864
@chanapuponklongklaw864 4 жыл бұрын
แบบนี้ในข้อสอบจะรู้ได้ไงครับว่าเขาไห้ใช้3ATPหรือ2.5ATP
@thnitaphrhmphakdi809
@thnitaphrhmphakdi809 3 жыл бұрын
รอแก้ที่แบบเรียน และประกาศใช้ก่อนจ้า
@mnzxcxx4353
@mnzxcxx4353 Жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ ดีมากก
@ggz6598
@ggz6598 2 жыл бұрын
พืชมีการหายใจระดับเซลล์ไหมครับ
@boskung2012
@boskung2012 5 жыл бұрын
เพราะเหตุใดการถ่ายทอดอิเล็กตรอนจึงเกิดที่เยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอนเดรีย ครับ
@EasybiologybyDrPukan
@EasybiologybyDrPukan 5 жыл бұрын
Bos kung เนื่องจากเยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอนเดรียมีกลุ่มของโปรตีน โคเอนไซม์ และโคแฟกเตอร์หลายตัว ที่สามารถทำให้เกิดการถ่ายทอดอิเล็กตรอนได้ค่ะ
@10พรจิรากลักวงศ์
@10พรจิรากลักวงศ์ 3 ай бұрын
อาจารย์รับสอนไหมคะ
@saruta3983
@saruta3983 Жыл бұрын
หนูสงสัยอะค่ะว่า ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากขั้นตอนที่4 คือไรหรอคะ
@Feen_Varmchannel
@Feen_Varmchannel 5 жыл бұрын
จากการสลายกรดไพรูวิก1โมเลกุลมีการปล่อยพลังงานจากปฏิกิริยาหรือไม่ แล้วมีการกักเก็บสารใดครับ
@typetype3232
@typetype3232 Жыл бұрын
ผลิตภัณฑ์สุดท้ายคือ ATP หรอคะพอจะเข้าใจถูกมั้ย
@pimzkapimz3357
@pimzkapimz3357 3 жыл бұрын
ขอบคุณนะคะ
@umiko.4095
@umiko.4095 Жыл бұрын
พี่คะ หนูมีคำถาม อวัยวะใดในเซลล์ที่ช่วยสลายสารอาหาร หรอคะ
@natthaphonnuamphiphat4972
@natthaphonnuamphiphat4972 2 жыл бұрын
สมการ การหายใจระดับเซลล์ ต้องเปลื่ยนจาก 6co6 เป็น 6co2 ไม่ใช่หรอคะ
@mnsnntnk9876
@mnsnntnk9876 5 жыл бұрын
อยากให้ทำเรื่อง สารประกอบคาร์บอนในสิ่งมีชีวิตกับปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งทีชีวิต ในชีวะเพิ่มเติม ม.4 มากๆเลยค่ะ เยอะมากจะสอบปลายภาคอาทิตย์หน้าอ่านไม่ทัน ไม่เข้าใจ😭
@jirokaeru1579
@jirokaeru1579 4 жыл бұрын
ขออนุญาตถามครับ ไมโตคอนเดรีย นอกจากจะดึงกลูโคส (คาร์โบรไฮเดรต) แล้ว มันดึงไขมันมาสร้างพลังงานด้วยหรือไม่ ครับ
@suriyavirjo7373
@suriyavirjo7373 5 жыл бұрын
ถ้าเซลที่หัวใจขาดอ๊อกซิเจนแล้วเซลตาย ช่วยอธิบายกระบวนการที่ทำให้เชลตาย ขอบคุณครับ รอคำตอบครับ
@EasybiologybyDrPukan
@EasybiologybyDrPukan 5 жыл бұрын
หากเซลล์ขาดออกซิเจน จะทำให้เซลล์เกิดการย่อยสลายอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic respiration) ส่งผลให้เซลล์สร้างพลังงานได้น้อยลง และเกิดการขาด ATP ซึ่งจะส่งผลเป็นลูกโซ่ดังนี้ค่ะ 1. การทำงานของ Na-K pump ผิดปกติ ทำให้เกิดการคั่งของ Na+ ในเซลล์เป็นจำนวนมาก จึงมีการดึงน้ำเข้าเซลล์มากกว่าปกติ เซลล์เกิดการบวมและแตกในที่สุด (เมื่อเซลล์แตก เซลล์ก็จะตาย) นอกจากนี้ การดึงน้ำเข้าเซลล์จำนวนมากเกินไปจะส่งผลให้ endoplasmic reticulum เกิดการบวม และหยุดสร้างโปรตีน จึงไม่สามารถควบคุมการทำงานของเซลล์ได้อย่างเป็นปกติ 2. เกิดการค้างของแคลเซียม (Ca2+) ในเซลล์เป็นจำนวนมาก จะทำให้เยื่อหุ้มเซลล์ถูกทำลาย ทำให้เอนไซม์ที่อยู่ในไลโซโซมรั่วออกมานอกเซลล์ ส่งผลให้เกิดการย่อยส่วนต่างๆ ของเซลล์ เซลล์จึงตายในที่สุด 3. การย่อยสลายอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน ทำให้มีกรดแลกติกสะสมเพิ่มมากขึ้น เมื่อมีกรดมาก pH ภายในเซลล์จึงลดลง ซึ่งจะเร่งการทำงานของเอนไซม์ในไลโซโซม ส่งผลให้เกิดการย่อยส่วนต่างๆ ของเซลล์ เซลล์จึงตายในที่สุด
@thnitaphrhmphakdi809
@thnitaphrhmphakdi809 3 жыл бұрын
พลังงานอะดีโนซีนไตรฟอสเฟตที่ลดลง เหลือเพียง 2.5 และ 1.5 นั้นสาเหตุเพราะตับทำงานได้ลดลงเพราะ Alcohol แทนที่ และลดการทำงานของสาร อาหาร หรือเกิดจากภาวะตับพร่อง
@timesbiology7192
@timesbiology7192 3 жыл бұрын
bisphosphate ไม่ใช่เหรอครับ
@ghhszz6353
@ghhszz6353 5 жыл бұрын
ถ้านำไปใช้สอบpat2,9สามัญ dek63ต้องอ้างอิงจากเล่มไหนคะ หรือดูช้อยว่าเป้นแบบ38,36หรือ32,30
@boontarikaubonsiri8815
@boontarikaubonsiri8815 5 ай бұрын
ขอบคุณค่ะ
@chonladachuenjareun3886
@chonladachuenjareun3886 5 жыл бұрын
ชอบมากๆเลยครับบบบบบ
@kanothaisattanaco881
@kanothaisattanaco881 5 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@อภิชาติ-ม5ษ
@อภิชาติ-ม5ษ 3 жыл бұрын
อ. ครับ สอบถามครับ เมื่อเราตัดต้นไม้อย่างเช่นพืชตระกูลหญ้า หรือพวกกลุ่มไม้น้ำ สารที่ละลายในน้ำสามารถไหลเข้าไปในท่อไซเลม จนไปถึงยอดได้ง่ายๆเลยไหมครับ
@03เขมิสราทองมาก
@03เขมิสราทองมาก 5 жыл бұрын
ขอโทษนะคะทำไมในนส.เต่าทองกะครูที่รรหนูบอกว่าได้ปริมาณสุทธิคือ38ของหัวใจกับตับและ36จองสมองกับกล้ามเนื้อลายอะคะ?
@03เขมิสราทองมาก
@03เขมิสราทองมาก 5 жыл бұрын
ถ้าหนูดูผิดตรงไหนช่วยบอกด้วยนะคะ
@EasybiologybyDrPukan
@EasybiologybyDrPukan 5 жыл бұрын
เขมิสรา ทองมาก ตามงานวิจัยที่ทันสมัยขึ้น พบว่า -NADH สร้างได้ 2.5 ATP/โมเลกุล -FADH2 สร้างได้ 1.5 ATP/โมเลกุล การสลายน้ำตาลจะได้ 4 ATP 10 NADH = 10x2.5 = 25 ATP 2 FADH2 = 2x1.5 = 3 ATP รวมทั้งหมด 32 ATP อ้างอิงข้อมูลจากหนังสือ Biology :A global approach (2018) ผู้แต่ง Campbell และคณะ * ข้อมูลเดิม NADH สร้างได้ 3 ATP FADH2 สร้างได้ 2 ATP พลังงานสูงสุดคือ 38 ATP ดังนั้น การสลายน้ำตาลจะได้ ATP สูงสุด 32 หรือ 38 นั้น ก็จะขึ้นกับว่า เราใช้ตำราเล่มไหนอ้างอิงค่ะ
@kemmis7430
@kemmis7430 5 жыл бұрын
Easy biology by DrPukan ขอบคุณค่ะตอนนั้นยังไม่เกตแฮะๆ
@พงธรเสรีนิยม
@พงธรเสรีนิยม 5 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@bnnbnn7465
@bnnbnn7465 5 жыл бұрын
ขอสอบถามหน่อยคะครูพู่กัน หนูอยากรู้ว่าทำไมถึงต้องมีตัวรับอิเล็กตรอน แล้วทำไมถึงต้องใช้oxygenในการรับอิเล็กตรอนคะ หนูอยากทราบจริงๆ ขอบคุณล่วงหน้านะคะ
@EasybiologybyDrPukan
@EasybiologybyDrPukan 5 жыл бұрын
::📍ทำไมถึงต้องมีตัวรับอิเล็กตรอน เนื่องจากการหายใจระดับเซลล์เป็นการย่อยสลายโมเลกุลของอาหาร ให้กลายเป็นพลังงาน . โดยในระหว่างการย่อยสลายอาหารมักเกิดอิเล็กตรอน (e-) ซึ่งจะมีพลังงานสูง. หากปล่อยไว้ อิเล็กตรอนนี้อาจจะทำลายเซลล์ได้ ดังนั้นเซลล์จึงมีตัวรับอิเล็กตรอน แล้วนำอิเล็กตรอนนี้ไปใช้ประโยชน์ในการสร้างพลังงาน ATP ให้กับเซลล์ต่อไป ::📍ทำไมต้องใช้ออกซิเจนในการรับอิเล็กตรอน คำตอบนี้มีหลายทฤษฎีค่ะ แต่ครูพู่กันขออธิบายตามทฤษฎีที่ได้รับการยอมรับว่า. ในกระบวนการการถ่ายทอดอิเล็กตรอน (electron transport chain) จะใช้ออกซิเจนเป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย. เนื่องจาก ออกซิเจนเมื่อรับอิเล็กตรอนแล้ว จะมีการรับโปรตอน (H+) ด้วย ทำให้ได้น้ำ (H2O) เป็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งน้ำเป็นสารที่ไม่เป็นพิษ และเป็นสารที่เซลล์ของสิ่งมีชีวิตต้องการ ทำให้เซลล์อยู่รอดได้ดีกว่าการนำสารอื่นมาเป็นตัวรับอิเล็กตรอนค่ะ :)
@imprxewzr-3055
@imprxewzr-3055 4 жыл бұрын
ดร.ทําหนังสือขายมั้ยค้ะ
@suriyavirjo7373
@suriyavirjo7373 3 жыл бұрын
ถามดร.ปูการจะสกัดโปรตีนหนามของโควิด19ทำอย่างไร อธิบายเป็นความรู้ของคนอยากรู้
@thnitaphrhmphakdi809
@thnitaphrhmphakdi809 3 жыл бұрын
ภาวะตับอาจทำงานผิดปกติ การทำงานที่เกิดขึ้นดังอธิบายจะเกิดขึ้นที่อวัยวะ ตับ หัวใจ และไต ดังนั้นพลังงานที่ลดลงเหลือเพียง 2.5 และ 1.5 นั้นอาจมาจากตับทำงานในกระบวนการเผาผลาญโดยใช้ออกซิเจนได้พลังงานที่ลดลง หรือมีประสิทธิภาพลดลง เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าตับเป็นอวัยวะที่มีหน้าที่สร้างเม็ดเลือดแดงควบคู่กันไปกับไขกระดูกและม้าม เม็ดเลือดแดงมีหน้าที่ลำเลียงออกซิเจนซึ่งเป็น end product ของ process ใน cycle การหายใจโดยใช้ออกซิเจน ไขกระดูกและตับพร่องการสร้างเม็ดเลือดแดงก็ไม่มีตัวช่วยในการลำเลียงออกซิเจนที่ได้จากกระบวนการหายใจไปยังอวัยวะที่สำคัญอย่างปอดที่ฟอกเลือดดีที่มีออกซิเจนกลับเข้าสู่หัวใจเพื่อสูบ-ฉีด ออกไปสู่ร่างกายต่อไป
@thnitaphrhmphakdi809
@thnitaphrhmphakdi809 3 жыл бұрын
Plant respiration หรือใน prokaryotic cell อาจจะไม่สมบูรณ์เท่าใน eukaryote เพราะมีเพียงคาร์โบไฮเครตและน้ำตาล ซึ่งปฏิกิริยาเคมีอาจไม่เสถียรเท่าใน eukaryotic cell ที่มี protein และ Lipid (fat acid) ทำให้ปฏิกิริยาเคมีในกระบวนการหายใจเกิดเป็นพลังงานได้มากขึ้น
@สุภาวิตาต้นรังกลาง
@สุภาวิตาต้นรังกลาง 5 жыл бұрын
Good
@worapol1038
@worapol1038 4 жыл бұрын
ที่โรงเรียนผมบอกว่า หัวใจ,ตับ,ไต มี 38 ATP อะครับ
@EasybiologybyDrPukan
@EasybiologybyDrPukan 4 жыл бұрын
ครูผู้สอนแต่ละคนอาจอ้างอิงข้อมูลจากหนังสือที่แตกต่างกันค่ะ ซึ่ง ดร.พู่กันอ้างอิงข้อมูลจากหนังสือ Biology :A global approach (2018) ผู้แต่ง Campbell และคณะ ที่ได้กล่าวว่า การสลายน้ำตาลกลูโคส 1 โมเลกุลจะสร้างได้ 30-32 ATP เนื่องจาก NADH สร้างได้ 2.5 ATP FADH2 สร้างได้ 1.5 ATP การสลายน้ำตาลจะได้ 4 ATP 10 NADH = 10x2.5 = 25 ATP 2 FADH2 = 2x1.5 = 3 ATP รวมทั้งหมด 32 ATP * อย่างไรก็ตามข้อมูลจากหนังสือเล่มอื่น อาจระบุว่า การสลายกลูโคส 1 โมเลกุล จะได้พลังงาน 36-38 ATP เนื่องจาก NADH สร้างได้ 3 ATP FADH2 สร้างได้ 2 ATP
@LandoriK
@LandoriK 5 жыл бұрын
ทำไมได้ 30-32 ATP ครับมันต้องได้36-38นิครับ
@EasybiologybyDrPukan
@EasybiologybyDrPukan 5 жыл бұрын
Kanisorn Namkan ตามงานวิจัยที่ทันสมัยขึ้น พบว่า NADH สร้างได้ 2.5 ATP FADH2 สร้างได้ 1.5 ATP การสลายน้ำตาลจะได้ 4 ATP 10 NADH = 10x2.5 = 25 ATP 2 FADH2 = 2x1.5 = 3 ATP รวมทั้งหมด 32 ATP อ้างอิงข้อมูลจากหนังสือ Biology :A global approach (2018) ผู้แต่ง Campbell และคณะ * ข้อมูลเดิม NADH สร้างได้ 3 ATP FADH2 สร้างได้ 2 ATP พลังงานสูงสุดคือ 38 ATP
@panpasaprachompol4816
@panpasaprachompol4816 5 жыл бұрын
ใช่ค่ะที่ครูสอนได้36-38😅งงเยยยย
@noijanikorn7103
@noijanikorn7103 5 жыл бұрын
AMPคืออะไรครับ
@mr.trp_5154
@mr.trp_5154 5 жыл бұрын
Glycolysis เกิดขึ้นที่ Cytosol หรือ Cytoplasm อ่ะค้าบ งงเบย
@EasybiologybyDrPukan
@EasybiologybyDrPukan 5 жыл бұрын
cytoplasm คือส่วนที่เป็นของเหลวภายในเซลล์ (cytosol) และ ออร์แกเนลล์ **จะเห็นว่า cytosol เป็นส่วนหนึ่งของ cytoplasm การเกิด glycolysis นั้น เกิดขึ้นบริเวณที่เป็นของเหลวภายในเซลล์ หรือ cytosol แต่ตำราบางเล่ม อาจกล่าวว่า เกิดใน cytoplasm ก็ได้ค่ะ
@mr.trp_5154
@mr.trp_5154 5 жыл бұрын
@@EasybiologybyDrPukan อ่อขอบคุณค้าบบ❤
@lost_1771
@lost_1771 4 жыл бұрын
เรื่องนี้เป็นอะไรที่ยุ่งยากอ่ะ ไม่เคยเรียนรู้เรื่อง ง่องงง
@converseconverse8311
@converseconverse8311 4 жыл бұрын
ในขั้นตอนของ ETC ช่วงที่ H+ไม่เท่ากัน มีผลต่อความเป็นกรดเบสด้วยรึป่าวครับ อีกคำถามทำไมatpที่ได้ในขั้นetcถึงไม่นำมารวมด้วยเหรอครับ
@Feen_Varmchannel
@Feen_Varmchannel 5 жыл бұрын
ถ่าการสลายกลุโคสมีปฏิกิรอยาที่เกิดขึ้นขั้นเดียว จะเกิดไรขึ้นครับ
@EasybiologybyDrPukan
@EasybiologybyDrPukan 5 жыл бұрын
ถ้าการสลายกลูโคสมีปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นขั้นตอนเดียว จะเกิดปฏิกิริยาในขั้นแรก คือ ไกลโคไลซิส ซึ่งส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน. และจะทำให้เกิดกระบวนการหมัก หรือการหายใจโดยไม่ใช้ออกซิเจนค่ะ
@AekkalakRatraikit
@AekkalakRatraikit 5 жыл бұрын
หาก glycolysis ต้องมีการลงทุน 2 ATP อยากทราบว่า ในยุคแรกเริ่มที่สิ่งมีชีวิตที่ทานแป้งเข้าไปในร่างกายครั้งแรก ทั้ง ๆ ที่ไม่เคย ผ่านglycolysis เลย อธิบายยังไงดีล่ะครับ คือผมอยากรู้ว่า ถ้าเรามี 0 ATP ใน glycolysis แล้วเราจะไปยืม ATP มาจากไหนอะครับ ที่จะลงทุนในขั้นตอนแรก ยิ่งถามยิ่งงง5555
@thitiwuthleelateeb9082
@thitiwuthleelateeb9082 2 жыл бұрын
กราบบบบ
@bookwashirawit1956
@bookwashirawit1956 Жыл бұрын
5:04
การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน
6:00
Easy biology by DrPukan
Рет қаралды 202 М.
It works #beatbox #tiktok
00:34
BeatboxJCOP
Рет қаралды 41 МЛН
Правильный подход к детям
00:18
Beatrise
Рет қаралды 11 МЛН
Cellular Respiration (UPDATED)
8:47
Amoeba Sisters
Рет қаралды 4,7 МЛН
Glycolysis
14:18
Dirty Medicine
Рет қаралды 607 М.
ระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
11:54
Easy biology by DrPukan
Рет қаралды 1,3 МЛН
Cellular Respiration (in detail)
17:48
Beverly Biology
Рет қаралды 378 М.
พืช C3 C4 CAM
16:34
Easy biology by DrPukan
Рет қаралды 279 М.